ช่องทางโทรศัพท์สายด่วน 1567 โทรฟรีทั่วราชอาณาจักร ตลอด 24 ชั่วโมง
ช่องทาง www.damrongdhama.moi.go.th หรือ “ดำรงธรรม”
ช่องทางตู้ไปรษณีย์ของศูนย์ดำรงธรรมจังหวัดในทุกจังหวัดทั่วประเทศ
ช่องทางการเข้ารับบริการด้วยตนเอง ณ ศูนย์ดำรงธรรมจังหวัดทุกจังหวัด และศูนย์ดำรงธรรมอำเภอทุกอำเภอ
ร้องเรียน/ร้องทุกข์ แจ้งเบาะแส ผ่าน APPCIACTION SPOND บนโทรศัพท์มือถือ
ศูนย์บริการเบ็ดเสร็จเขตเศรษฐกิจพิเศษจังหวัด(OSS) หรือ ศศพ. (รวม ๑๐ ศูนย์)
ตั้งอยู่ที่ศูนย์ดำรงธรรม ณ ศาลากลางจังหวัด 10 จังหวัดในพื้นที่เขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ โดยมี 2 จังหวัด ตั้งเพิ่มในพื้นที่เขต SEZ ได้แก่ อ.แม่สอด จ.ตาก และ อ.หาดใหญ่ จ.สงขลา มีข้าราชการและเจ้าหน้าที่บูรณาการหลายฝ่ายเข้าร่วมงาน เป็นจุดบริการจุดแรก เพื่อให้คำแนะนำปรึกษาเบื้องต้น เชิญชวนให้มาลงทุนและประกอบกิจการ และส่งผ่านข้อมูลไป BOI กรุงเทพ
บีโอไอ ติดต่อศูนย์ประสานการบริการด้านการลงทุน (OSOS)
ชั้น ๑๘ อาคารจัตุรัสจามจุรี ๓๑๙ ถนนพญาไท เขตปทุมวัน กรุงเทพฯ ๑๐๓๓๐ โทรศัพท์ ๐๒ ๒๐๙ ๑๑๐๐ โทรสาร ๐๒ ๒๐๙ ๑๑๙๙ ศูนย์บริการข้อมูลทางโทรศัพท์ (Call Center) โทรศัพท์ ๐ ๒๒๐๙ ๑๑๖๒ ถึง ๑๑๖๔ E-mail: [email protected] พร้อมบริการข้อมูล การอนุมัติ อนุญาต และประสานกับทุกหน่วยราชการ ให้บริการทั้งภาษาไทย ภาษาอังกฤษ ญี่ปุ่น จีน
สำนักงานส่งเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม (สสว)
เชิญชวนผู้ประกอบการ SME มาขึ้นทะเบียน เพื่อรับข้อมูลการบริการและสิทธิประโยชน์ภาครัฐที่ให้แก่ SMEs ได้ที่ สสว. Call center๑๓๐๑ (เวลาราชการ) หรือ ขึ้นทะเบียนผ่านเว็บไซต์ www.sme.go.th สสว.ได้ประสาน มท.เพื่อเตรียมฝึกอบรมเจ้าหน้าที่ศูนย์ดำรงธรรม เพื่อให้ศูนย์ดำรงธรรมสามารถทำหน้าที่ให้บริการแก่ SME ที่มาติดต่อ ณ ศูนย์ดำรงธรรม ได้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยจะมีการฝึกอบรมในช่วงปลายเดือนพฤษภาคม ๒๕๕๘
SME Bank
ติดต่อขอสินเชื่อและสอบถามข้อมูล SME Bank ได้สามช่องทาง
๑) Call center ๑๓๕๗ ( จ-ศ ๘.๓๐ – ๑๖.๓๐ น.)
๒) www.sme.go.th
๓) สาขาของธนาคารทั่วประเทศ ( จ-ศ ๘.๓๐ – ๑๖.๓๐ น.)
ศูนย์ธุรกิจสัมพันธ์ (Business Information Center) กระทรวงการต่างประเทศ
ศูนย์ธุรกิจสัมพันธ์ได้สนับสนุนสถานเอกอัครราชทูตและสถานกงสุลใหญ่จัดทำเว็บไซต์ “ศูนย์ข้อมูลเพื่อธุรกิจไทยในต่างประเทศ” ใน ๑๖ ประเทศ ซึ่งในจำนวนนี้มี ๑๓ เว็บไซต์ที่สามารถเปิดให้บริการแล้ว ได้แก่
(๑) เมียนมาร์ (www.thaibizmyanmar.com)
(๒) บาห์เรน (www.thaibizbahrain.com)
(๓) ออสเตรเลีย (www.thaibizaustralia.com)
(๔) ศรีลังกา (www.thaibizsrilanka.com)
(๕) อิสราเอล (www.thaibizisrael.com/il/)
(๖) บราซิล (www.thaibizbrazil.com/br/)
(๗) เยอรมนี(www.thaibizgermany.com/de/)
(๘) นอร์เวย์ (www.thaibiznorway.com/no/)
(๙) ฮังการี (www.thaibiz.net/th/bic/Hungary)
(๑๐) ลาว (www.thaibiz.net/th/bic/Laos)
(๑๑) ปากีสถาน (www.thaibizpakistan.com/pk/)
(๑๒) แคนาดา (www.thaibiz.net/th/bic/Canada)
(๑๓) สหรัฐอเมริกา (www.thaibicusa.com/)
การเพิ่มจำนวนเครือข่ายนี้ ส่งผลให้เว็บไซต์ ThaiBiz.net เป็นเว็บไซต์แม่ข่ายเชื่อมกับฐานข้อมูลของเว็บไซต์ศูนย์ข้อมูลเพื่อธุรกิจไทยในต่างประเทศรวมแล้วถึง ๓๒ ประเทศทั่วโลก
สำหรับประเทศที่เป็นตลาดใหม่ และอยู่ในความสนใจของผู้ประกอบการไทย อาทิ จีน เมียนมาร์ สถานเอกอัครราชทูตและสถานกงสุลใหญ่ได้จัดตั้งศูนย์ให้บริการทางธุรกิจเป็นการเฉพาะ อาทิ ศูนย์ข้อมูลเพื่อธุรกิจไทยในจีน ศูนย์ข้อมูลเพื่อธุรกิจไทยในเมียนมาร์ ซึ่งเปรียบเสมือนเป็น “ศูนย์บริการเบ็ดเสร็จ (One Stop Service) ด้านเศรษฐกิจ การค้าและการลงทุน” โดยแต่ละศูนย์บริการฯ จะมีผู้เชี่ยวชาญคอยตอบข้อซักถาม ให้คำแนะนำ ตลอดจนชี้ช่องทางการเจาะตลาด
ที่มา: http://www.thaigov.go.th