ภาวะเศรษฐกิจไทยไตรมาสแรกของปี 2566 และแนวโน้มปี 2566

ข่าวเศรษฐกิจ Monday May 15, 2023 13:11 —สภาพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ

ภาวะเศรษฐกิจไทยไตรมาสแรกของปี 2566 และแนวโน้มปี 2566
962 ถนนกรุงเกษม เขตป้อมปราบศัตรูพ่าย กรุงเทพฯ 10100
สานักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
กองยุทธศาสตร์และการวางแผนเศรษฐกิจมหภาค แถลงข่าว วันจันทร์ที่ 15 พฤษภาคม 2566 เวลา 09.30 น.
www.nesdc.go.th
NESDC ECONOMIC REPORT
ภาวะเศรษฐกิจไทยไตรมาสแรกของปี 2566 และแนวโน้มปี 2566
962 ถนนกรุงเกษม เขตป้อมปราบศัตรูพ่าย กรุงเทพฯ 10100
สานักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
กองยุทธศาสตร์และการวางแผนเศรษฐกิจมหภาค แถลงข่าว วันจันทร์ที่ 15 พฤษภาคม 2566 เวลา 09.30 น.
เศรษฐกิจไทยในไตรมาสแรกของปี 2566 ขยายตัวร้อยละ 2.7
เร่งขึ้นจากการขยายตัวร้อยละ 1.4 ในไตรมาสก่อนหน้า (%YoY)
และเมื่อปรับผลของฤดูกาลออกแล้ว เศรษฐกิจไทยในไตรมาสแรกของ
ปี 2566 ขยายตัวจากไตรมาสที่สี่ของปี 2565 ร้อยละ 1.9 (QoQ_SA)
ด้านการใช้จ่าย การส่งออกบริการและการอุปโภคบริโภคภาคเอกชน
ขยายตัวในเกณฑ์สูง การลงทุนภาคเอกชนและการลงทุนภาครัฐ
ขยายตัวต่อเนื่อง ขณะที่การส่งออกสินค้าและการใช้จ่ายเพื่อ
การอุปโภคของรัฐบาลปรับตัวลดลง
ด้านการผลิต สาขาที่พักแรมและบริการด้านอาหาร สาขาขนส่งและ
สถานที่เก็บสินค้า สาขาการขายส่ง การขายปลีก และการซ่อมแซมฯ
สาขาการก่อสร้าง และสาขาเกษตรกรรมขยายตัวเร่งขึ้น ส่วนสาขา
การผลิตสินค้าอุตสาหกรรมและสาขาไฟฟ้าและก๊าซฯ ปรับตัวลดลง
การบริหารนโยบายเศรษฐกิจมหภาคในช่วงที่เหลือของปี 2566 ควรให้ความสาคัญกับ (1) การขับเคลื่อนภาคการส่งออกสินค้า โดยให้
ความสาคัญกับ (i) การเร่งรัดการส่งออกสินค้าไปยังตลาดที่ยังมีแนวโน้มการขยายตัวทางเศรษฐกิจในเกณฑ์ดี และการสร้างตลาดใหม่ (ii) การติดตาม
เฝ้าระวัง และประเมินผลกระทบจากสถานการณ์ความผันผวนของเศรษฐกิจและการเงินโลก (iii) การส่งเสริมให้ภาคธุรกิจบริหารจัดการความเสี่ยง
จากผันผวนของอัตราแลกเปลี่ยน (iv) การอานวยความสะดวกและลดต้นทุนที่เกี่ยวข้องกับการส่งออก (v) การใช้ประโยชน์จากกรอบความตกลง
หุ้นส่วนทางเศรษฐกิจระดับภูมิภาค (RCEP) ควบคู่ไปกับการติดตามมาตรการกีดกันทางการค้าเพื่อป้องกัน และแก้ไขปัญหา โดยเฉพาะมาตรการ
กีดกันทางการค้าที่มิใช่มาตรการภาษีและ (vi) การยกระดับขีดความสามารถในการแข่งขันของภาคการส่งออก (2) การส่งเสริมการลงทุน
ภาคเอกชน โดยให้ความสาคัญกับ (i) การเร่งรัดให้ผู้ประกอบการที่ได้รับอนุมัติและออกบัตรส่งเสริมการลงทุนในช่วงปี 2563 - 2565 ให้เกิด
การลงทุนจริง (ii) การแก้ไขปัญหาที่นักลงทุนและผู้ประกอบการต่างประเทศเห็นว่าเป็นอุปสรรคต่อการลงทุนและการประกอบธุรกิจ (iii) การดาเนิน
มาตรการส่งเสริมการลงทุนเชิงรุกในกลุ่มอุตสาหกรรมและบริการเป้าหมาย (iv) การส่งเสริมการลงทุนในเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก (EEC)
เขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษต่าง ๆ (v) การขับเคลื่อนการลงทุนพัฒนาพื้นที่เศรษฐกิจและโครงสร้างพื้นฐานด้านคมนาคมขนส่งที่สาคัญ ๆ และ
(vi) การพัฒนากาลังแรงงานที่มีทักษะสูง (3) การสนับสนุนการฟื้นตัวของการท่องเที่ยวและบริการเกี่ยวเนื่อง โดยให้ความสาคัญกับ
(i) การแก้ไขปัญหาและสร้างความพร้อมต่อการเพิ่มขึ้นของจานวนนักท่องเที่ยวต่างชาติ (ii) การส่งเสริมการพัฒนาการท่องเที่ยวคุณภาพสูง
(iii) การจัดกิจกรรมส่งเสริมการท่องเที่ยวและกิจกรรมที่เกี่ยวเนื่อง และ (iv) การส่งเสริมการท่องเที่ยวภายในประเทศและการส่งเสริมให้คนไทย
ท่องเที่ยวในประเทศไทยมากขึ้น (4) การดูแลการผลิตภาคเกษตรและรายได้เกษตรกร โดยให้ความสาคัญกับการเตรียมมาตรการรองรับ
ผลผลิตสินค้าเกษตรที่จะออกสู่ตลาดในช่วงฤดูเพาะปลูก 2566/2567 ควบคู่ไปกับการเตรียมความพร้อมเพื่อรองรับและแก้ไขปัญหาที่อาจเกิดขึ้น
จากความแปรปรวนของสภาพภูมิอากาศ และให้ความสาคัญกับปัญหาต้นทุนวัตถุดิบทางการเกษตรที่ยังอยู่ในระดับสูง และ (5) การรักษา
บรรยากาศทางเศรษฐกิจและการเมืองภายในประเทศในช่วงหลังการเลือกตั้ง
แนวโน้มเศรษฐกิจไทยในปี 2566 คาดว่าจะขยายตัวในช่วงร้อยละ 2.7 - 3.7
โดยมีปัจจัยสนับสนุนจากการฟื้นตัวของภาคการท่องเที่ยว การขยายตัว
ในเกณฑ์ดีของการอุปโภคบริโภคภาคเอกชน และการขยายตัวต่อเนื่อง
ของการลงทุน โดยคาดว่าการอุปโภคบริโภคภาคเอกชนจะขยายตัวร้อยละ
3.7 การลงทุนภาคเอกชนและการลงทุนภาครัฐขยายตัวร้อยละ 1.9 และ
ร้อยละ 2.7 ตามลาดับ ขณะที่มูลค่าการส่งออกสินค้าในรูปเงินดอลลาร์ สรอ.
ลดลงร้อยละ 1.6 ส่วนอัตราเงินเฟ้อทั่วไปเฉลี่ยอยู่ในช่วงร้อยละ 2.5 - 3.5
และดุลบัญชีเดินสะพัดเกินดุลร้อยละ 1.4 ของ GDP
เศรษฐกิจไทยไตรมาสแรกของปี 2566
2.7
1.9
-15.0
-10.0
-5.0
0.0
5.0
10.0
Q1Q2Q3Q4Q1Q2Q3Q4Q1Q2Q3Q4Q1Q2Q3Q4Q1Q2Q3Q4Q1Q2Q3Q4Q1Q2Q3Q4Q1
59 60 61 62 63 64 65 66
%
GDP (YoY) GDP (QoQ_ปรับฤดูกาล)
ที่มา: สานักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
ประมาณการเศรษฐกิจ ปี 2566
(%YoY) 2564 2565 2566
ทั้งปี ทั้งปี Q3 Q4 Q1 ทั้งปี (f)
GDP (CVM) 1.5 2.6 4.6 1.4 2.7 2.7 ? 3.7
การลงทุนรวม1/ 3.1 2.3 5.5 3.9 3.1 2.1
ภาคเอกชน 3.0 5.1 11.2 4.5 2.6 1.9
ภาครัฐ 3.4 -4.9 -6.8 1.5 4.7 2.7
การบริโภคภาคเอกชน 0.6 6.3 9.1 5.6 5.4 3.7
การอุปโภคภาครัฐบาล 3.7 0.2 -1.5 -7.1 -6.2 -2.6
มูลค่าการส่งออกสินค้า2/ 19.2 5.5 6.7 -7.5 -4.6 -1.6
ปริมาณ2/ 15.5 1.3 2.1 -10.3 -6.4 -1.1
มูลค่าการนาเข้าสินค้า2/ 27.7 15.3 23.2 -0.3 1.3 -1.9
ปริมาณ2/ 17.9 2.0 8.0 -9.2 -3.3 -0.4
ดุลบัญชีเดินสะพัด -2.1 -3.5 -6.4 0.7 3.1 1.4
ต่อ GDP (%)
เงินเฟ้อ 1.2 6.1 7.3 5.8 3.9 2.5 - 3.5
หมายเหตุ: 1/ การลงทุนรวม หมายถึง การสะสมทุนถาวรเบื้องต้น
2/ ฐานข้อมูลดุลการชาระเงินของธนาคารแห่งประเทศไทย
2
กองยุทธศาสตร์และการวางแผนเศรษฐกิจมหภาค
15 พฤษภาคม 2566
NESDC
Economic Outlook
เศรษฐกิจไทยในไตรมาสแรกของปี 2566 และแนวโน้มปี 2566
เศรษฐกิจไทยในไตรมาสแรกของปี 2566 ขยายตัวร้อยละ 2.7 เร่งขึ้นจากการขยายตัวร้อยละ 1.4 ในไตรมาสที่สี่ของปี 2565 ด้านการใช้จ่าย การส่งออกบริการและการอุปโภคบริโภคภาคเอกชนขยายตัวในเกณฑ์สูง การลงทุนภาครัฐและการลงทุนภาคเอกชนขยายตัวต่อเนื่อง ขณะที่การส่งออกสินค้าและการใช้จ่ายเพื่อการอุปโภคของรัฐบาลปรับตัวลดลง ด้านการผลิต สาขาที่พักแรมและบริการด้านอาหาร สาขาขนส่งและสถานที่เก็บสินค้า สาขาการขายส่ง การขายปลีก และการซ่อมแซมฯ สาขาการก่อสร้าง และสาขาเกษตรกรรมขยายตัวเร่งขึ้น ส่วนสาขาการผลิตสินค้าอุตสาหกรรมและสาขาไฟฟ้าและก๊าซฯ ปรับตัวลดลง เมื่อปรับผลของฤดูกาลออกแล้ว เศรษฐกิจไทยในไตรมาสที่หนึ่งของปี 2566 ขยายตัวจาก ไตรมาสที่สี่ของปี 2565 ร้อยละ 1.9 (QoQ_SA)
1) การอุปโภคบริโภคภาคเอกชน ขยายตัวในเกณฑ์สูงร้อยละ 5.4 ต่อเนื่องจากร้อยละ 5.6 ในไตรมาสก่อนหน้า ตามการขยายตัวในเกณฑ์สูงของการใช้จ่ายในหมวดบริการสอดคล้องกับการขยายตัวของภาคการท่องเที่ยว และการกลับมาขยายตัวของการใช้จ่ายในหมวดสินค้าคงทน โดยการใช้จ่ายในหมวดบริการเพิ่มขึ้นร้อยละ 11.1 ตามการขยายตัวสูงของการใช้จ่ายในกลุ่มโรงแรมและภัตตาคาร การใช้จ่ายในหมวดสินค้าคงทนกลับมาขยายตัวร้อยละ 2.4 เทียบกับการลดลงร้อยละ 1.0 ในไตรมาสก่อนหน้า ตามการขยายตัวของการใช้จ่ายเพื่อซื้อยานพาหนะร้อยละ 4.1 ส่วนการใช้จ่ายหมวดสินค้าไม่คงทนขยายตัวร้อยละ 2.3 ตามการขยายตัวของการใช้จ่ายกลุ่มอาหารและเครื่องดื่มไม่มีแอลกอฮอล์ และกลุ่มเครื่องดื่มมีแอลกอฮอล์และยาสูบร้อยละ 3.6 และร้อยละ 2.5 ตามลาดับ ขณะที่การใช้จ่ายหมวดสินค้ากึ่งคงทนขยายตัวร้อยละ 1.6 เท่ากับไตรมาสก่อน โดยการใช้จ่ายหมวดเสื้อผ้าและรองเท้าขยายตัวเร่งขึ้น ขณะที่การใช้จ่ายหมวดเครื่องเรือนและเครื่องตกแต่งปรับตัวลดลง สาหรับดัชนีความเชื่อมั่นของผู้บริโภคเกี่ยวกับภาวะเศรษฐกิจโดยรวมในไตรมาสนี้อยู่ที่ระดับ 46.9 เพิ่มขึ้นจากระดับ 42.0 ในไตรมาสก่อนหน้า และสูงสุดในรอบ 12 ไตรมาส การใช้จ่ายเพื่อการอุปโภคของรัฐบาลลดลงร้อยละ 6.2 ต่อเนื่องจากการลดลงร้อยละ 7.1 ในไตรมาสก่อนหน้า โดยรายจ่ายการโอนเพื่อสวัสดิการสังคมที่ไม่เป็นตัวเงินสาหรับสินค้าและบริการในระบบตลาดลดลงร้อยละ 40.4 ส่วนค่าซื้อสินค้าและบริการ และค่าตอบแทนแรงงาน (ค่าจ้าง เงินเดือน) ขยายตัวร้อยละ 1.0 และร้อยละ 1.8 ตามลาดับ สาหรับอัตราการเบิกจ่ายงบประมาณรายจ่ายประจาในไตรมาสนี้อยู่ที่ร้อยละ 23.7 (ต่ากว่าอัตราเบิกจ่ายร้อยละ 33.9 ในไตรมาสก่อนหน้า แต่สูงกว่าร้อยละ 20.3 ในไตรมาสเดียวกันของปีก่อน)
2) การลงทุนรวม ขยายตัวร้อยละ 3.1 ชะลอลงจากร้อยละ 3.9 ในไตรมาสก่อนหน้า ตามการชะลอตัวของการลงทุนภาคเอกชนที่ขยายตัวร้อยละ 2.6 ชะลอลงจากร้อยละ 4.5 ในไตรมาสก่อนหน้า โดยการลงทุนในหมวดเครื่องจักรเครื่องมือและหมวดก่อสร้างขยายตัวร้อยละ 2.8 และร้อยละ 1.1 ชะลอลงจากร้อยละ 5.1 และร้อยละ 1.9 ในไตรมาสก่อนหน้า ตามลาดับ ขณะที่การลงทุนภาครัฐขยายตัวร้อยละ 4.7 เร่งขึ้นจากร้อยละ 1.5 ในไตรมาสก่อนหน้า โดยการลงทุนของรัฐบาลและรัฐวิสาหกิจขยายตัวร้อยละ 6.9 และร้อยละ 1.8 ตามลาดับ อัตราการเบิกจ่ายงบประมาณรายจ่ายลงทุนในไตรมาสนี้อยู่ที่ร้อยละ 16.7 (ต่ากว่าอัตราเบิกจ่ายร้อยละ 18.8 ในไตรมาสก่อนหน้า แต่สูงกว่าร้อยละ 16.1 ในช่วงเดียวกันของปีก่อน)
3) การส่งออกสินค้า มีมูลค่า 69,806 ล้านดอลลาร์ สรอ. ลดลงร้อยละ 4.6 เทียบกับการลดลงร้อยละ 7.5 ในไตรมาสก่อนหน้า สอดคล้องกับ การชะลอตัวของเศรษฐกิจประเทศคู่ค้า โดยปริมาณส่งออกลดลงร้อยละ 6.4 ต่อเนื่องจากการลดลงร้อยละ 10.3 ในไตรมาสก่อนหน้า ขณะที่ราคาส่งออกเพิ่มขึ้นร้อยละ 2.0 ต่อเนื่องจากร้อยละ 3.1 ในไตรมาสก่อนหน้า กลุ่มสินค้าที่มีมูลค่าส่งออกลดลง เช่น เคมีภัณฑ์และปิโตรเคมี (ลดลงร้อยละ 21.6) ชิ้นส่วนและอุปกรณ์สาหรับยานยนต์ (ลดลงร้อยละ 8.2) ชิ้นส่วนและอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ (ลดลงร้อยละ 24.9) ยางพารา (ลดลงร้อยละ 37.7) และอาหารสัตว์ (ลดลงร้อยละ 20.5) เป็นต้น กลุ่มสินค้าที่มีมูลค่าส่งออกเพิ่มขึ้น เช่น ชิ้นส่วนเครื่องใช้ไฟฟ้า (ร้อยละ 27.3) รถยนต์นั่ง (ร้อยละ 29.0) รถกระบะและรถบรรทุก (ร้อยละ 5.5) เครื่องปรับอากาศ (ร้อยละ 12.5) เครื่องใช้ในห้องน้าและเครื่องสาอาง (ร้อยละ 10.3) น้าตาล (ร้อยละ 33.3) ข้าว (ร้อยละ 24.7) และทุเรียน (ร้อยละ 218.9) เป็นต้น การส่งออกสินค้าไปยังตลาดหลักลดลง ขณะที่การส่งออกไปยังตลาดตะวันออกกลาง อินเดีย และสหราชอาณาจักรขยายตัว เมื่อหักการส่งออกทองคาที่ยังไม่ขึ้นรูปออกแล้ว มูลค่าการส่งออกสินค้าลดลงร้อยละ 2.4 และเมื่อคิดในรูปของเงินบาท มูลค่าการส่งออกสินค้าลดลงร้อยละ 2.0
4) สาขาเกษตรกรรม การป่าไม้ และการประมง ขยายตัวร้อยละ 7.2 เร่งขึ้นจากการขยายตัวร้อยละ 3.4 ในไตรมาสก่อนหน้า โดยมีปัจจัยสนับสนุนจากสภาพอากาศที่เอื้ออานวย และปริมาณน้าเพียงพอต่อการเพาะปลูก ดัชนีผลผลิตสินค้าเกษตรที่เพิ่มขึ้น เช่น ข้าวเปลือก (ร้อยละ 20.4) กลุ่มไม้ผล (ร้อยละ 22.5) ปาล์มน้ามัน (ร้อยละ 30.0) อ้อย (ร้อยละ 17.1) และไก่เนื้อ (ร้อยละ 2.2) ส่วนดัชนีผลผลิตสินค้าเกษตรสาคัญที่ลดลง เช่น มันสาปะหลัง (ลดลงร้อยละ 3.7) ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ (ลดลงร้อยละ 2.5) และกุ้งขาวแวนนาไม (ลดลงร้อยละ 2.5) เป็นต้น ส่วนดัชนี
เศรษฐกิจไทยในไตรมาสแรกของปี 2566
เศรษฐกิจไทยไตรมาสแรกของปี 25662.7 1.9 01,0002,0003,0004,0005,000-15.0-10.0-5.00.05.010.0Q1Q2Q3Q4Q1Q2Q3Q4Q1Q2Q3Q4Q1Q2Q3Q4Q1Q2Q3Q4Q1Q2Q3Q4Q1Q2Q3Q4Q15960616263646566พันล้านบาท%GDP ณ ราคาประจาปี (แกนขวา)GDP (YoY) (แกนซ้าย)GDP (QoQ_ปรับฤดูกาล) (แกนซ้าย)ที่มา: สานักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
3
กองยุทธศาสตร์และการวางแผนเศรษฐกิจมหภาค
15 พฤษภาคม 2566
NESDC
Economic Outlook
ราคาสินค้าเกษตร ปรับตัวลดลงครั้งแรกในรอบ 4 ไตรมาส ร้อยละ 1.3 โดยสินค้าเกษตรที่ดัชนีราคาปรับตัวลดลง เช่น ยางพารา (ลดลงร้อยละ 22.2) ปาล์มน้ามัน (ลดลงร้อยละ 48.4) กุ้งขาวแวนนาไม (ลดลงร้อยละ 10.6) เป็นต้น อย่างไรก็ตาม ราคาสินค้าเกษตรสาคัญ ๆ หลายรายการปรับตัวเพิ่มขึ้น เช่น ข้าวเปลือก (ร้อยละ 19.2) มันสาปะหลัง (ร้อยละ 25.0) ไก่เนื้อ (ร้อยละ 11.1) ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ (ร้อยละ 26.0) และกลุ่มไม้ผล (ร้อยละ 2.8) เป็นต้น การเพิ่มขึ้นของดัชนีผลผลิตสินค้าเกษตรและดัชนีราคาสินค้าเกษตรสาคัญ ๆ หลายรายการ ส่งผลให้ดัชนีรายได้เกษตรกรโดยรวมขยายตัวต่อเนื่องเป็นไตรมาสที่ 5 ร้อยละ 6.2 เทียบกับร้อยละ 16.1 ในไตรมาสก่อน
5) สาขาการผลิตสินค้าอุตสาหกรรม ลดลงร้อยละ 3.1 ต่อเนื่องจากการลดลงร้อยละ 5.0 ในไตรมาสก่อนหน้า ตามการลดลงของกลุ่มการผลิตเพื่อส่งออกและกลุ่มการผลิตเพื่อบริโภคภายในประเทศ ขณะที่การผลิตอุตสาหกรรมที่มีสัดส่วนส่งออกในช่วงร้อยละ 30 - 60 ขยายตัว สอดคล้องกับการลดลงของดัชนีผลผลิตอุตสาหกรรมร้อยละ 3.9 โดยดัชนีผลผลิตอุตสาหกรรมกลุ่มการผลิตเพื่อส่งออก (สัดส่วนส่งออกมากกว่าร้อยละ 60) ลดลงร้อยละ 13.7 ต่อเนื่องจากการลดลงร้อยละ 14.8 ในไตรมาสก่อนหน้าสอดคล้องกับการลดลงต่อเนื่องของ การส่งออกสินค้า ดัชนีผลผลิตอุตสาหกรรมกลุ่มการผลิตเพื่อบริโภคภายในประเทศ (สัดส่วนส่งออกน้อยกว่าร้อยละ 30) ลดลงร้อยละ 1.9 เทียบกับการลดลงร้อยละ 5.1 ในไตรมาสก่อนหน้า ในขณะที่ดัชนีผลผลิตอุตสาหกรรมที่มีสัดส่วนการส่งออกในช่วงร้อยละ 30 - 60 เพิ่มขึ้นต่อเนื่องเป็นไตรมาสที่ 3 ร้อยละ 1.7 เร่งขึ้นจากการขยายตัวร้อยละ 1.4 ในไตรมาสก่อนหน้า อัตราการใช้กาลังการผลิตเฉลี่ยในไตรมาสนี้อยู่ที่ร้อยละ 63.66 สูงกว่าร้อยละ 60.32 ในไตรมาสก่อนหน้า แต่ต่ากว่าร้อยละ 66.77 ในไตรมาสเดียวกันของปีก่อน ดัชนีผลผลิตอุตสาหกรรมสาคัญ ๆ ที่ลดลง เช่น การผลิตคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ต่อพ่วง (ลดลงร้อยละ 37.6) การผลิตเฟอร์นิเจอร์ (ลดลงร้อยละ 48.9) และการผลิตพลาสติกและยางสังเคราะห์ขั้นต้น (ลดลงร้อยละ 16.6) เป็นต้น ดัชนีผลผลิตอุตสาหกรรมสาคัญ ๆ ที่เพิ่มขึ้น เช่น การผลิตยานยนต์ (ร้อยละ 7.2) การผลิตผลิตภัณฑ์ที่ได้จากการกลั่นปิโตรเลียม (ร้อยละ 7.5) และการผลิตน้ามันปาล์ม (ร้อยละ 37.6) เป็นต้น
6) สาขาที่พักแรมและบริการด้านอาหาร ขยายตัวในเกณฑ์สูงต่อเนื่องร้อยละ 34.3 เร่งขึ้นจากการขยายตัวร้อยละ 30.6 ในไตรมาสก่อนหน้า ตามการขยายตัวในเกณฑ์สูงของจานวนนักท่องเที่ยวต่างประเทศ และการท่องเที่ยวภายในประเทศ โดยในไตรมาสนี้ นักท่องเที่ยวต่างประเทศที่เดินทางเข้ามาท่องเที่ยวในประเทศไทยมีจานวน 6.478 ล้านคน (คิดเป็นร้อยละ 63.60 ของจานวนนักท่องเที่ยวต่างประเทศในช่วงก่อนเกิดการแพร่ระบาดของโรคโควิด-19) ส่งผลให้มูลค่าบริการรับด้านการท่องเที่ยวในไตรมาสนี้อยู่ที่ 3.04 แสนล้านบาท (คิดเป็นร้อยละ 60.87 ของมูลค่าบริการรับด้านการท่องเที่ยวในช่วงก่อนเกิดการแพร่ระบาดของโรคโควิด-19) เพิ่มขึ้นต่อเนื่องเป็นไตรมาสที่ 7 ร้อยละ 300.4 ส่วนรายรับจากนักท่องเที่ยวชาวไทยมีจานวน 1.95 แสนล้านบาท (คิดเป็นร้อยละ 76.24 ของมูลค่ารายรับจากนักท่องเที่ยวชาวไทยในช่วงก่อนเกิดการแพร่ระบาดของโรคโควิด-19) เพิ่มขึ้นต่อเนื่องเป็นไตรมาสที่ 5 ร้อยละ 35.4 ส่งผลให้ในไตรมาสนี้มีรายรับรวมจาก การท่องเที่ยว 0.499 ล้านล้านบาท เพิ่มขึ้นร้อยละ 126.7 สาหรับอัตราการเข้าพักเฉลี่ยอยู่ที่ร้อยละ 70.28 สูงกว่าร้อยละ 62.64 ในไตรมาสก่อนหน้า และสูงกว่าร้อยละ 36.32 ในไตรมาสเดียวกันของปีก่อน รวมทั้งเป็นอัตราการเข้าพักเฉลี่ยสูงสุดในรอบ 13 ไตรมาส
7) สาขาการขายส่งและการขายปลีก การซ่อมยานยนต์และจักรยานยนต์ เพิ่มขึ้นต่อเนื่องเป็นไตรมาสที่ 8 ร้อยละ 3.3 เร่งขึ้นจากการขยายตัวร้อยละ 3.1 ในไตรมาสก่อนหน้า ตามการปรับตัวดีขึ้นของภาคบริการด้านการท่องเที่ยว และการขยายตัวต่อเนื่องของการใช้จ่ายภาคครัวเรือน สอดคล้องกับการเพิ่มขึ้นของดัชนีรวมการขายส่งและการขายปลีก การซ่อมยานยนต์และจักรยานยนต์ โดยดัชนีการขายปลีก (ยกเว้นยานยนต์และจักรยานยนต์) เพิ่มขึ้นร้อยละ 1.8 เทียบกับการขยายตัวร้อยละ 0.03 ในไตรมาสก่อนหน้า ตามการขยายตัวของหมวดร้านขายปลีกสินค้าประเภทอื่น ๆ อาทิ การขายปลีกในร้านค้าทั่วไป เป็นสาคัญ ส่วนดัชนีการขายส่ง (ยกเว้นยานยนต์และจักรยานยนต์) เพิ่มขึ้นร้อยละ 1.1 เทียบกับการขยายตัวร้อยละ 0.8 ในไตรมาสก่อนหน้า โดยเฉพาะหมวดการขายส่งสินค้าประเภทอื่น ๆ อาทิ การขายส่งเชื้อเพลิงเหลว ขณะที่ดัชนีการขายส่ง การขายปลีก การซ่อมยานยนต์และจักรยานยนต์ ลดลงร้อยละ 4.5 ตามการลดลงของหมวดการขายยานยนต์ เป็นสาคัญ
8) สาขาการขนส่งและสถานที่เก็บสินค้า เพิ่มขึ้นต่อเนื่องเป็นไตรมาสที่ 6 ร้อยละ 12.4 เร่งขึ้นจากการขยายตัวร้อยละ 9.8 ในไตรมาสก่อนหน้า ตามการขยายตัวในเกณฑ์สูงของบริการขนส่งทางอากาศ และการขยายตัวต่อเนื่องของบริการขนส่งทางบกและท่อลาเลียง เป็นสาคัญ โดย (1) บริการขนส่งทางอากาศ ขยายตัวในเกณฑ์สูงร้อยละ 76.3 เร่งขึ้นจากร้อยละ 60.2 ในไตรมาสก่อนหน้า (2) บริการขนส่งทางบกและท่อลาเลียง ขยายตัวร้อยละ 11.2 เร่งขึ้นจากร้อยละ 10.5 ในไตรมาสก่อนหน้า และ (3) บริการขนส่งทางน้าเพิ่มขึ้นร้อยละ 0.5 ส่วนบริการสนับสนุนการขนส่งเพิ่มขึ้นร้อยละ 4.4 และบริการไปรษณีย์ขยายตัวร้อยละ 9.0 สอดคล้องกับการขยายตัวของรายรับผู้ประกอบการ
9) สาขาการไฟฟ้า ก๊าซ ไอน้า และระบบปรับอากาศ ลดลงร้อยละ 4.2 เทียบกับการขยายตัวร้อยละ 0.1 ในไตรมาสก่อนหน้า สอดคล้องกับการลดลงของดัชนีการผลิตไฟฟ้า ก๊าซ และระบบปรับอากาศ โดยดัชนีการผลิตไฟฟ้าลดลงครั้งแรกในรอบ 8 ไตรมาส ร้อยละ 0.4 ตามปริมาณการใช้ไฟฟ้าภาคครัวเรือนและภาคอุตสาหกรรมที่ปรับตัวลดลงร้อยละ 6.9 และลดลงร้อยละ 1.8 ตามลาดับ ขณะที่ปริมาณการใช้ไฟฟ้าภาคธุรกิจเพิ่มขึ้นร้อยละ 6.3 และดัชนีการผลิตโรงแยกก๊าซลดลงต่อเนื่องเป็นไตรมาสที่ 7 ร้อยละ 5.7 สอดคล้องกับการลดลงของปริมาณการใช้ก๊าซธรรมชาติที่โรงแยกก๊าซ (Gas Separation Plants: GSP)
แนวโน้มเศรษฐกิจไทยปี 2566
แนวโน้มเศรษฐกิจไทยในปี 2566 คาดว่าจะขยายตัวในช่วงร้อยละ 2.7 ? 3.7 โดยมีปัจจัยสนับสนุนจากการฟื้นตัวของภาคการท่องเที่ยว การขยายตัวในเกณฑ์ดีของการอุปโภคบริโภคภาคเอกชน และการขยายตัวต่อเนื่องของการลงทุน โดยคาดว่าการอุปโภคบริโภคภาคเอกชนจะขยายตัวร้อยละ 3.7 ส่วนการลงทุนภาคเอกชนและภาครัฐขยายตัวร้อยละ 1.9 และร้อยละ 2.7 ตามลาดับ ขณะที่มูลค่าการส่งออกสินค้าในรูปเงินดอลลาร์ สรอ. ลดลงร้อยละ 1.6 อัตราเงินเฟ้อทั่วไปเฉลี่ยอยู่ในช่วงร้อยละ 2.5 ? 3.5 และดุลบัญชีเดินสะพัดเกินดุลร้อยละ 1.4 ของ GDP
กองยุทธศาสตร์และการวางแผนเศรษฐกิจมหภาค 15 พฤษภาคม 2566 4
Economic Outlook NESDC
การอุปโภคบริโภคภาคเอกชน: ขยายตัวในเกณฑ์สูงร้อยละ 5.4 ต่อเนื่องจากร้อยละ 5.6 ในไตรมาสก่อนหน้า
สอดคล้องกับการฟื้นตัวของภาคการท่องเที่ยว การปรับตัวเพิ่มขึ้นของความเชื่อมั่นผู้บริโภคและการปรับตัวดีขึ้น
ของตลาดแรงงานอย่างต่อเนื่อง ซึ่งเป็นปัจจัยสนับสนุนให้การใช้จ่ายภาคเอกชนขยายตัวในทุกหมวด โดยการใช้จ่าย
ในหมวดบริการขยายตัวร้อยละ 11.1 ตามการขยายตัวในเกณฑ์สูงของการใช้จ่ายในกลุ่มโรงแรม การใช้จ่าย
ในหมวดสินค้าคงทนขยายตัวร้อยละ 2.4 เทียบกับการลดลงร้อยละ 1.0 ในไตรมาสก่อนหน้า สอดคล้องกับ
การขยายตัวของการใช้จ่ายเพื่อซื้อยานพาหนะร้อยละ 4.1 เทียบกับการลดลงร้อยละ 2.6 ในไตรมาสก่อนหน้า
ส่วนการใช้จ่ายหมวดสินค้าไม่คงทนขยายตัวร้อยละ 2.3 ตามการขยายตัวของการใช้จ่ายกลุ่มอาหารและ
เครื่องดื่มไม่มีแอลกอฮอล์ และกลุ่มเครื่องดื่มมีแอลกอฮอล์และยาสูบร้อยละ 3.6 และร้อยละ 2.5 ตามลาดับ
ขณะที่การใช้จ่ายหมวดสินค้ากึ่งคงทนขยายตัวร้อยละ 1.6 เท่ากับไตรมาสก่อนหน้า โดยการใช้จ่ายหมวดเสื้อผ้า
และรองเท้าขยายตัวเร่งขึ้น ขณะที่การใช้จ่ายหมวดเครื่องเรือนและเครื่องตกแต่งปรับตัวลดลง สาหรับดัชนี
ความเชื่อมั่นของผู้บริโภคเกี่ยวกับภาวะเศรษฐกิจโดยรวมในไตรมาสนี้อยู่ที่ระดับ 46.9 เพิ่มขึ้นจากระดับ 42.0
ในไตรมาสก่อนหน้า และเป็นระดับสูงสุดในรอบ 12 ไตรมาส
การลงทุนภาคเอกชน: ขยายตัวร้อยละ 2.6 ชะลอลงจากร้อยละ 4.5 ในไตรมาสก่อนหน้า ตามการชะลอตัว
ของการลงทุนในหมวดเครื่องจักรเครื่องมือและหมวดก่อสร้าง โดยการลงทุนในหมวดเครื่องจักรเครื่องมือ
ขยายตัวร้อยละ 2.8 ชะลอลงจากร้อยละ 5.1 ในไตรมาสก่อนหน้า สอดคล้องกับการขยายตัวของปริมาณการจาหน่าย
เครื่องจักรและอุปกรณ์ในประเทศร้อยละ 1.6 ชะลอลงจากร้อยละ 2.2 ในไตรมาสก่อนหน้า ส่วนการลงทุนใน
หมวดก่อสร้างขยายตัวร้อยละ 1.1 ชะลอลงจากร้อยละ 1.9 ในไตรมาสก่อนหน้า โดยการก่อสร้างที่อยู่อาศัย
ขยายตัวร้อยละ 2.7 ชะลอลงจากร้อยละ 3.1 ในไตรมาสก่อนหน้า ขณะที่การก่อสร้างอาคารที่มิใช่ที่อยู่อาศัย
ลดลงร้อยละ 5.3 เทียบกับการขยายตัวร้อยละ 3.1 ในไตรมาสก่อนหน้า เนื่องจากการลดลงของการก่อสร้างโรงงาน
และอาคารพาณิชย์ซึ่งมีการเร่งก่อสร้างไปแล้วในช่วงปีที่ผ่านมา ดัชนีความเชื่อมั่นทางธุรกิจในไตรมาสนี้ปรับตัว
เพิ่มขึ้นมาอยู่ที่ระดับ 51.1 จากระดับ 48.5 ในไตรมาสก่อนหน้า และสูงกว่าระดับ 50 เป็นครั้งแรกในรอบ 16 ไตรมาส
1. ภาวะเศรษฐกิจไทยไตรมาสแรกของปี 2566
ด้านการใช้จ่าย
การอุปโภคบริโภค
ภาคเอกชนขยายตัว
ร้อยละ 5.4 ต่อเนื่องจาก
ร้อยละ 5.6 ในไตรมาส
ก่อนหน้า สอดคล้องกับ
การฟื้นตัวของ
ภาคการท่องเที่ยว
การปรับตัวดีขึ้นของ
ความเชื่อมั่นผู้บริโภค
และตลาดแรงงาน
ในไตรมาสแรกของ
ปี 2566 การอุปโภค
บริโภคภาคเอกชนและ
การลงทุนภาคเอกชน
ขยายตัว ขณะที่
การส่งออกสินค้า
ปรับตัวลดลงต่อเนื่อง
การลงทุนภาคเอกชน
ขยายตัวร้อยละ 2.6
ชะลอลงจากร้อยละ 4.5
ในไตรมาสก่อนหน้า
ตามการชะลอตัวของ
ทั้งการลงทุนในหมวด
เครื่องจักรเครื่องมือและ
หมวดก่อสร้าง
การส่งออก: มูลค่าการส่งออกในรูปเงินดอลลาร์ สรอ. ลดลงต่อเนื่องจากไตรมาสก่อนหน้าตามการชะลอตัว
ของเศรษฐกิจประเทศคู่ค้าและส่วนหนึ่งเป็นผลจากฐานการส่งออกที่สูงในช่วงเดียวกันของปีก่อน การส่งออก
สินค้าในไตรมาสแรกของปี 2566 มีมูลค่า 69,806 ล้านดอลลาร์ สรอ. ลดลงร้อยละ 4.6 ต่อเนื่องจากการลดลง
ร้อยละ 7.5 ในไตรมาสก่อนหน้า โดยปริมาณการส่งออกลดลงร้อยละ 6.4 ต่อเนื่องจากการลดลงร้อยละ 10.3
ในไตรมาสก่อนหน้า ตามการลดลงของปริมาณการส่งออกสินค้าอุตสาหกรรม และสินค้าประมงเป็นสาคัญ
ขณะที่ปริมาณการส่งออกสินค้าเกษตรกลับมาขยายตัว ส่วนราคาสินค้าส่งออกเพิ่มขึ้นร้อยละ 2.0 ชะลอลงจาก
ร้อยละ 3.1 ในไตรมาสก่อนหน้า ตามการชะลอลงของราคาส่งออกสินค้าอุตสาหกรรมและประมงเป็นหลัก
ขณะที่ราคาส่งออกสินค้าเกษตรขยายตัวเร่งขึ้นสอดคล้องกับการเพิ่มขึ้นของอุปสงค์ในประเทศคู่ค้า เมื่อหักการส่งออก
มูลค่าการส่งออกสินค้า
ในรูปเงินดอลลาร์ สรอ.
ลดลงต่อเนื่องจาก
ไตรมาสก่อน ร้อยละ 4.6
ตามการชะลอตัวของ
เศรษฐกิจประเทศคู่ค้าและ
ฐานการส่งออกที่สูงในช่วง
เดียวกันของปีก่อน
เมื่อหักทองคาออกแล้ว
มูลค่าการส่งออกลดลง
ร้อยละ 2.4
0.0
10.0
20.0
30.0
40.0
50.0
60.0
70.0
80.0
-8.0
-6.0
-4.0
-2.0
0.0
2.0
4.0
6.0
8.0
Q1Q2Q3Q4Q1Q2Q3Q4Q1Q2Q3Q4Q1Q2Q3Q4Q1Q2Q3Q4Q1Q2Q3Q4Q1Q2Q3Q4Q1
59 60 61 62 63 64 65 66
%YoY
การอุปโภคบริโภคภาคเอกชนขยายตัว
การอุปโภคบริโภคภาคเอกชน (แกนซ้าย)
ดัชนีความเชื่อมั่นผู้บริโภคเกี่ยวกับภาวะเศรษฐกิจ (แกนขวา)
ดัชนี
ที่มา: สศช. และ มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย ที่มา: สศช. ธนาคารแห่งประเทศไทย และกรมธุรกิจพลังงาน
-70.0
-35.0
0.0
35.0
70.0
-8.0
-6.0
-4.0
-2.0
0.0
2.0
4.0
6.0
8.0
Q1Q2Q3Q4Q1Q2Q3Q4Q1Q2Q3Q4Q1Q2Q3Q4Q1Q2Q3Q4Q1Q2Q3Q4Q1Q2Q3Q4Q1
59 60 61 62 63 64 65 66
%YoY
การอุปโภคบริโภคภาคเอกชนและเครื่องชี้ที่สาคัญ
การบริโภคภาคเอกชน (แกนซ้าย)
ดัชนีปริมาณการจาหน่ายน้ามันเบนซิน แก๊สโซฮอล์ และน้ามันดีเซล
ดัชนีปริมาณการใช้ไฟฟ้าภาคครัวเรือน
ดัชนีปริมาณการนาเข้าสินค้าหมวดสิ่งทอเครื่องนุ่งห่ม
ยอดขายรถยนต์นั่งส่วนบุคคล
%YoY
ที่มา: สานักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
-20.0
-15.0
-10.0
-5.0
0.0
5.0
10.0
15.0
Q1Q2Q3Q4Q1Q2Q3Q4Q1Q2Q3Q4Q1Q2Q3Q4Q1Q2Q3Q4Q1Q2Q3Q4Q1Q2Q3Q4Q1
59 60 61 62 63 64 65 66
%YoY
การลงทุนภาคเอกชนขยายตัว
การลงทุนภาคเอกชน ก่อสร้าง เครื่องจักรเครื่องมือ
กองยุทธศาสตร์และการวางแผนเศรษฐกิจมหภาค 15 พฤษภาคม 2566 5
Economic Outlook NESDC
ทองคาที่ยังไม่ขึ้นรูปออกแล้ว มูลค่าการส่งออกลดลงร้อยละ 2.4 เทียบกับการลดลงร้อยละ 7.3 ในไตรมาสก่อนหน้า
ส่วนการส่งออกในรูปของเงินบาท มีมูลค่า 2,371 พันล้านบาท ลดลงเป็นครั้งแรกในรอบ 9 ไตรมาส ร้อยละ
2.0 เทียบกับการขยายตัวร้อยละ 0.8 ในไตรมาสก่อนหน้า
มูลค่าการส่งออกสินค้าเกษตรกลับมาขยายตัวร้อยละ 6.9 โดยปริมาณการส่งออกเพิ่มขึ้นร้อยละ 3.2 ตามการเพิ่มขึ้น
ของปริมาณการส่งออกข้าวและทุเรียน เป็นสาคัญ และราคาส่งออกเพิ่มขึ้นร้อยละ 3.7 ตามการเพิ่มขึ้นของ
ราคาส่งออกข้าวและน้าตาล เป็นหลัก โดยมูลค่าการส่งออกข้าวเพิ่มขึ้นร้อยละ 24.7 ตามการส่งออกไปยัง
ตลาดอิรักและอินโดนีเซียเป็นหลัก และเป็นการเพิ่มขึ้นทั้งราคาและปริมาณการส่งออก ทุเรียนเพิ่มขึ้นร้อยละ
218.9 ตามการส่งออกไปยังตลาดจีนเป็นสาคัญ โดยปริมาณการส่งออกเพิ่มขึ้น ขณะที่ราคาส่งออกลดลง
น้าตาลเพิ่มขึ้นร้อยละ 33.3 ตามการส่งออกไปยังตลาดอินโดนีเซีย เป็นสาคัญ โดยปริมาณและราคาส่งออก
เพิ่มขึ้น ส่วนยางพาราลดลงร้อยละ 37.7 ตามการลดลงของการส่งออกไปยังจีนและมาเลเซีย เป็นสาคัญ
โดยเป็นการลดลงของทั้งปริมาณและราคาส่งออก มูลค่าการส่งออกสินค้าอุตสาหกรรมลดลงร้อยละ 3.3 เทียบกับ
การลดลงร้อยละ 8.3 ในไตรมาสก่อนหน้า ตามการลดลงของปริมาณส่งออก ขณะที่ราคาส่งออกเพิ่มขึ้น มูลค่า
การส่งออกสินค้าอุตสาหกรรมสาคัญที่ลดลง ได้แก่ เคมีภัณฑ์และปิโตรเคมี (ร้อยละ 21.6) ชิ้นส่วนและอุปกรณ์
สาหรับยานยนต์ (ร้อยละ 8.2) ชิ้นส่วนและอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ (ร้อยละ 24.9) เครื่องจักรและอุปกรณ์
(ร้อยละ 0.1) และแผงวงจรรวมและชิ้นส่วน (ร้อยละ 0.2) ส่วนมูลค่าการส่งออกสินค้าอุตสาหกรรมสาคัญ
ที่ขยายตัว ได้แก่ ชิ้นส่วนเครื่องใช้ไฟฟ้า (ร้อยละ 27.3) รถยนต์นั่ง (ร้อยละ 29.0) รถกระบะและรถบรรทุก
(ร้อยละ 5.5) เครื่องปรับอากาศ (ร้อยละ 12.5) และเครื่องใช้ในห้องน้าและเครื่องสาอาง (ร้อยละ 10.3) มูลค่า
การส่งออกสินค้าประมงลดลงร้อยละ 13.2 ตามการลดลงของปริมาณการส่งออกร้อยละ 15.8 ขณะที่ราคาส่งออก
เพิ่มขึ้นร้อยละ 3.1 สินค้าที่มีมูลค่าการส่งออกลดลง ได้แก่ กุ้ง ปู กั้งและล็อบสเตอร์ (ร้อยละ 11.1) และปลา
(ร้อยละ 24.3) สินค้าส่งออกอื่น ๆ ลดลงร้อยละ 37.8 เป็นผลจากการลดลงของมูลค่าการส่งออกทองคาที่ยังไม่
ขึ้นรูปร้อยละ 46.9 เป็นสาคัญ
มูลค่าการส่งออกสินค้า
เกษตรกลับมาขยายตัว
ตามการส่งออกข้าว
ทุเรียน และน้าตาล
เป็นสาคัญ
มูลค่าการส่งออกสินค้า
อุตสาหกรรมลดลง
มูลค่าการส่งออกสินค้า
ประมงลดลง
-20.0
-10.0
0.0
10.0
20.0
30.0
40.0
Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1
59 60 61 62 63 64 65 66
%YoY
ดัชนีมูลค่า ปริมาณ และราคาส่งออก
ราคา มูลค่า ปริมาณ
ที่มา: ธนาคารแห่งประเทศไทย
-60.0
-40.0
-20.0
0.0
20.0
40.0
60.0
80.0
100.0
120.0
140.0
160.0
Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1
59 60 61 62 63 64 65 66
%YoY
สินค้าส่งออกจาแนกตามกิจกรรมการผลิต
สินค้าเกษตร สินค้าประมง
สินค้าปาไม้ สินค้าเหมืองแร่
สินค้าอุตสาหกรรม
ที่มา: ธนาคารแห่งประเทศไทย
สินค้าส่งออกสาคัญ ในรูปดอลลาร์ สรอ.
%YoY
2564 2565 2566 สัดส่วน
ทั้งปี ทั้งปี Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q1/66 (%)
สินค้าเกษตร 28.1 -1.7 -3.0 16.2 -13.2 -10.0 6.9 6.2
ข้าว -7.2 14.7 17.1 46.6 12.4 -2.2 24.7 1.6
ยาง 58.6 -7.7 6.2 3.0 0.2 -36.9 -37.7 1.4
ทุเรียน 68.3 -7.7 -48.3 9.8 -53.0 96.4 218.9 0.5
ผลไม้อื่น ๆ 27.2 -13.5 -13.4 45.4 -39.4 -26.0 23.5 0.7
สินค้าอุตสาหกรรม 23.5 4.8 10.6 10.2 7.9 -8.3 -3.3 88.7
อาหาร 7.4 20.6 28.2 32.2 26.1 -1.6 2.8 8.2
น้าตาล -8.9 92.0 181.8 116.8 121.4 -8.3 33.3 2.0
ปลากระป๋องและปลาแปรรูป -14.7 13.9 3.3 20.9 28.0 6.2 -2.3 1.0
ผลิตภัณฑ์มันสาปะหลังและแป้งมันสาปะหลัง 44.0 6.5 5.8 18.9 7.5 -3.2 -29.9 0.5
ผลไม้กระป๋องและแปรรูป 8.3 10.8 9.4 30.2 20.5 -13.7 -21.4 0.3
เครื่องดื่ม 3.6 5.2 4.6 0.5 14.5 2.2 -1.3 1.0
ผลิตภัณฑ์ยาง 19.1 -12.6 -25.0 -13.1 -8.0 0.2 0.3 2.4
อาหารสัตว์ 23.5 15.8 26.3 21.6 22.0 -4.4 -20.5 0.8
อิเล็กทรอนิกส์ 18.9 3.8 17.0 2.5 5.1 -7.2 -8.0 11.2
- คอมพิวเตอร์ 47.1 0.6 67.6 -18.0 10.2 -31.5 19.2 0.4
- ชิ้นส่วนและอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ 20.9 -11.1 15.1 -10.1 -13.2 -31.2 -24.9 4.2
- แผงวงจรรวมและชิ้นส่วน 19.0 9.4 17.7 9.4 11.6 0.5 -0.2 3.3
เครื่องใช้ไฟฟ้า 19.9 2.8 7.5 -0.9 7.4 -2.8 4.6 10.4
- เครอื่ งปรบั อากาศ 22.5 8.8 5.6 1.0 38.7 -1.6 12.5 2.9
- ตู้เย็น 13.3 -7.1 6.8 -3.3 -1.4 -30.7 -18.8 0.7
- ชิ้นส่วนเครื่องใช้ไฟฟ้า 11.4 13.3 4.9 3.8 13.6 31.3 27.3 2.9
ผลิตภัณฑ์โลหะ 46.5 3.9 19.5 21.2 -3.4 -17.8 -14.3 5.1
ยานยนต์ 35.7 -1.6 -5.8 -3.7 8.4 -4.1 2.1 15.2
- รถยนต์นั่ง 6.7 -30.9 -50.3 -48.3 -7.2 -1.5 29.0 2.5
- รถกระบะและรถบรรทุก 60.0 -10.7 -28.8 -9.5 12.8 -9.4 5.5 2.7
- ชิ้นส่วนและอุปกรณ์ยานยนต์ 30.0 -0.2 3.5 1.8 2.3 -8.4 -8.2 6.6
6
กองยุทธศาสตร์และการวางแผนเศรษฐกิจมหภาค
15 พฤษภาคม 2566
NESDC
Economic Outlook
ตลาดส่งออก: การส่งออกสินค้าไปยังตลาดหลักลดลง ส่วนการส่งออกไปยังตลาดตะวันออกกลาง อินเดีย และสหราชอาณาจักรขยายตัว โดยการส่งออกไปยังตลาดสหรัฐฯ ลดลงต่อเนื่องเป็นไตรมาสที่ 2 ร้อยละ 3.9 ตามการลดลงของการส่งออกเครื่องคอมพิวเตอร์ อุปกรณ์และส่วนประกอบ ผลิตภัณฑ์ยาง และรถยนต์ อุปกรณ์และส่วนประกอบ เป็นสาคัญ การส่งออกไปยังตลาดจีนลดลงต่อเนื่องเป็นไตรมาสที่ 4 ร้อยละ 7.4 ตามการลดลงของการส่งออกเม็ดพลาสติก เครื่องคอมพิวเตอร์ อุปกรณ์และส่วนประกอบ และยางพารา เป็นสาคัญ การส่งออกไปยังตลาดญี่ปุ่นลดลงต่อเนื่องเป็นไตรมาสที่ 3 ร้อยละ 0.2 ตามการลดลงของการส่งออกไก่แปรรูป เคมีภัณฑ์ และเครื่องจักรกลและส่วนประกอบ เป็นสาคัญ การส่งออกไปยังตลาดอาเซียน (5) ลดลงต่อเนื่องเป็นไตรมาสที่ 2 ร้อยละ 2.2 (ตามการลดลงของการส่งออกไปยังตลาดมาเลเซียและสิงคโปร์ เป็นสาคัญ) การส่งออกไปกลุ่มประเทศ CLMV ลดลงต่อเนื่องเป็นไตรมาสที่ 2 ร้อยละ 6.3 (ตามการส่งออกไปยังตลาดเวียดนาม กัมพูชา และลาว เป็นสาคัญ) การส่งออกไปยังตลาดสหภาพยุโรป (27) ลดลงต่อเนื่องเป็นไตรมาสที่ 2 ร้อยละ 2.2 ตามการลดลงของการส่งออกเครื่องคอมพิวเตอร์ อุปกรณ์และส่วนประกอบ ผลิตภัณฑ์ยาง และรถยนต์ อุปกรณ์และส่วนประกอบ เป็นสาคัญ การส่งออกไปยังตลาดออสเตรเลียลดลงต่อเนื่องเป็นไตรมาสที่ 2 ร้อยละ 13.3 ตามการลดลงของการส่งออกรถยนต์ อุปกรณ์และส่วนประกอบ เครื่องปรับอากาศและส่วนประกอบ และเม็ดพลาสติก เป็นสาคัญ อย่างไรก็ตาม การส่งออกไปยังตลาดตะวันออกกลาง (15) ขยายตัวต่อเนื่องเป็นไตรมาสที่ 8 ร้อยละ 9.6 ตามการขยายตัวของการส่งออกรถยนต์ อุปกรณ์และส่วนประกอบ ข้าว และเครื่องปรับอากาศและส่วนประกอบ เป็นสาคัญ การส่งออกไปยังตลาดอินเดียขยายตัวร้อยละ 3.7 ตามการขยายตัวของการส่งออกไขมันและน้ามันจากพืชและสัตว์ เหล็กกล้าและผลิตภัณฑ์ และเครื่องปรับอากาศและส่วนประกอบ เป็นสาคัญ เช่นเดียวกับการส่งออกไปยังตลาดสหราชอาณาจักรขยายตัวต่อเนื่องเป็นไตรมาสที่ 3 ร้อยละ 2.8 ตามการขยายตัวของการส่งออกรถยนต์ อุปกรณ์และส่วนประกอบ ไก่แปรรูป และเครื่องจักรกลและส่วนประกอบ เป็นสาคัญ
การส่งออกสินค้าไปยังตลาดส่งออกหลักลดลง ขณะที่การส่งออกไปยังตลาดตะวันออกกลาง อินเดีย และสหราชอาณาจักรขยายตัว
ตลาดส่งออกสาคัญ ในรูปดอลลาร์ สรอ.
%YOY
2564
2566
สัดส่วน Q1/66 (%)
2565
ทั้งปี
ทั้งปี
Q1
Q2
Q3
Q4
Q1
มูลค่าการส่งออกรวมตามสถิติศุลกากร (ล้านดอลลาร์ สรอ.)
272,006
287,068
73,559
75,528
72,181
65,799
70,280
100.0
(%YoY)
17.4
5.5
14.7
10.7
6.6
-8.5
-4.5
สหรัฐอเมริกา
21.9
13.4
23.1
17.8
15.8
-1.3
-3.9
16.3
ญี่ปุ น
9.6
-1.3
1.2
0.9
-0.2
-7.1
-0.2
9.2
สหภาพยุโรป (27)
22.8
5.2
5.6
5.7
15.0
-4.8
-2.2
8.2
สหราชอาณาจักร
13.0
15.6
18.1
-2.1
33.3
16.5
2.8
1.5
จีน
25.0
-7.7
4.1
-1.9
-18.1
-13.4
-7.4
11.0
อาเซียน (9)
17.5
10.3
16.8
19.0
19.2
-10.9
-3.9
24.4
- อาเซียน (5)*
19.9
9.5
27.0
23.1
11.9
-17.6
-2.2
14.5
- CLMV**
14.5
11.5
4.9
14.0
30.1
-0.9
-6.3
9.9
ตะวันออกกลาง (15)
20.5
21.0
16.5
29.1
31.9
9.1
9.6
3.9
ออสเตรเลีย
11.5
1.8
-2.3
-3.4
17.8
-2.9
-13.3
3.6
ฮ่องกง
2.7
-13.0
5.0
-7.2
-22.6
-24.7
-3.4
3.6
อินเดีย
56.0
22.5
33.1
60.3
13.6
-6.1
3.7
3.8
เกาหลีใต้
38.8
8.4
23.2
14.0
7.8
-10.3
-0.4
2.3
ไต้หวัน
23.1
0.8
9.7
8.1
-2.6
-11.3
-2.5
1.6
หมายเหตุ: * อาเซียน (5) ประกอบด้วย บรูไน อินโดนีเซีย มาเลเซีย ฟิลิปปินส์ และสิงคโปร์
สินค้าส่งออกสาคัญ ในรูปดอลลาร์ สรอ.
%YoY
2564
2565
2566
สัดส่วน Q1/66 (%)
ทั้งปี
ทั้งปี
Q1
Q2
Q3
Q4
Q1
เครื่องจักรและอุปกรณ์
20.1
5.2
5.7
6.9
10.3
-1.7
-0.1
8.4
เคมีภัณฑ์และปิโตรเคมี
37.6
-3.2
18.6
4.8
-8.8
-23.7
-21.6
7.4
ผลิตภัณฑ์ปิโตรเลียม
64.3
14.3
23.2
62.9
10.3
-25.6
3.5
3.1
อุปกรณ์และเครื่องมือด้านการแพทย์
18.8
4.5
3.5
8.0
9.9
-2.9
-0.3
0.8
เครื่องใช้ในห้องน้าและเครื่องสาอาง
2.4
6.7
8.3
14.3
9.0
-4.0
10.3
1.2
เฟอร์นิเจอร์และชิ้นส่วน
20.2
0.4
17.9
5.7
0.9
-20.2
-25.4
0.5
สินค้าประมง
8.8
-2.1
13.9
-5.8
1.1
-13.5
-13.2
0.5
กุ้ง, ปู, กั้ง และล็อบสเตอร์
15.8
-7.7
8.1
-12.0
-4.3
-16.8
-11.1
0.2
ปลา
-0.3
0.1
14.7
-4.1
6.5
-14.3
-24.3
0.1
สินค้าส่งออกอื่นๆ
-71.5
78.0
557.7
7.9
24.1
-19.7
-37.8
3.3
ทองคาที่ยังไม่ขึ้นรูป
-70.7
81.1
681.8
-0.8
23.7
-22.9
-46.9
2.7
มูลค่าสินค้าส่งออกรวมตามสถิติศุลกากร
17.4
5.5
14.7
10.7
6.6
-8.5
-4.5
100.0
มูลค่าสินค้าส่งออกรวมตามสถิติดุลการชาระเงิน
19.2
5.5
14.2
9.6
6.7
-7.5
-4.6
99.3
มูลค่าสินค้าส่งออกไม่รวมทองคา
24.9
4.4
9.4
9.8
6.4
-7.3
-2.4
96.6
ที่มา: ธนาคารแห่งประเทศไทย
กองยุทธศาสตร์และการวางแผนเศรษฐกิจมหภาค 15 พฤษภาคม 2566 7
Economic Outlook NESDC
มูลค่าการนาเข้าในรูป
เงินดอลลาร์ สรอ.
กลับมาขยายตัวร้อยละ
1.3
การนาเข้าสินค้าในรูปเงินดอลลาร์ สรอ. มีมูลค่า 66,860 ล้านดอลลาร์ สรอ. เพิ่มขึ้นร้อยละ 1.3 เทียบกับการลดลง
ร้อยละ 0.3 ในไตรมาสก่อนหน้า โดยปริมาณการนาเข้าลดลงร้อยละ 3.3 เทียบกับการลดลงร้อยละ 9.2 ในไตรมาส
ก่อนหน้า ส่วนราคานาเข้าเพิ่มขึ้นร้อยละ 4.8 ทั้งนี้ หากไม่รวมการนาเข้าทองคา มูลค่าการนาเข้าเพิ่มขึ้นร้อยละ
2.1 ในรูปของเงินบาท การนาเข้าสินค้ามีมูลค่ารวม 2,267 พันล้านบาท เพิ่มขึ้นร้อยละ 3.9
ในรายหมวด มูลค่าการนาเข้าปรับตัวดีขึ้นในเกือบทุกหมวดสินค้า โดยมูลค่าการนาเข้าหมวดสินค้าอุปโภค
บริโภคขยายตัวร้อยละ 9.9 เทียบกับการลดลงร้อยละ 2.0 ในไตรมาสก่อนหน้า โดยการนาเข้ายานพาหนะเพิ่มขึ้น
ร้อยละ 179.1 ซึ่งส่วนหนึ่งเป็นผลจากการเพิ่มขึ้นของมูลค่าการนาเข้ายานยนต์ไฟฟ้าร้อยละ 997.3 มูลค่า
การนาเข้าหมวดสินค้าวัตถุดิบและสินค้าขั้นกลางลดลงร้อยละ 1.6 เทียบกับการลดลงร้อยละ 3.9 ในไตรมาส
ก่อนหน้า โดยปริมาณนาเข้าลดลงร้อยละ 2.8 เทียบกับการลดลงร้อยละ 11.0 ในไตรมาสก่อนหน้า ส่วนราคา
นาเข้าเพิ่มขึ้นร้อยละ 1.2 ชะลอลงจากการเพิ่มขึ้นร้อยละ 8.0 ในไตรมาสก่อนหน้า และมูลค่าการนาเข้าหมวด
สินค้าทุนลดลงร้อยละ 0.3 เทียบกับการลดลงร้อยละ 6.2 ในไตรมาสก่อนหน้า โดยปริมาณนาเข้าลดลงร้อยละ 1.2
เทียบกับการลดลงร้อยละ 7.3 ในไตรมาสก่อนหน้า ขณะที่มูลค่าการนาเข้าหมวดสินค้าอื่น ๆ ลดลงร้อยละ 14.0
เทียบกับการเพิ่มขึ้นร้อยละ 16.2 ในไตรมาสก่อนหน้า ตามการลดลงของการนาเข้าสินค้ากลุ่มทองคา (ไม่รวม
ทองรูปพรรณ) ร้อยละ 24.2
ที่มา: ธนาคารแห่งประเทศไทย
-30.0
-20.0
-10.0
0.0
10.0
20.0
30.0
40.0
50.0
Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1
59 60 61 62 63 64 65 66
%YoY ดัชนีมูลค่า ปริมาณ และราคานาเข้า
ราคา มูลค่า ปริมาณ
ที่มา: ธนาคารแห่งประเทศไทย
-30.0
-20.0
-10.0
0.0
10.0
20.0
30.0
40.0
50.0
60.0
Q1Q2Q3Q4Q1Q2Q3Q4Q1Q2Q3Q4Q1Q2Q3Q4Q1Q2Q3Q4Q1Q2Q3Q4Q1Q2Q3Q4Q1
59 60 61 62 63 64 65 66
%YoY
สินค้านาเข้าจาแนกตามภาคเศรษฐกิจ
สินค้าอุปโภคบริโภค
วัตถุดิบและสินค้าขั้นกลาง
สินค้าทุน
รวม
สินค้านาเข้าสาคัญ ในรูปดอลลาร์ สรอ.
%YoY 2564 2565 2566 สัดส่วน
ทั้งปี ทั้งปี Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q1/66 (%)
สินค้าอุปโภคบริโภค 19.2 6.4 9.2 7.5 12.2 -2.0 9.9 13.3
- ไม่รวมยานพาหนะ 19.2 5.2 10.4 8.2 8.9 -5.3 2.1 11.9
อาหาร เครื่องดื่ม และผลิตภัณฑ์นม 5.7 14.7 13.8 16.3 17.7 11.3 0.6 2.5
ยานพาหนะ 18.0 32.2 -12.2 -5.5 107.9 74.7 179.1 1.5
โทรศัพท์มือถือ 39.0 -9.8 -12.3 8.1 35.4 -39.1 -10.7 1.4
ยาและเวชภัณฑ์ 46.9 -6.9 52.9 10.3 -39.4 -21.9 -19.3 1.3
ผลิตภัณฑ์จากสัตว์และประมง 24.0 5.9 9.3 -5.2 14.3 6.9 1.8 1.2
วัตถุดิบและสินค้าขั้นกลาง 36.2 17.5 28.6 27.0 21.0 -3.9 -1.6 66.0
- ไม่รวมกลุ่มเชื้อเพลิง 33.5 5.8 16.7 11.5 4.4 -8.3 -4.6 47.1
ชิ้นส่วนอิเล็กทรอนิกส์ และชิ้นส่วนเครื่องใช้ไฟฟ้า 20.4 8.9 20.4 14.9 7.7 -5.3 -1.2 15.4
น้ามันดิบ 45.7 59.1 71.0 97.9 72.6 11.7 11.2 12.2
เคมีภัณฑ์และผลิตภัณฑ์ปิโตรเคมี 39.1 6.7 19.0 14.3 5.6 -10.9 -10.8 9.1
วัสดุที่ทาด้วยโลหะ 60.9 -0.4 19.0 13.4 -8.6 -22.7 -15.1 8.4
ก๊าซธรรมชาติ 43.7 109.4 262.0 113.8 233.3 -10.7 -1.1 3.7
สินค้าทุน 18.4 2.4 9.6 7.3 0.03 -6.2 -0.3 17.3
เครื่องจักรกลอื่น ๆ และชิ้นส่วน 16.4 1.9 9.0 2.7 -0.8 -3.1 -5.1 7.4
หม้อแปลง เครื่องกาเนิดไฟฟ้า มอเตอร์ฯ 20.9 7.0 8.5 9.9 7.3 2.6 4.8 1.9
เครื่องชั่ง ตวง วัด 16.8 0.7 -3.8 1.2 2.1 3.6 3.7 1.3
อากาศยาน, เรือ, แท่น, และรถไฟ 20.4 11.4 27.1 68.4 9.1 -28.6 17.9 1.2
คอมพิวเตอร์ 44.7 -15.6 21.5 -12.7 -19.8 -37.4 -16.4 0.8
สินค้านาเข้าอื่น ๆ 19.7 22.8 -42.1 51.9 140.2 16.2 -14.0 3.4
ทองคา (ไมร่ วมทองรปู พรรณ) 68.6 32.0 -54.1 103.6 245.8 23.4 -24.2 1.9
สินค้านาเข้าเบ็ดเตล็ด -27.5 2.3 14.4 -8.2 3.7 0.8 5.3 1.4
มูลค่าสินค้านาเข้ารวมตามสถิติศุลกากร 29.5 13.6 17.0 21.8 20.2 -3.3 -0.5 100.0
มูลค่าสินค้านาเข้ารวมตามสถิติดุลการชาระเงิน 27.7 15.3 16.5 22.7 23.2 -0.3 1.3 91.2
มูลค่าสินค้านาเข้าไม่รวมทองคา 26.5 14.6 22.0 21.0 18.1 -1.0 2.1 89.2
ที่มา: ธนาคารแห่งประเทศไทย
กองยุทธศาสตร์และการวางแผนเศรษฐกิจมหภาค 15 พฤษภาคม 2566 8
Economic Outlook NESDC
อัตราการค้า (Term of Trade) ปรับตัวลดลง เนื่องจากราคานาเข้าเพิ่มขึ้นร้อยละ 4.8 เร็วกว่าการเพิ่มขึ้น
ของราคาส่งออกร้อยละ 2.0 ส่งผลให้อัตราการค้าอยู่ที่ระดับ 95.8 ลดลงจากระดับ 98.5 ในไตรมาสเดียวกัน
ของปีก่อน และระดับ 96.1 ในไตรมาสก่อนหน้า และเป็นอัตราการค้าที่อยู่ในระดับต่ากว่า 100 ติดต่อกันเป็น
ไตรมาสที่ 5
ดุลการค้าเกินดุล ในไตรมาสแรกของปี 2566 ดุลการค้าเกินดุล 2.9 พันล้านดอลลาร์ สรอ. ต่ากว่าการเกินดุล
3.0 พันล้านดอลลาร์ สรอ. ในไตรมาสก่อนหน้า และการเกินดุล 7.2 พันล้านดอลลาร์ สรอ. ในไตรมาสเดียวกัน
ของปีก่อน เมื่อคิดในรูปเงินบาท ดุลการค้าเกินดุล 104.4 พันล้านบาท ต่ากว่าการเกินดุล 108.8 พันล้านบาท
ในไตรมาสก่อนหน้า และการเกินดุล 237.4 พันล้านบาท ในไตรมาสเดียวกันของปีก่อน
ดุลการค้าเกินดุล 2.9
พันล้านดอลลาร์ สรอ.
แต่ต่ากว่าการเกินดุล
ในไตรมาสเดียวกันของ
ปีก่อน
ดัชนีปริมาณสินค้านาเข้าจาแนกตามภาคเศรษฐกิจ
ดัชนีปริมาณสินค้านาเข้า
%YoY
2564 2565 2566
ทั้งปี Q1 Q2 Q3 Q4 ทั้งปี Q1 Q2 Q3 Q4 Q1
สินค้าอุปโภคบริโภค 14.8 8.3 24.0 12.6 15.2 1.5 4.5 1.7 6.5 -5.7 5.4
วัตถุดิบและสินค้าขั้นกลาง 16.1 -1.7 26.9 26.8 15.9 2.2 8.4 6.3 5.5 -11.0 -2.8
สินค้าทุน 16.2 2.1 30.3 24.0 11.8 -0.4 6.1 3.3 -3.0 -7.3 -1.2
ปริมาณนาเข้ารวม 17.9 4.9 29.8 25.8 14.2 2.0 3.4 6.1 8.0 -9.2 -3.3
ที่มา: ธนาคารแห่งประเทศไทย
ดัชนีราคาสินค้านาเข้าจาแนกตามภาคเศรษฐกิจ
ดัชนีราคาสินค้านาเข้า
%YoY
2564 2565 2566
ทั้งปี Q1 Q2 Q3 Q4 ทั้งปี Q1 Q2 Q3 Q4 Q1
สินค้าอุปโภคบริโภค 3.8 2.9 4.1 3.9 4.4 4.9 4.4 5.7 5.4 4.0 4.3
วัตถุดิบและสินค้าขั้นกลาง 17.3 9.0 20.9 18.3 21.2 15.0 18.6 19.4 14.7 8.0 1.2
สินค้าทุน 1.9 1.5 1.7 1.8 2.7 2.9 3.3 3.8 3.2 1.1 1.0
ราคานาเข้ารวม 8.3 3.9 9.9 8.3 11.3 13.0 12.7 15.7 14.0 9.8 4.8
ที่มา: ธนาคารแห่งประเทศไทย
อัตราการค้า
%YoY 2564 2565 2566
ทั้งปี Q1 Q2 Q3 Q4 ทั้งปี Q1 Q2 Q3 Q4 Q1
อัตราการค้า* 104.7 106.8 105.5 104.5 102.3 96.5 98.5 95.9 95.7 96.1 95.8
%YOY -4.7 -1.8 -5.3 -4.8 -6.8 -7.8 -7.8 -9.1 -8.4 -6.1 -2.7
หมายเหตุ: * อัตราการค้า (Terms of Trade : TOT) คือ ราคาสินค้าส่งออกเทียบกับราคาสินค้านาเข้าของแต่ละประเทศ หาก TOT ปรับดีขึ้น
หมายถึงประเทศนั้น ๆ ได้ประโยชน์มากขึ้นจากการค้าระหว่างประเทศ เนื่องจากสินค้าที่ส่งออกได้ราคาสูงขึ้นเทียบกับราคาที่นาเข้า
ที่มา: ธนาคารแห่งประเทศไทย
อัตราการค้าปรับตัวลดลง
ทิศทางการค้าและการลงทุนระหว่างประเทศมีการเปลี่ยนแปลงในช่วงทศวรรษที่ผ่านมา
โดยเมื่อพิจารณาจากข้อมูลเงินทุนไหลเข้าจากต่างประเทศสุทธิของประเทศในภูมิภาค
อาเซียนเผยแพร่ในรายงาน ASEAN Investment report 2022 โดยองค์การ Association of
Southeast ASIAN Nations ร่วมกับ United Nations Conference on Trade and
Development (UNCTAD) พบว่า ในปี 2564 มีเงินทุนไหลเข้าจากต่างประเทศในภูมิภาค
อาเซียนรวมทั้งสิ้น 179.2 พันล้านดอลลาร์ สรอ. โดยเป็นการลงทุนจากสหรัฐฯ สูงสุด
มูลค่า 40.0 พันล้านดอลลาร์ สรอ. คิดเป็นร้อยละ 22.5 เพิ่มขึ้นจากร้อยละ 8.2 ซึ่งเป็น
สัดส่วนเฉลี่ยช่วงปี 2558 - 2562 และเป็นช่วงสงครามการค้าและช่วงก่อนการแพร่ระบาด
ของโรคโควิด-19 และจีนมีมูลค่า 14.0 พันล้านดอลลาร์ สรอ. คิดเป็นร้อยละ 7.7 ลดลง
จากร้อยละ 8.7 ตามลาดับ อย่างไรก็ตาม เมื่อไม่รวมเงินลงทุนโดยตรงจากต่างประเทศ
ที่ไปยังสิงคโปร์ พบว่า ประเทศที่มีเงินลงทุนจากต่างประเทศสูงสุด คือ อินโดนีเซียมีมูลค่า
20.1 พันล้านดอลลาร์ สรอ. คิดเป็นร้อยละ 25.1 ลดลงจากร้อยละ 25.6 ที่เป็นสัดส่วน
เฉลี่ยระหว่างปี 2558 - 2562 อันดับที่ 2 เวียดนาม มีมูลค่า 15.7 พันล้านดอลลาร์ สรอ.
คิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 19.5 ลดลงจากร้อยละ 22.3 ส่วนไทยนั้นอยู่ในอันดับที่ 3 มีมูลค่า
14.6 พันล้านดอลลาร์ สรอ. คิดเป็นร้อยละ 18.3 เพิ่มขึ้นจากร้อยละ 12.2 ซึ่งเป็นสัดส่วน
เฉลี่ยระหว่างปี 2558 ? 2562
การเปลี่ยนแปลงโครงสร้างการลงทุนและการค้า
0
5
10
15
20
25
สัดส่วนเงินลงทุนจากต่างประเทศเข้ามาใน ASEAN
ค่าเฉลี่ยช่วงปี 2558 - 2562 2564
ร้อยละ
ที่มา: Association of Southeast ASIAN Nations ร่วมกับ UNCTAD
0.0
5.0
10.0
15.0
20.0
25.0
30.0
สัดส่วนเงินลงทุนจากต่างประเทศของประเทศ ASEAN
(ไม่รวมสิงคโปร์)
ค่าเฉลี่ยช่วงปี 2558 - 2562 2564
ร้อยละ
ที่มา: Association of Southeast ASIAN Nations ร่วมกับ UNCTAD
กองยุทธศาสตร์และการวางแผนเศรษฐกิจมหภาค 15 พฤษภาคม 2566 9
Economic Outlook NESDC
ขณะเดียวกัน มูลค่าเงินลงทุนโดยตรงจากต่างประเทศของไทยเผยแพร่โดยธนาคารแห่งประเทศพบว่า ในปี 2565 มีมูลค่าเงินลงทุนโดยตรงจาก
ต่างประเทศของจีนอยู่ที่ 10.08 พันล้านดอลลาร์ สรอ. ซึ่งเป็นมูลค่าที่ใกล้เคียงกับเงินลงทุนโดยตรงจากญี่ปุ นและสูงกว่าเงินลงทุนโดยตรงจากสหรัฐฯ
ที่มีมูลค่าอยู่ที่ 10.13 พันล้านดอลลาร์ สรอ. และ 5.1 พันล้านดอลลาร์ สรอ. ตามลาดับ ส่งผลให้สัดส่วนมูลค่าเงินลงทุนโดยตรงจากต่างประเทศของจีน
อยู่ที่ร้อยละ 15.2 ของมูลค่าเงินลงทุนจากต่างประเทศทั้งหมด เพิ่มขึ้นจากร้อยละ 14.0 ในช่วงปี 2558 - 2562 สาหรับสัดส่วนมูลค่าเงินลงทุนโดยตรง
จากสหรัฐฯ ปี 2565 อยู่ที่ร้อยละ 7.7 เพิ่มขึ้นจากร้อยละ 6.3 ในช่วงปี 2558 - 2562 ในขณะที่ญี่ปุ นมีสัดส่วนมูลค่าเงินลงทุนโดยตรงจากต่างประเทศ
ปี 2565 อยทู่ รี่ อ้ ยละ 15.3 ลดลงจากรอ้ ยละ 18.1 ในช่วงปี 2558 - 2562 ทงั้ นี้ หากพจิ รณาการลงทนุ เฉพาะทสี่ มารถจาแนกสาขาการผลติ ได้ พบวา
จีนมีการลงทุนในกิจการสาขาการผลิตอุตสาหกรรมมากที่สุดคิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 42.0 ของการมูลค่าเงินลงทุนโดยตรงจากจีนรวม (การผลิตยางและ
พลาสติก ร้อยละ 21.3 และการผลิตยานยนต์ ร้อยละ 9.5) รองลงมาคือ สาขากิจกรรมทางการเงินและประกันภัย (ร้อยละ 12.2) สาขาไฟฟ้า ก๊าซ ไอน้าฯ
(ร้อยละ 6.7) และสาขาการขายส่งขายปลีก (ร้อยละ 4.5) ส่วนสหรัฐฯ มีสัดส่วนการลงทุนในกิจการสาขาการขายส่งขายปลีกสูงสุดคิดเป็นร้อยละ 46.6
รองลงมาคือ สาขาการผลิตอุตสาหกรรม (ร้อยละ 20.0) และสาขากิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับอสังหาริมทรัพย์ (ร้อยละ 11.7)
ดา นการคา ระหวา งประเทศเมอื่ พจิ รณาในส่วนของการส่งออกสินคา ของไทย พบวา สหรฐั ฯ และจนี ถอื เป็นประเทศคคู่  ทสี่ คญั มาอยา งตอ่ เนอื่ ง
และมีแนวโน้มที่จะเพิ่มความสาคัญขึ้นตามลาดับ โดยมูลค่าการส่งออกสินค้าไปยังตลาดสหรัฐฯ ในปี 2565 สูงสุดเป็นอันดับ 1 อยู่ที่ 47.5 พันล้าน
ดอลลาร์ สรอ. คิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 16.6 ของการส่งออกรวม เพิ่มขึ้นเมื่อเทียบกับช่วง 2558 - 2562 ซึ่งเฉลี่ยอยู่ที่ร้อยละ 11.1 โดยมีกลุ่มสินค้าสาคัญ
ที่เพิ่มขึ้น อาทิ อุปกรณ์กึ่งตัวนา ทรานซิสเตอร์ เครื่องใช้ไฟฟ้าและส่วนประกอบ เป็นต้น ขณะที่มูลค่าการส่งออกสินค้าไปยังตลาดจีนในปี 2565 สูงเป็น
อันดับ 2 อยู่ที่ 34.4 พันล้านดอลลาร์ สรอ. คิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 12.0 ของการส่งออกรวม เพิ่มขึ้นจากร้อยละ 11.6 ในช่วงปี 2558 - 2562 โดยมีกลุ่ม
สินค้าสาคัญที่เพิ่มขึ้น อาทิ ผลิตภัณฑ์ยาง ผลิตภัณฑ์มันสาปะหลัง เป็นต้น
ท่ามกลางความขดั แยง้ ทยี่ งั คงยดื เยอื้ อนั นาไปสกู่ รดาเนินมาตรการกดี กนั ทางการคา และการแขง่ ขนั ทางเทคโนโลยรี หวา งสองประเทศมหาอานาจ
ซึ่งเป็นประเทศคู่ค้าและต้นทางเงินลงทุนที่สาคัญของไทย ทาให้เกิดผลกระทบต่อห่วงโซ่อุปทานโลกรวมทั้งไทย ซึ่งอาจเป็นได้ทั้งโอกาสและความท้าทาย
ต่อเศรษฐกิจไทยจากการย้ายฐานการผลิตและการลงทุนใหม่ ดังนั้น จึงจาเป็นอย่างยิ่งที่ไทยต้องเร่งดาเนินนโยบายเพื่อดึงดูดการลงทุนโดยเฉพาะ
อุตสาหกรรมที่มีความสาคัญในเชิงยุทธศาสตร์ ควบคู่ไปกับการมุ่งเน้นสร้างความร่วมมือเพื่อส่งเสริมให้ห่วงโซ่อุปทานในภูมิภาคเข้มแข็งมากขึ้น รวมทั้ง
การขับเคลื่อนและเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันด้านการส่งออกในสินค้าและตลาดที่มีศักยภาพใหม่เพื่อสร้างโอกาสและลดผลกระทบจากแนวโน้ม
การเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น
การเปลี่ยนแปลงโครงสร้างการลงทุนและการค้า (ต่อ)
0.0
5.0
10.0
15.0
20.0
25.0
ญี่ปุ น ไต้หวัน ฮ่องกง เกาหลีใต้ สิงคโปร์ จีน สหรัฐฯ
สัดส่วนเงินลงทุนโดยตรงจากต่างประเทศมาไทย (Inflow)
ปี 2558 2565
2558 2559 2560 2561 2562 2563 2564 2565
ที่มา: ธนาคารแห่งประเทศไทย
ร้อยละ
0.0
5.0
10.0
15.0
20.0
ญี่ปุ น ไต้หวัน ฮ่องกง เกาหลีใต้ สิงคโปร์ จีน สหรัฐฯ
สัดส่วนมูลค่าการส่งออกของไทยไปตลาดสาคัญ
ปี 2558 2565
2558 2559 2560 2561 2562 2563 2564 2565
ที่มา: กระทรวงพาณิชย์
ร้อยละ
42.0
4.5 6.7
12.2
34.6
สัดส่วนเงินลงทุนโดยตรงจากจีนมาไทยรายสาขาปี 2565*
การผลิตอุตสาหกรรม
ไฟฟ้า ก๊าซ ไอน้า และระบบปรับอากาศ
การขายส่งและการขายปลีก
กิจกรรมทางการเงินและการประกันภัย
อื่น ๆ
ที่มา: ธนาคารแห่งประเทศไทย
หมายเหตุ: *มูลค่าเงินลงทุนโดยตรงจากจีนมาไทยเฉพาะที่สามารถจาแนกสาขาการผลิตได้
ร้อยละ
20.0
46.6
11.7
21.7
สัดส่วนเงินลงทุนโดยตรงจากสหรัฐฯ มาไทยรายสาขาปี 2565*
การผลิตอุตสาหกรรม
การขายส่งและการขายปลีก
กิจกรรมเกี่ยวกับอสังหาริมทรัพย์
อื่น ๆ
ร้อยละ
ที่มา: ธนาคารแห่งประเทศไทย
หมายเหตุ: *มูลค่าเงินลงทุนโดยตรงจากสหรัฐฯ มาไทยเฉพาะที่สามารถจาแนกสาขาการผลิตได้
กองยุทธศาสตร์และการวางแผนเศรษฐกิจมหภาค 15 พฤษภาคม 2566 10
Economic Outlook NESDC
ด้านการผลิต
สาขาเกษตรกรรม การป่าไม้ และการประมง: ขยายตัวร้อยละ 7.2 เร่งขึ้นจากการขยายตัวร้อยละ 3.4 ในไตรมาส
ก่อนหน้า โดยมีปัจจัยสนับสนุนจากสภาพอากาศและปริมาณน้าที่เอื้ออานวยต่อการขยายตัวของผลผลิต
สอดคล้องกับการเพิ่มขึ้นของดัชนีผลผลิตสินค้าเกษตรร้อยละ 7.4 เทียบกับร้อยละ 3.0 ในไตรมาสก่อนหน้า โดยผลผลิต
สินค้าเกษตรสาคัญ ๆ ที่ขยายตัว ได้แก่ (1) ข้าวเปลือก เพิ่มขึ้นร้อยละ 20.4 จากแรงจูงใจด้านราคาในปีที่ผ่านมาทาให้
เกษตรกรขยายพื้นที่เพาะปลูก ประกอบกับสภาพอากาศที่เอื้ออานวยทาให้ผลผลิตต่อไร่ปรับตัวเพิ่มขึ้น (2) กลุ่มไม้ผล
เพิ่มขึ้นร้อยละ 22.5 โดยเฉพาะทุเรียน เพิ่มขึ้นร้อยละ 279.2 เนื่องจากสภาพอากาศที่เอื้ออานวย ทาให้ผลผลิตต่อไร่
ปรับตัวเพิ่มขึ้น (3) ปาล์มน้ามัน เพิ่มขึ้นร้อยละ 30.0 ตามผลผลิตต่อไร่ที่ปรับตัวเพิ่มขึ้น เนื่องจากสภาพอากาศ
ที่เอื้ออานวย (4) อ้อย เพิ่มขึ้นร้อยละ 17.1 เนื่องจากราคาอ้อยในช่วงที่ผ่านมาอยู่ในเกณฑ์ดีทาให้มีการขยายพื้นที่
เพาะปลกู ประกอบกบั สภาพอากาศทเ ออื้ อานวยทาให้ผลผลติ อ้อยตอ่ ไรป่ รบั ตวั เพมิ่ ขนึ้ และ (5) ไกเ นอื้ เพมิ่ ขนึ้ รอ้ ยละ
2.2 ตามการเพิ่มขึ้นของอุปสงค์ในตลาดต่างประเทศ โดยเฉพาะตลาดสหราชอาณาจักรและตลาดจีน อย่างไรก็ตาม
ดัชนีผลผลิตสินค้าเกษตรสาคัญ ๆ บางรายการปรับตัวลดลง ได้แก่ มันสาปะหลัง (ลดลงร้อยละ 3.7) ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์
(ลดลงร้อยละ 2.5) และกุ้งขาวแวนนาไม (ลดลงร้อยละ 2.5) เป็นต้น ส่วนดัชนีราคาสินค้าเกษตรปรับตัวลดลงครั้งแรก
ในรอบ 4 ไตรมาส ร้อยละ 1.3 ตามการลดลงของดัชนีราคาสินค้าเกษตรสาคัญ ๆ เช่น (1) ยางพารา ลดลงร้อยละ 22.2
ตามราคายางพาราในตลาดโลกที่ปรับตัวลดลง ประกอบกับผลผลิตยางพาราภายในประเทศปรับตัวเพิ่มขึ้น (2) ปาล์ม
น้ามัน ลดลงร้อยละ 48.4 ตามการลดลงของราคาน้ามันปาล์มในตลาดโลก ประกอบกับสต็อกน้ามันปาล์ม
ภายในประเทศยังทรงตัวอยู่ในระดับสูง และ (3) กุ้งขาวแวนนาไม ลดลงร้อยละ 10.6 ตามปริมาณความต้องการกุ้งขาว
แวนนาไมจากตลาดตา งประเทศทปี่ รบั ตวั ลดลง โดยเฉพาะตลาดญปี่ นุ และตลาดสหรฐั ฯ อยา งไรกต็ ม ดชั นีราคาสนิ คา
เกษตรสาคัญ ๆ หลายรายการปรับตัวเพิ่มขึ้น เช่น ราคาข้าวเปลือก (เพิ่มขึ้นร้อยละ 19.2) ราคามันสาปะหลัง (เพิ่มขึ้น
ร้อยละ 25.0) ราคาไก่เนื้อ (เพิ่มขึ้นร้อยละ 11.1) ราคาข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ (เพิ่มขึ้นร้อยละ 26.0) และราคากลุ่มไม้ผล
(เพิ่มขึ้นร้อยละ 2.8) เป็นต้น การเพิ่มขึ้นของดัชนีผลผลิตสินค้าเกษตรและดัชนีราคาสินค้าเกษตรสาคัญ ๆ
หลายรายการ สง่ ผลให้ดชั นรี ยไดเ กษตรกรโดยรวมขยายตอ่ เนอื่ งเป็นไตรมาสที่ 5 รอ้ ยละ 6.2
การผลติ เรง่ ขนึ้ จากไตรมาส
กอ่ นหนา ตามการเรง่ ตวั ขนึ้
ของสาขาที่พักแรมและ
บริการด้านอาหาร สาขา
เกษตรกรรมฯ สาขา
การขนส่งและสถานที่เก็บ
สินค้า สาขาการขายส่ง
และการขายปลีกฯ และ
สาขาการก่อสร้าง
อย่างไรก็ตาม สาขา
การผลติ สนิ ค้าอตุ สาหกรรม
และสาขาการไฟฟ้า
และก๊าซฯ ลดลง
สาขาเกษตรกรรม
การป่าไม้ และการประมง
ขยายตัวต่อเนื่องเป็น
ไตรมาสที่ 2 ร้อยละ 7.2
เรง่ ขนึ้ จากไตรมาสกอ่ นหน้า
ตามการเพิ่มขึ้นของ
ผลผลิตสินค้าเกษตร
สาคัญหลายรายการ
โดยมีปัจจัยสนับสนุนจาก
สภาพอากาศและปริมาณ
น้าที่เอื้ออานวย
ต่อการขยายตัวของ
ผลผลิต ส่วนราคาสินค้า
เกษตรปรับตัวลดลง
อย่างไรก็ตาม ราคาสินค้า
เกษตรสาคัญหลาย
รายการปรับตัวดีขึ้น
ซึ่งส่งผลให้ดัชนีรายได้
เกษตรกรโดยรวมเพิ่มขึ้น
ต่อเนื่องเป็นไตรมาสที่ 5
-20
-10
0
10
20
Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1
62 63 64 65 66
(%YoY)
ดัชนีผลผลิตสินค้าเกษตร ดัชนีราคาสินค้าเกษตร ดัชนีรายได้เกษตรกร
ที่มา: สานักงานเศรษฐกิจการเกษตร
รายได้เกษตรกรเพิ่มขึ้นร้อยละ 6.2
ตามการเพิ่มขึ้นของดัชนีผลผลิตสินค้าเกษตร
ราคาข้าวเปลือก มันสาปะหลังและอ้อยปรับตัวเพิ่มขึ้น
ในขณะที่ราคายางพารา และปาล์มน้ามัน ปรับตัวลดลง
ที่มา: สานักงานเศรษฐกิจการเกษตร
-100
-50
0
50
100
150
Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1
62 63 64 65 66
(%YoY) ข้าวเปลือก มันสาปะหลัง ยางแผ่นดิบชั้น 3
ปาล์มน้ามัน อ้อย
สาขาการผลิตสินค้าอุตสาหกรรม: ลดลงร้อยละ 3.1 ต่อเนื่องจากการลดลงร้อยละ 5.0 ในไตรมาสก่อนหน้า
ตามการลดลงต่อเนื่องของการส่งออกสินค้าเป็นไตรมาสที่ 2 สอดคล้องกับการลดลงของดัชนีผลผลิตอุตสาหกรรม
ร้อยละ 3.9 เทียบกับการลดลงร้อยละ 6.0 ในไตรมาสก่อนหน้า โดย ดัชนีผลผลิตอุตสาหกรรมกลุ่มการผลิตเพื่อ
สง่ ออก (สดั สว่ นสง่ ออกมากกว่ารอ้ ยละ 60) ลดลงรอ้ ยละ 13.7 ตอ่ เนอื่ งจากการลดลงรอ้ ยละ 14.8 ในไตรมาสกอ่ นหน้า
โดยการผลิตสาคัญ ๆ ที่ปรับตัวลดลง ได้แก่ การผลิตคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ต่อพ่วงลดลงร้อยละ 37.6 เทียบกับ
การลดลงร้อยละ 42.5 ในไตรมาสก่อนหน้า โดยเฉพาะการผลิตฮาร์ดดิสก์ไดรฟ์ (Hard Disk Drive: HDD) ที่ปรับตัว
ลดลงร้อยละ 38.5 ขณะที่การผลิตเฟอร์นิเจอร์ลดลงร้อยละ 48.9 เนื่องจากในปีก่อนมีคาสั่งซื้อพิเศษจากต่างประเทศ
ประกอบกับจีนซึ่งเป็นผู้ผลิตเฟอร์นิเจอร์รายใหญ่อันดับ 1 ของโลก เริ่มกลับมาผลิตและส่งออกเฟอร์นิเจอร์
ดัชนีผลผลิตอุตสาหกรรมกลุ่มการผลิตเพื่อบริโภคภายในประเทศ (สัดส่วนส่งออกน้อยกว่าร้อยละ 30) ลดลงร้อยละ
1.9 แต่ปรับตัวดีขึ้นเมื่อเทียบกับการลดลงร้อยละ 5.1 ในไตรมาสก่อนหน้า โดยการผลิตสาคัญ ๆ ที่ปรับตัวลดลง เช่น
การผลิตพลาสติกและยางสังเคราะห์ขั้นต้นลดลงร้อยละ 16.6 แต่ปรับตัวดีขึ้นเมื่อเทียบกับการลดลงร้อยละ 19.6
ในไตรมาสก่อนหน้า ตามปริมาณความต้องการพลาสติกและยางสังเคราะห์ภายในประเทศที่ปรับตัวดีขึ้น และการผลิต
เหล็กและเหล็กกล้าขั้นมูลฐานลดลงร้อยละ 8.9 แต่ปรับตัวดีขึ้นเมื่อเทียบกับการลดลงร้อยละ 10.3 ในไตรมาสก่อนหน้า
เนื่องจากผู้บริโภคบางส่วนเริ่มปรับเปลี่ยนกลับมาใช้เหล็กภายในประเทศที่มีคุณภาพสูงกว่าเหล็กจากต่างประเทศ
ในขณะที่ดัชนีผลผลิตอุตสาหกรรมที่มีสัดส่วนการส่งออกในช่วงร้อยละ 30 - 60 เพิ่มขึ้นต่อเนื่องเป็นไตรมาสที่ 3
ร้อยละ 1.7 เร่งขึ้นจากการขยายตัวร้อยละ 1.4 ในไตรมาสก่อนหน้า โดยการผลิตยานยนต์ขยายตัวร้อยละ 7.2
และการผลิตน้าตาลเพิ่มขึ้นร้อยละ 10.5 ตามการเพิ่มขึ้นของอุปสงค์จากต่างประเทศ อาทิ อินโดนีเซีย และเกาหลีใต้
สาหรับอัตราการใช้กาลังการผลิตเฉลี่ยในไตรมาสนี้อยู่ที่ร้อยละ 63.66 สูงกว่าร้อยละ 60.32 ในไตรมาสก่อนหน้า
แต่ต่ากว่าร้อยละ 66.77 ในไตรมาสเดียวกันของปีก่อน โดยในอุตสาหกรรมสาคัญ 30 รายการ มีอุตสาหกรรมที่มีการใช้
กาลังการผลิตสูงกว่าร้อยละ 80 จานวน 5 รายการ คือ การผลิตน้าตาล (ร้อยละ 104.29) การผลิตผลิตภัณฑ์ที่ได้จาก
กองยุทธศาสตร์และการวางแผนเศรษฐกิจมหภาค 15 พฤษภาคม 2566 11
Economic Outlook NESDC
การกลั่นปิโตรเลียม (ร้อยละ 87.37) การฆ่าสัตว์ปีกและการผลิตเนื้อสัตว์ปีกสด แช่เย็นหรือแช่แข็ง (ร้อยละ 82.55)
การผลิตพลาสติกและยางสังเคราะห์ขั้นต้น (ร้อยละ 80.95) และการผลิตยานยนต์ (ร้อยละ 80.46)
ดัชนีผลผลิตอุตสาหกรรมสาคัญ ๆ ที่ลดลง เช่น การผลิตคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ต่อพ่วง (ลดลงร้อยละ
37.6) การผลิตเฟอร์นิเจอร์ (ลดลงร้อยละ 48.9) การผลิตพลาสติกและยางสังเคราะห์ขั้นต้น (ลดลงร้อยละ
16.6) การผลิตเสื้อผ้าเครื่องแต่งกาย (ยกเว้นร้านตัดเย็บเสื้อผ้า) (ลดลงร้อยละ 27.9) การแปรรูปและการถนอม
ผลไม้และผัก (ลดลงร้อยละ 18.7) การผลิตเหล็กและเหล็กกล้าขั้นมูลฐาน (ลดลงร้อยละ 8.9) การผลิตปุ๋ยเคมี
และสารประกอบไนโตรเจน (ลดลงร้อยละ 37.9) การทอผ้า (ลดลงร้อยละ 28.9) การผลิตบรรจุภัณฑ์พลาสติก
(ลดลงร้อยละ 12.5) และการผลิตชิ้นส่วนและแผ่นวงจรอิเล็กทรอนิกส์ (ลดลงร้อยละ 4.6) เป็นต้น
ดัชนีผลผลิตอุตสาหกรรมสาคัญ ๆ ที่เพิ่มขึ้น เช่น การผลิตยานยนต์ (ร้อยละ 7.2) การผลิตผลิตภัณฑ์ที่ได้จาก
การกลั่นปิโตรเลียม (ร้อยละ 7.5) การผลิตน้ามันปาล์ม (ร้อยละ 37.6) การผลิตน้าตาล (ร้อยละ 10.5) การผลิต
จักรยานยนต์ (ร้อยละ 16.7) การผลิตผลิตภัณฑ์คอนกรีต ปูนซีเมนต์ และ ปูนปลาสเตอร์ (ร้อยละ 3.8)
การผลิตเภสัชภัณฑ์ เคมีภัณฑ์ที่ใช้รักษาโรค (ร้อยละ 10.0) การผลิตสายไฟฟ้าและเคเบิลสาหรับงานไฟฟ้าและ
อิเล็กทรอนิกส์อื่น ๆ ชนิดใช้ในทาง (ร้อยละ 12.8) การผลิตกระเป๋าเดินทาง กระเป๋าถือ และสิ่งที่คล้ายกัน (ร้อยละ
26.8) และการฆ่าสัตว์ปีกและการผลิตเนื้อสัตว์ปีกสด แช่เย็นหรือแช่แข็ง (ร้อยละ 4.8) เป็นต้น
ดัชนีผลผลิตอุตสาหกรรมลดลงร้อยละ 3.9
อัตราการใช้กาลังการผลิตเฉลี่ยอยู่ที่ร้อยละ 63.66
ที่มา: สานักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม
-60.0
-40.0
-20.0
0.0
20.0
40.0
60.0
0.0
10.0
20.0
30.0
40.0
50.0
60.0
70.0
80.0
90.0
100.0
Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1
61 62 63 64 65 66
%Cap U (แกนซ้าย) MPI
Export<30% Export 30-60%
Export>60%
ร้อยละ %YoY
มูลค่าบริการรับด้านการท่องเที่ยวในไตรมาสแรกของปี 2566
มีจานวน 0.304 ล้านล้านบาท เพิ่มขึ้นร้อยละ 300.4
ที่มา: ธนาคารแห่งประเทศไทย
-100
0
100
200
300
400
0.0
0.2
0.4
0.6
Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1
62 63 64 65 66
(ล้านล้านบาท) มูลค่าบริการรับ %YoY (แกนขวา) (ร้อยละ)
มาตรการ VOA
(1 พ.ค. ? 31 ต.ค. 62)
มาตรการ VOA
(14 ม.ค. - 30 เม.ย. 62)
มาตรการ VOA
(1 พ.ค. ? 31 ต.ค. 62)
มาตรการ VOA
(1 พ.ย. 62 ? 30 เม.ย. 63)
การแพร่ระบาดของโรคโควิด-19
(การจากัดการเดินทางระหว่างประเทศ)
โครงการ Phuket Sandbox
(1 ก.ค. 64)
ยกเลิก Thailand Pass
(1 ก.ค. 65)
เป ดประเทศ และเริ่มใช้ Thailand Pass
(1 พ.ย. 64)
ขยายเวลาพานักวีซ่าบางประเภท
(1 ต.ค. 65 ? 31 มี.ค. 66)
มาตรการ VOA
(1 พ.ย. 62 ? 30 เม.ย. 63)
จีนเป ดประเทศ และอนุญาตให้พลเมือง
เดินทางท่องเที่ยวนอกประเทศ
สาขาการผลิตสินค้า
อุตสาหกรรมลดลงต่อเนื่อง
เป็นไตรมาสที่ 2 ร้อยละ
3.1 สอดคล้องกับการ
ลดลงของการส่งออกสินค้า
ดัชนีผลผลิตกลุ่ม
อุตสาหกรรมการผลิต
เพื่อส่งออก (สัดส่วนส่งออก
มากกว่าร้อยละ 60)
และกลุ่มอุตสาหกรรม
การผลิตเพื่อบริโภค
ภายในประเทศ (สัดส่วน
ส่งออกน้อยกว่า
ร้อยละ 30) ลดลง ส่วนกลุ่ม
อุตสาหกรรมที่มีสัดส่วน
ส่งออกในช่วงร้อยละ
30 - 60 ขยายตัวเร่งขึ้น
อัตราการใช้กาลังการผลิต
เฉลี่ยอยู่ที่ร้อยละ 63.66
สูงกว่าร้อยละ 60.32
ในไตรมาสก่อนหน้า
แต่ต่ากว่าร้อยละ 66.77
ในไตรมาสเดียวกันของ
สาขาที่พักแรมและบริการด้านอาหาร: ขยายตัวร้อยละ 34.3 เร่งขึ้นจากร้อยละ 30.6 ในไตรมาสก่อนหน้า ปีก่อน
ตามการขยายตัวในเกณฑ์สูงของจานวนนักท่องเที่ยวต่างประเทศ และการท่องเที่ยวในประเทศ โดยในไตรมาสนี้
มีนักท่องเที่ยวต่างประเทศที่เดินทางเข้ามาท่องเที่ยวในประเทศไทยจานวน 6.478 ล้านคน (คิดเป็นร้อยละ
63.60 ของจานวนนักท่องเที่ยวต่างประเทศในช่วงก่อนเกิดการแพร่ระบาดของโรคโควิด-19) โดยนักท่องเที่ยว
ต่างประเทศที่เดินทางมาไทยสูงสุด 3 อันดับแรก คือ (1) มาเลเซีย เนื่องจากความสะดวกในการเดินทางมา
ท่องเที่ยว เพราะมีชายแดนติดกับประเทศไทย ประกอบกับความคล้ายคลึงของประเพณีและวัฒนธรรมต่าง ๆ อาทิ
อาหารและเครื่องแต่งกาย (2) รัสเซีย เนื่องจากการกลับมาเปิดเส้นทางการบินระหว่างประเทศใหม่อีกครั้ง
ทั้งจากเที่ยวบินแบบเส้นทางประจา (Scheduled flight) และเที่ยวบินเช่าเหมาลา (Chartered flight)
และ (3) จีน เนื่องจากการกลับมาเปิดประเทศและอนุญาตให้พลเมืองสามารถเดินทางท่องเที่ยวนอกประเทศ
ทั้งการเดินทางท่องเที่ยวแบบอิสระ (Free Independent Traveler: FIT) และการเดินทางท่องเที่ยวแบบหมู่คณะ
(Group Inclusive Tour: GIT) สาหรับนักท่องเที่ยวสาคัญที่เดินทางเข้ามาในราชอาณาจักรในไตรมาสนี้
ได้แก่ นักท่องเที่ยวจากภูมิภาคเอเชียและแปซิฟิก 4.014 ล้านคน (สัดส่วนร้อยละ 61.97) เพิ่มขึ้นร้อยละ
2,868.7 ภูมิภาคยุโรป 2.005 ล้านคน (สัดส่วนร้อยละ 30.96) เพิ่มขึ้นร้อยละ 561.0 และภูมิภาคอเมริกา
0.357 ล้านคน (สัดส่วนร้อยละ 5.52) เพิ่มขึ้นร้อยละ 794.9 ตามลาดับ มูลค่าบริการรับด้านการท่องเที่ยว1 อยู่ที่
0.304 ล้านล้านบาท เพิ่มขึ้นต่อเนื่องเป็นไตรมาสที่ 7 ร้อยละ 300.4 ส่วนการท่องเที่ยวภายในประเทศของ
นักท่องเที่ยวชาวไทย (ไทยเที่ยวไทย) ขยายตัวในเกณฑ์สูงต่อเนื่อง โดยมีปัจจัยสนับสนุนจากการดาเนินมาตรการ
กระตุ้นการท่องเที่ยวภายในประเทศของภาครัฐผ่านโครงการต่าง ๆ อย่างต่อเนื่อง อาทิ โครงการเราเที่ยวด้วยกัน
เฟส 5 โครงการ 365 วัน มหัศจรรย์เมืองไทยเที่ยวได้ทุกวัน และงานเทศกาลและงานประจาปีในแต่ละจังหวัด เป็น
ต้น สาหรับจังหวัดที่มีผู้เยี่ยมเยือนคนไทยมากที่สุด 3 อันดับแรก (ไม่รวมกรุงเทพมหานคร) ได้แก่ กาญจนบุรี
3.651 ล้านคน (สัดส่วนร้อยละ 5.83) ชลบุรี 3.579 ล้านคน (สัดส่วนร้อยละ 5.72) และประจวบคีรีขันธ์ 2.900
ล้านคน (สัดส่วนร้อยละ 4.63) สร้างรายรับจากนักท่องเที่ยวชาวไทย2 เป็นจานวน 0.195 ล้านล้านบาท
สาขาที่พักแรมและบริการ
ด้านอาหาร ขยายตัว
ในเกณฑ์สูงต่อเนื่อง
เป็นไตรมาสที่ 5 ร้อยละ
34.3 โดยมีปัจจัยสนับสนุน
จากการขยายตัวในเกณฑ์สูง
ของจานวนนักท่องเที่ยว
ต่างประเทศ
และการขยายตัวต่อเนื่อง
ของการท่องเที่ยว
ในประเทศ
สาหรับรายรับรวมจาก
การท่องเที่ยวในไตรมาสนี้
อยู่ที่ 0.499 ล้านล้านบาท
เพิ่มขึ้นร้อยละ 126.7
อัตราเข้าพักเฉลี่ยอยู่ที่
ร้อยละ 70.28 สูงสุด
ในรอบ 13 ไตรมาส
1 มูลค่าบริการรับด้านการท่องเที่ยว จากตารางดุลการชาระเงิน ของ ธนาคารแห่งประเทศไทย (ธปท.)
2 รายรับจากนักท่องเที่ยวชาวไทย จากตารางสรุปสถานการณ์พักแรม จานวนผู้เยี่ยมเยือน และรายได้จากผู้เยี่ยมเยือน ของ กระทรวงการท่องเทยี่ วและกีฬา (กก.)
12
กองยุทธศาสตร์และการวางแผนเศรษฐกิจมหภาค
15 พฤษภาคม 2566
NESDC
Economic Outlook
เพิ่มขึ้นจากช่วงเดียวกันของปีก่อนร้อยละ 35.4 เมื่อรวมกับมูลค่าบริการรับด้านการท่องเที่ยวจากนักท่องเที่ยวต่างประเทศ ส่งผลให้ในไตรมาสนี้มีรายรับรวมจากการท่องเที่ยว30.499 ล้านล้านบาท เพิ่มขึ้นร้อยละ 126.7 สาหรับอัตราการเข้าพักเฉลี่ยในไตรมาสนี้อยู่ที่ร้อยละ 70.28 สูงกว่าร้อยละ 62.64 ในไตรมาสก่อนหน้า และสูงกว่าร้อยละ 36.32 ในไตรมาสเดียวกันของปีก่อน โดยเป็นอัตราการเข้าพักเฉลี่ยสูงสุดในรอบ 13 ไตรมาส
สาขาการขายส่งและการขายปลีก การซ่อมยานยนต์และจักรยานยนต์: เพิ่มขึ้นร้อยละ 3.3 ต่อเนื่องจาก การเพิ่มขึ้นร้อยละ 3.1 ในไตรมาสก่อนหน้า ตามการขยายตัวในเกณฑ์ดีของการใช้จ่ายภาคครัวเรือนและการปรับตัวดีขึ้นอย่างต่อเนื่องของภาคการท่องเที่ยว สอดคล้องกับการเพิ่มขึ้นของดัชนีรวมการขายส่งและการขายปลีก การซ่อมยานยนต์และจักรยานยนต์ โดย (1) ดัชนีการขายปลีก (ยกเว้น ยานยนต์และจักรยานยนต์) เพิ่มขึ้นร้อยละ 1.8 ตามการเพิ่มขึ้นของหมวดร้านขายปลีกในร้านค้าทั่วไป อาทิ การขายปลีกสินค้าอื่น ๆ ในร้านค้าทั่วไป เป็นสาคัญ (2) ดัชนีการขายส่ง (ยกเว้นยานยนต์และจักรยานยนต์) เพิ่มขึ้นร้อยละ 1.1 ตามการเพิ่มขึ้นของหมวดการขายส่งสินค้าประเภทอื่น ๆ อาทิ การขายส่งเชื้อเพลิงเหลว เป็นสาคัญ และ (3) ดัชนีการขายส่ง การขายปลีก การซ่อมยานยนต์และจักรยานยนต์ ลดลงร้อยละ 4.5 ตามการลดลงของหมวด การขายยานยนต์ โดยเฉพาะรถยนต์เพื่อการพาณิชย์ ตามความต้องการที่ปรับตัวลดลง เนื่องจากมีการเร่งซื้อรถยนต์เพื่อการพาณิชย์ไปในช่วงก่อนหน้า ประกอบกับส่วนหนึ่งเป็นผลมาจากฐานสูงในปีก่อน
สาขาการขนส่งและสถานที่เก็บสินค้า: ขยายตัวร้อยละ 12.4 เร่งขึ้นจากร้อยละ 9.8 ในไตรมาสก่อนหน้า ตามการขยายตัวในเกณฑ์สูงของบริการขนส่งทางอากาศ และการขยายตัวต่อเนื่องของบริการขนส่งทางบกและท่อลาเลียง เป็นสาคัญ โดย (1) บริการขนส่งทางอากาศ เพิ่มขึ้นร้อยละ 76.3 เร่งขึ้นจากร้อยละ 60.2 ในไตรมาสก่อนหน้า สอดคล้องกับการปรับตัวดีขึ้นอย่างต่อเนื่องของการเดินทางท่องเที่ยวระหว่างประเทศและภายในประเทศ (2) บริการขนส่งทางบกและท่อลาเลียง เพิ่มขึ้นร้อยละ 11.2 สอดคล้องกับการเพิ่มขึ้นของปริมาณผู้โดยสารรถไฟฟ้า ปริมาณการใช้ก๊าซธรรมชาติสาหรับยานยนต์ ปริมาณการใช้น้ามันเบนซิน ปริมาณการใช้ก๊าซปิโตรเลียมเหลว และจานวนรถบรรทุกจดทะเบียน และ (3) บริการขนส่งทางน้า เพิ่มขึ้นร้อยละ 0.5 สอดคล้องกับตามการเพิ่มขึ้นของปริมาณผู้โดยสารที่เดินทางทางน้า สาหรับบริการสนับสนุนการขนส่งเพิ่มขึ้นร้อยละ 4.4 เทียบกับการขยายตัวร้อยละ 3.0 ในไตรมาสก่อนหน้า และบริการไปรษณีย์เพิ่มขึ้นร้อยละ 9.0 เทียบกับร้อยละ 4.0 ในไตรมาสก่อนหน้า สอดคล้องกับการเพิ่มขึ้นของรายรับผู้ประกอบการ
สาขาการไฟฟ้า ก๊าซ ไอน้า และระบบปรับอากาศ: ลดลงร้อยละ 4.2 เทียบกับการเพิ่มขึ้นร้อยละ 0.1 ในไตรมาสก่อนหน้า ตามการปรับตัวลดลงของกิจกรรมการผลิตไฟฟ้าและการปรับตัวลดลงต่อเนื่องของกิจกรรมโรงแยกก๊าซ สอดคล้องกับ (1) ดัชนีการผลิตไฟฟ้าลดลงครั้งแรกในรอบ 8 ไตรมาส ร้อยละ 0.4 ตามการลดลงของปริมาณการใช้ไฟฟ้าภาคครัวเรือนและภาคอุตสาหกรรมร้อยละ 6.9 และร้อยละ 1.8 ตามลาดับ ขณะที่ปริมาณการใช้ไฟฟ้าภาคธุรกิจเพิ่มขึ้นร้อยละ 6.3 และ (2) ดัชนีการผลิตโรงแยกก๊าซลดลงต่อเนื่องเป็นไตรมาสที่ 7 ร้อยละ 5.7 สอดคล้องกับการลดลงของปริมาณก๊าซธรรมชาติที่ผลิตได้ในอ่าวไทยที่ลดลง ส่งผลให้การใช้ก๊าซธรรมชาติที่ใช้เพื่อผลิตไฟฟ้าและโรงแยกก๊าซ (Gas Separation Plants: GSP) ลดลงตามไปด้วย
สาขาการก่อสร้าง: เพิ่มขึ้นร้อยละ 3.9 เร่งขึ้นจากร้อยละ 2.6 ในไตรมาสก่อนหน้า ตามการเร่งตัวขึ้นของ การก่อสร้างภาครัฐที่มีปัจจัยสนับสนุนจากการก่อสร้างโครงการโครงสร้างพื้นฐานและการขยายตัวต่อเนื่องของการก่อสร้างภาคเอกชน ในไตรมาสนี้การก่อสร้างภาครัฐเพิ่มขึ้นต่อเนื่องเป็นไตรมาสที่ 2 ร้อยละ 5.8 เร่งขึ้นจากร้อยละ 3.3 ในไตรมาสก่อนหน้า โดยการก่อสร้างของรัฐบาลเพิ่มขึ้นร้อยละ 8.3 เร่งขึ้นจากร้อยละ 0.1 ในไตรมาสก่อนหน้า สอดคล้องกับการเพิ่มขึ้นของเบิกจ่ายของกระทรวงคมนาคม ส่วนการก่อสร้างของรัฐวิสาหกิจเพิ่มขึ้นร้อยละ 1.3 สอดคล้องกับความคืบหน้าของการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานที่สาคัญๆ เช่น โครงการทางพิเศษสายพระราม 3-ดาวคะนอง-วงแหวนรอบนอกกรุงเทพมหานครด้านตะวันตก ของการทางพิเศษแห่งประเทศไทย และโครงการปรับปรุงกิจการประปาแผนหลัก ครั้งที่ 9 ของการประปานครหลวง เป็นต้น ส่วนการก่อสร้างภาคเอกชนเพิ่มขึ้นต่อเนื่องเป็นไตรมาสที่ 3 ร้อยละ 1.1 เทียบกับการเพิ่มขึ้นร้อยละ 1.9 ในไตรมาสก่อนหน้า ตามการขยายตัวของการก่อสร้างที่อยู่อาศัย (เช่น ห้องชุด และบ้านเดี่ยว) และการก่อสร้างอื่น ๆ ที่กลับมาขยายตัวครั้งแรกในรอบ 7 ไตรมาส ในขณะที่การก่อสร้างอาคารที่มิใช่ที่อยู่อาศัยปรับตัวลดลง (เช่น อาคารพาณิชย์ และอาคารโรงงาน) สาหรับดัชนีราคาวัสดุก่อสร้างเพิ่มขึ้นต่อเนื่องเป็นไตรมาสที่ 10 ร้อยละ 2.2 ตามการเพิ่มของดัชนีราคาหมวดซีเมนต์ (เพิ่มขึ้นร้อยละ 4.5) หมวดผลิตภัณฑ์คอนกรีต (เพิ่มขึ้นร้อยละ 2.3) และหมวดวัสดุก่อสร้างอื่น ๆ (เพิ่มขึ้นร้อยละ 3.1) เป็นสาคัญ
3 รายรับรวมจากการท่องเที่ยว คือ ผลรวมของมูลค่าบริการรับด้านการท่องเที่ยวและรายรับจากนักท่องเที่ยวชาวไทย
สาขาการขายส่งและ การขายปลีก การซ่อม ยานยนต์และจักรยานยนต์เพิ่มขึ้นต่อเนื่องเป็น ไตรมาสที่ 8 ร้อยละ 3.3 สอดคล้องกับการขยายตัวของการใช้จ่ายภาคครัวเรือน และการปรับตัวดีขึ้นของ ภาคการท่องเที่ยว
สาขาการขนส่งและสถานที่เก็บสินค้าเพิ่มขึ้นต่อเนื่องเป็นไตรมาสที่ 6 ร้อยละ 12.4 ตามการขยายตัว ในเกณฑ์สูงของบริการขนส่งทางอากาศ และการขยายตัวต่อเนื่องของบริการขนส่งทางบกและท่อลาเลียง เป็นสาคัญ
สาขาการไฟฟ้า ก๊าซ ไอน้า และระบบปรับอากาศลดลง ร้อยละ 4.2 ตามการลดลงของกิจกรรมการผลิตไฟฟ้าและกิจกรรมโรงแยกก๊าซ
สาขาการก่อสร้างเพิ่มขึ้นต่อเนื่องเป็นไตรมาสที่ 2 ร้อยละ 3.9 เร่งขึ้นจากไตรมาสก่อนหน้า ตามการเพิ่มขึ้นของทั้งการก่อสร้างภาครัฐและการก่อสร้างภาคเอกชน
ขณะที่ดัชนีราคาวัสดุก่อสร้างเพิ่มขึ้นต่อเนื่องเป็นไตรมาสที่ 10
กองยุทธศาสตร์และการวางแผนเศรษฐกิจมหภาค 15 พฤษภาคม 2566 13
Economic Outlook NESDC
ผู้มีงานทา: จานวนผู้มีงานทาเพิ่มขึ้นต่อเนื่องเป็นไตรมาสที่ 11 ตามการเพิ่มขึ้นของทั้งผู้มีงานทานอกภาคเกษตร
และผู้มีงานทาภาคเกษตร ส่วนอัตราการว่างงานอยู่ในระดับต่ากว่าไตรมาสก่อนหน้าและไตรมาสเดียวกัน
ของปีก่อน ในไตรมาสแรกของปี 2566 มีผู้มีงานทาจานวน 39.63 ล้านคน เพิ่มขึ้นร้อยละ 2.4 เร่งขึ้นจาก
การเพิ่มขึ้นร้อยละ 1.5 ในไตรมาสก่อนหน้า จาแนกเป็นผู้มีงานทาชาวไทยจานวน 36.89 ล้านคน (สัดส่วนร้อยละ
93.08) เพิ่มขึ้นร้อยละ 1.4 และผู้มีงานทาชาวต่างด้าวจานวน 2.74 ล้านคน (สัดส่วนร้อยละ 6.92) เพิ่มขึ้นร้อยละ
16.8 โดยผู้มีงานทานอกภาคเกษตร (สัดส่วนร้อยละ 70.76) เพิ่มขึ้นต่อเนื่องเป็นไตรมาสที่ 4 ร้อยละ 2.7
ตามการเพิ่มขึ้นของผู้มีงานทาใน สาขาที่พักแรมและบริการด้านอาหาร สาขาการขายส่งขายปลีกและการซ่อม
ยานยนต์ฯ และสาขาอุตสาหกรรม เป็นสาคัญ ขณะที่ผู้มีงานทาภาคเกษตร (สัดส่วนร้อยละ 29.24) กลับมา
เพิ่มขึ้นเป็นครั้งแรกในรอบ 4 ไตรมาส ร้อยละ 1.6 สอดคล้องกับการเพิ่มขึ้นของผลผลิตสินค้าเกษตรสาคัญ ๆ
หลายรายการ เช่น ข้าวเปลือก กลุ่มไม้ผล และปาล์มน้ามัน เป็นต้น สาหรับอัตราการว่างงานในไตรมาสนี้อยู่ที่
ร้อยละ 1.05 ต่ากว่าร้อยละ 1.15 ในไตรมาสก่อนหน้า และต่ากว่าร้อยละ 1.53 ในไตรมาสเดียวกันของปีก่อน
โดยมีผู้ว่างงานเฉลี่ยจานวน 4.21 แสนคน ต่ากว่าผู้ว่างงานเฉลี่ยจานวน 4.62 แสนคน ในไตรมาสก่อนหน้า
และต่ากว่าผู้ว่างงานเฉลี่ยจานวน 6.08 แสนคน ในไตรมาสเดียวกันของปีก่อน
จานวนผู้มีงานทาเพิ่มขึ้น
ตอ่ เนอื่ งเป็นไตรมาสที่ 11
ตามการเพมิ่ ขนึ้ ตอ่ เนอื่ งเป็น
ไตรมาสที่ 4 ของผู้มีงานทา
นอกภาคเกษตรและ
การกลับมาเพิ่มขึ้นครั้งแรก
ในรอบ 4 ไตรมาสของ
ผู้มีงานทาภาคเกษตร
อัตราการว่างงานอยู่ที่
ร้อยละ 1.05 ต่ากว่า
ร้อยละ 1.15 ในไตรมาส
ก่อนหน้า และต่ากว่า
ร้อยละ 1.53 ในไตรมาส
เดียวกันของปีก่อน
0.0
0.6
1.2
1.8
2.4
36.0
36.4
36.8
37.2
37.6
38.0
38.4
38.8
39.2
39.6
40.0
Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1
62 63 64 65 66
การจ้างงาน อัตราการว่างงาน (แกนขวา)
(ล้านคน) (%)
ผู้มีงานทาเพิ่มขึ้นร้อยละ 2.4 ตามการเพิ่มขึ้นของผู้มีงานทาทั้งภาคเกษตร
และนอกภาคเกษตร
อัตราการว่างงานอยู่ในระดับต่าที่ร้อยละ 1.05
ที่มา: สานักงานสถิติแห่งชาติ (สสช.)
การจ้างงานจาแนกตามสาขาการผลิต
%YOY สัดส่วน
Q1/66
2564 2565 2566
ทั้งปี ทั้งปี Q1 Q2 Q3 Q4 Q1
ผู้มีงานทารวม 100.00 3.0 1.0 0.1 0.3 2.1 1.5 2.4
- ภาคเกษตร 29.24 2.2 -1.2 2.4 -1.2 -2.4 -3.4 1.6
- นอกภาคเกษตร 70.76 3.4 2.0 -0.8 0.9 4.3 3.9 2.7
อุตสาหกรรม 15.87 3.6 1.4 -1.6 1.5 1.4 4.4 0.4
ก่อสร้าง 5.94 2.4 -3.5 -4.2 -8.5 0.4 -1.0 -1.6
สาขาการขายส่งและการขายปลีก การซ่อมยานยนต์ฯ 17.52 3.2 4.2 2.0 8.3 4.5 2.0 4.4
ที่พักแรมและบริการด้านอาหาร 7.86 0.5 0.5 -4.4 -6.1 8.3 6.6 8.2
กาลังแรงงานรวม (ล้านคน) 39.81 39.90 39.62 39.76 40.09 40.14 40.28
จานวนผู้มีงานทา (ล้านคน) 38.83 39.22 38.72 39.01 39.57 39.59 39.63
จานวนผู้ว่างงาน (ล้านคน) 0.78 0.53 0.61 0.55 0.49 0.46 0.42
อัตราการว่างงาน (%) 1.96 1.33 1.53 1.37 1.23 1.15 1.05
หมายเหตุ: ข้อมูลปี 2564 สานักงานสถิติแห่งชาติ ได้มีการปรับปรุงการประมวลผลข้อมูลจานวนผู้อยู่ในกาลังแรงงานที่มีอายุ 15 ปีขึ้นไป
ผ่านการปรับค่าถ่วงน้าหนักให้สอดคล้องกับปัจจุบัน
ที่มา: สานักงานสถิติแห่งชาติ
สถานการณ์ด้านแรงงานในระบบประกันสังคม: จานวนผู้ประกันตนในระบบประกันสังคมเพิ่มขึ้นต่อเนื่อง
เป็นไตรมาสที่ 8 ในขณะที่สัดส่วนผู้ประกันตนที่ได้รับประโยชน์กรณีว่างงานตามมาตรา 33 สูงกว่าไตรมาสก่อน
หน้า แต่ต่ากว่าไตรมาสเดียวกันของปีก่อน ในไตรมาสแรกของปี 2566 ผู้ประกันตนในระบบประกันสังคมรวม
เพิ่มขึ้นต่อเนื่องเป็นไตรมาสที่ 8 ร้อยละ 2.3 ประกอบด้วย ผู้ประกันตนภาคบังคับตามมาตรา 33 เพิ่มขึ้น
ร้อยละ 4.1 เทียบกับร้อยละ 4.5 ในไตรมาสก่อนหน้า ตามการเพิ่มขึ้นของผู้ประกันตนในภาคอุตสาหกรรมและ
ภาคบริการ (อาทิ สาขาที่พักแรมและบริการด้านอาหาร สาขาการขายส่งขายปลีกและการซ่อมยานยนต์ฯ และสาขา
อุตสาหกรรม เป็นต้น) และผู้ประกันตนตามความสมัครใจ (มาตรา 40) เพิ่มขึ้นร้อยละ 1.3 ชะลอลงเมื่อเทียบกับ
การเพิ่มขึ้นร้อยละ 2.0 ในไตรมาสก่อนหน้า ในขณะที่ผู้ประกันตนตามความสมัครใจ (มาตรา 39) ลดลงต่อเนื่องเป็น
ไตรมาสที่ 3 ร้อยละ 2.8 สาหรับสัดส่วนผู้ประกันตนที่ได้รับประโยชน์กรณีว่างงานตามมาตรา 33 ในไตรมาสนี้อยู่ที่
ร้อยละ 1.9 สูงกว่าร้อยละ 1.7 ในไตรมาสก่อนหน้า แต่ต่ากว่าร้อยละ 2.7 ในไตรมาสเดียวกันของปีก่อน
โดยมีผู้ประกันตนที่ได้รับประโยชน์กรณีว่างงานตามมาตรา 33 เฉลี่ยจานวน 2.27 แสนคน สูงกว่าจานวน 1.97
แสนคน ในไตรมาสก่อนหน้า แต่ต่ากว่าจานวน 3.06 แสนคน ในไตรมาสเดียวกันของปีก่อน
จานวนผู้ประกันตน
ในระบบประกันสังคม
เพิ่มขึ้นต่อเนื่องเป็น
ไตรมาสที่ 8 ร้อยละ 2.3
ตามการเพิ่มขึ้นของ
ผู้ประกันตนภาคบังคับ
ตามมาตรา 33
และผู้ประกันตนตาม
ความสมัครใจ มาตรา 40
ในขณะที่ผู้ประกันตนตาม
ความสมัครใจ มาตรา 39
ลดลงอย่างต่อเนื่องเป็น
ไตรมาสที่ 3
สัดส่วนผู้ประกันตน
ที่ได้รับประโยชน์กรณี
ว่างงานตามมาตรา 33
อยู่ที่ร้อยละ 1.9 สูงกว่า
ร้อยละ 1.7 ในไตรมาส
ก่อนหน้า แต่ต่ากว่า
ร้อยละ 2.7 ในไตรมาส
เดียวกันของปีก่อน
กองยุทธศาสตร์และการวางแผนเศรษฐกิจมหภาค 15 พฤษภาคม 2566 14
Economic Outlook NESDC
การจัดเก็บรายได้รัฐบาล ในไตรมาสที่สองของปีงบประมาณ 2566 (มกราคม - มีนาคม 2566) รัฐบาลจัดเก็บ
รายได้สุทธิ 523,702.6 ล้านบาท ลดลงจากไตรมาสเดียวกันของปีก่อนร้อยละ 1.1 โดยเป็นผลจากการจัดเก็บรายได้
ของกรมสรรพสามิตที่ลดลงร้อยละ 15.0 เนื่องจากการดาเนินมาตรการปรับลดอัตราภาษีสรรพสามิตสาหรับ
น้ามันดีเซลลิตรละ 5 บาท ในระหว่างวันที่ 21 มกราคม - 20 พฤษภาคม 2566 และมาตรการปรับลดอัตรา
ภาษีสรรพสามิตน้ามันเชื้อเพลิงสาหรับเครื่องบินไอพ่นที่ใช้ในประเทศจากลิตรละ 4.726 บาท เป็นลิตรละ
0.200 บาท ในระหว่างวันที่ 1 มกราคม - 30 มิถุนายน 2566 เพื่อบรรเทาความเดือดร้อนของประชาชนจาก
ราคาน้ามันดิบในตลาดโลกที่ปรับตัวสูงขึ้น รวมทั้งการคืนภาษีมูลค่าเพิ่ม และภาษีอื่น ๆ (ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา
ภาษีเงินได้นิติบุคคล ภาษีธุรกิจเฉพาะ ภาษีการรับมรดก และอากรแสตมป์) ของกรมสรรพากรที่เพิ่มขึ้นจากไตรมาส
เดียวกันของปีก่อนร้อยละ 26.1 อย่างไรก็ดี การจัดเก็บรายได้ของกรมสรรพากรเพิ่มขึ้นจากไตรมาสเดียวกันของปีก่อน
ร้อยละ 6.3 โดยเฉพาะการจัดเก็บภาษีเงินได้นิติบุคคล ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา และภาษีมูลค่าเพิ่มที่ปรับตัว
เพิ่มขึ้นตามการขยายตัวของเศรษฐกิจ และการจัดเก็บรายได้ของกรมศุลกากรเพิ่มขึ้นจากไตรมาสเดียวกันของ
ปีก่อนร้อยละ 11.3 เนื่องจากการจัดเก็บอากรขาเข้าเพิ่มขึ้นตามการขยายตัวของการนาเข้าสินค้า
รวม 6 เดือนแรกของปีงบประมาณ 2566 รัฐบาลจัดเก็บรายได้สุทธิ 1,163,597.9 ล้านบาท สูงกว่าช่วงเดียวกัน
ของปีก่อนร้อยละ 6.9 และสูงกว่าประมาณการรายได้ในเอกสารงบประมาณร้อยละ 8.9 โดยการจัดเก็บรายได้
ของกรมสรรพากร การนาส่งรายได้ของส่วนราชการอื่น การนาส่งรายได้ของรัฐวิสาหกิจ และกรมศุลกากร สูงกว่า
ประมาณการในเอกสารงบประมาณ ร้อยละ 11.6 ร้อยละ 60.5 ร้อยละ 22.9 และร้อยละ 27.7 ตามลาดับ
ซึ่งเป็นผลมาจาก (1) กรมสรรพากรจัดเก็บภาษีเงินได้นิติบุคคล ภาษีมูลค่าเพิ่ม และภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา
สูงกว่าประมาณการ เนื่องจากการปรับตัวดีขึ้นของเศรษฐกิจ (2) ส่วนราชการอื่นมีรายได้พิเศษจากการนาส่งทุน
หรือผลกาไรส่วนเกินของทุนหมุนเวียน รายได้จากสัมปทานโทรศัพท์เคลื่อนที่ และรายได้จากการประมูล
ใบอนุญาตคลื่นความถี่วิทยุระบบ FM (3) รัฐวิสาหกิจมีการนาส่งรายได้เหลื่อมจากปีงบประมาณก่อนหน้า
และ (4) กรมศุลกากรจัดเก็บอากรขาเข้าสูงกว่าประมาณการ เนื่องจากมูลค่าการนาเข้าขยายตัวในเกณฑ์ดี ประกอบ
กับมีการชาระอากรขาเข้าย้อนหลังตามคาพิพากษาคดี อย่างไรก็ดี การจัดเก็บรายได้ของกรมสรรพสามิตต่ากว่า
ประมาณการเนื่องจากการปรับลดอัตราภาษีสรรพสามิตน้ามันดีเซลเพื่อบรรเทาผลกระทบต่อค่าครองชีพของ
0.0
1.0
2.0
3.0
4.0
5.0
10
11
12
Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1
62 63 64 65 66
จานวนผู้ประกันตนภาคบังคับ สัดส่วนผู้ใช้บริการ กรณีว่างงาน (แกนขวา)
จานวนผู้ประกันตนภาคบังคับ 11.7 ล้านคน
และสัดส่วนผู้ใช้บริการกรณีว่างงานอยู่ที่ร้อยละ 1.9
ที่มา: สานักงานประกันสังคม กระทรวงแรงงาน
(ล้านคน) (%)
จานวนผู้ประกันตน (ม.33 ม.39 และม.40) และผู้ประกันตนที่ได้รับประโยชน์กรณีว่างงานจาก ม.33
จานวน (พันคน) 2564 2565 2566
ทั้งปี ทั้งปี Q1 Q2 Q3 Q4 Q1
ผู้ประกันตนภาคบังคับ (ม.33)1/ 11,137 11,638 11,234 11,313 11,462 11,638 11,689
ผู้ประกันตนตามความสมัครใจ (ม.39)2/ 1,939 1,880 1,920 1,902 1,899 1,880 1,866
ผู้ประกันตนตามความสมัครใจ (ม.40)3/ 10,665 10,881 10,767 10,812 10,855 10,881 10,911
รวมผู้ประกันตน (ม.33 ม.39 และม.40) 23,741 24,399 23,920 24,027 24,216 24,399 24,466
ผู้ประกันตนที่ได้รับประโยชน์กรณีว่างงานจาก ม.33 253 197 306 245 228 197 227
สัดส่วนผู้ประกันตนที่ได้รับประโยชน์กรณีว่างงานจาก ม.33 (ร้อยละ) 2.3 1.7 2.7 2.2 2.0 1.7 1.9
ที่มา: สานักงานประกันสังคม กระทรวงแรงงาน
หมายเหตุ: 1/ ผปู้ ระกันตนภาคบังคบั (ม.33) คอื พนักงานบริษัทเอกชนทวั่ ไป ซงึ่ มสี ถานะเป็นลกู จา งทที่ งานอยใ นสถานประกอบการทมี่ พี นักงานตงั้ แต่ 1 คนขนึ้ ไป
อายุไม่ต่ากว่า 15 ปี และไม่เกิน 60 ปี
2/ ผปู้ ระกันตนภาคสมคั รใจ (ม.39) คอื บุคคลทเ คยทางานอยใ นบริษัทเอกชนในมาตรา 33 มาก่อนแลว้ ลาออกแตต่ อ้ งการรักษาสทิ ธปิ ระกันสงั คมไวจ้ งึ
สมัครเข้าใช้สิทธิประกันสังคม ในมาตรา 39 แทน
3/ ผปู้ ระกันตนภาคสมคั รใจ (ม.40) คอื ผปู้ ระกันตนในมาตรา 40 นี้ คอื บุคคลทไ มไ ดเ ป็นลกู จา งในบริษัทเอกชนตามมาตรา 33 และไมเ คยสมคั รเป็น
ผปู้ ระกันตนในมาตรา 39 ผทู้ จี่ สมคั รประกันสงั คมในมาตรา 40 ไดน้ นั้ ตอ้ งเป็นผทู้ ปี่ ระกอบอาชพี อิสระหรือแรงงานนอกระบบ มอี ยุไมต่ กวา 15 ปี
แต่ไม่เกิน 60 ปี
ด้านการคลัง
การจัดเก็บรายได้รัฐบาล
ในไตรมาสที่สอง
ปีงบประมาณ 2566
ลดลงร้อยละ 1.1
เนื่องจากการดาเนิน
มาตรการปรับลดอัตรา
ภาษีสรรพสามิตสาหรับ
น้ามันดีเซล และการคืน
ภาษีของกรมสรรพากร
ที่เพิ่มขึ้น เป็นสาคัญ
รวม 6 เดือนแรก
ปีงบประมาณ 2566
การจัดเก็บรายได้รัฐบาล
สูงกว่าช่วงเดียวกันของ
ปีก่อนและสูงกว่าประมาณ
การร้อยละ 6.9 และ
ร้อยละ 8.9 ตามลาดับ
กองยุทธศาสตร์และการวางแผนเศรษฐกิจมหภาค 15 พฤษภาคม 2566 15
Economic Outlook NESDC
ประชาชนเป็นการชั่วคราวจากราคาน้ามันดิบในตลาดโลกที่ทรงตัวอยู่ในระดับสูง ทั้งนี้ หากไม่รวมรายได้พิเศษ
ของส่วนราชการอื่นและกรมศุลกากร ผลการจัดเก็บรายได้รัฐบาลสุทธิสูงกว่าช่วงเดียวกันของปีก่อนร้อยละ 3.8
และสูงกว่าประมาณการตามเอกสารงบประมาณร้อยละ 5.8
การใช้จ่ายของรัฐบาล ในไตรมาสที่สองของปีงบประมาณ 2566 รัฐบาลมีการเบิกจ่ายงบประมาณทั้งสิ้น
794,410.2 ล้านบาท4 ลดลงจากไตรมาสเดียวกันของปีก่อนร้อยละ 4.1 แบ่งเป็น (1) การเบิกจ่ายงบประมาณ
รายจ่ายประจาปี 2566 จานวน 709,722.8 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจากไตรมาสเดียวกันของปีงบประมาณก่อน
ร้อยละ 17.0 โดยอัตราการเบิกจ่ายอยู่ที่ร้อยละ 22.3 จาแนกเป็น (i) รายจ่ายประจา 600,523.2 ล้านบาท
เพิ่มขึ้นจากช่วงเดียวกันของปีก่อนร้อยละ 16.5 เป็นผลมาจากการเบิกจ่ายในหมวดเงินอุดหนุนทั่วไป
และงบรายจ่ายอื่น โดยมีอัตราการเบิกจ่ายร้อยละ 23.7 ซึ่งสูงกว่าร้อยละ 20.3 ในไตรมาสเดียวกันของปีก่อน
และ (ii) รายจ่ายลงทุน 109,199.7 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจากช่วงเดียวกันของปีก่อนร้อยละ 19.9 เป็นผลมาจาก
การเบิกจ่ายในหมวดที่ดินและสิ่งก่อสร้าง โดยมีอัตราการเบิกจ่ายร้อยละ 16.7 ซึ่งสูงกว่าร้อยละ 16.1 ในไตรมาส
เดียวกันของปีก่อน (2) การเบิกจ่ายงบประมาณกันไว้เบิกเหลื่อมปี 44,520.6 ล้านบาท ลดลงจากไตรมาส
เดียวกันของปีก่อนร้อยละ 22.7 โดยมีอัตราการเบิกจ่ายอยู่ที่ร้อยละ 23.4 และ (3) การเบิกจ่ายงบลงทุน
รัฐวิสาหกิจ (ไม่รวมบริษัท ปตท. จากัด (มหาชน)) จานวน 54,448.4 ล้านบาท5 ลดลงจากไตรมาสเดียวกัน
ของปีก่อนร้อยละ 0.9 โดยเป็นผลมาจากการเบิกจ่ายที่ลดลงของการรถไฟแห่งประเทศไทย และการไฟฟ้าส่วนภูมิภาค
เป็นสาคัญ
การใช้จ่ายของรัฐบาล
ในไตรมาสที่สอง
ปีงบประมาณ 2566
ลดลงร้อยละ 4.1
โดยเป็นผลจากการ
เบิกจ่ายเงินกู้ภายใต้
พ.ร.ก. กู้เงินโควิด-19
งบประมาณกันไว้เบิก
เหลื่อมปี และ
งบลงทุนรัฐวิสาหกิจ
4 การใช้จ่ายของรัฐบาล ประกอบด้วย (1) งบประมาณรายจ่ายประจาปี (2) งบประมาณกันไว้เบิกเหลื่อมปี (3) งบลงทุนรัฐวิสาหกิจโดยไม่รวมบริษทั ปตท. จากัด
(มหาชน) และรายจ่ายลงทุนรัฐวิสาหกิจที่ได้รับการจัดสรรจากงบประมาณรายจ่ายประจาปีและงบประมาณกันไว้เบิกเหลื่อมปี และ (4) เงินกู้ภายใต้ พ.ร.ก. กู้เงิน
โควิด-19 วงเงินรวม 1.5 ล้านล้านบาท โดยการเบิกจ่ายเงินกู้ภายใต้ พ.ร.ก. กู้เงินโควิด-19 ในไตรมาสที่สองของปีงบประมาณ 2566 มีการปรับปรุงยอดการเบิกจ่าย
จานวน -2,652.1 ล้านบาท
5 รวมรายจ่ายลงทุนรัฐวิสาหกิจที่ได้รับการจัดสรรจากงบประมาณรายจ่ายประจาปีและงบประมาณกันไว้เบิกเหลื่อมปี จานวน 11,629.5 ล้านบาท
6 รวมรายจ่ายลงทุนรัฐวิสาหกิจที่ได้รับการจัดสรรจากงบประมาณรายจ่ายประจาปีและงบประมาณกันไว้เบิกเหลื่อมปี จานวน 18,244.1 ล้านบาท
-40
-20
0
20
40
60
80
100
-400,000
-200,000
0
200,000
400,000
600,000
800,000
1,000,000
1,200,000
Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2
61 62 63 64 65 66
ล้านบาท ร้อยละ
ที่มา: GFMIS
การเบิกจ่ายงบประมาณรายจ่ายประจาปี
รายจ่ายลงทุน (แกนซ้าย)
รายจ่ายประจา (แกนซ้าย)
อัตราการขยายตัวของการเบิกจ่ายรวม (แกนขวา)
รวม 6 เดือนแรกของปีงบประมาณ 2566 มีการเบิกจ่ายงบประมาณภาครัฐรวม 1,936,481.6 ล้านบาท
ลดลงจากช่วงเดียวกันของปีก่อนร้อยละ 8.8 ประกอบด้วย (1) การเบิกจ่ายจากงบประมาณรายจ่ายประจาปี
2566 จานวน 1,691,883.3 ล้านบาท โดยมีอัตราการเบิกจ่ายสะสมร้อยละ 53.1 สูงกว่าร้อยละ 51.3 ในช่วง
เดียวกันของปีก่อน) แบ่งเป็น (i) รายจ่ายประจา 1,459,215.4 ล้านบาท (อัตราการเบิกจ่ายร้อยละ 57.7 สูงกว่า
ร้อยละ 55.3 ในช่วงเดียวกันของปีก่อน) และ (ii) รายจ่ายลงทุน 232,667.9 ล้านบาท (อัตราการเบิกจ่ายร้อยละ
35.5 สูงกว่าร้อยละ 33.3 ในช่วงเดียวกันของปีก่อน) (2) การเบิกจ่ายงบประมาณกันไว้เบิกเหลื่อมปี จานวน
103,446.2 ล้านบาท โดยมีอัตราการเบิกจ่ายสะสมร้อยละ 54.3 (3) การเบิกจ่ายงบลงทุนรัฐวิสาหกิจ
(ไม่รวมบริษัท ปตท. จากัด (มหาชน)) จานวน 110,697.2 ล้านบาท6 ทั้งนี้ รัฐวิสาหกิจที่มีการเบิกจ่ายงบลงทุน
สูงสุด 5 อันดับแรก ได้แก่ การรถไฟแห่งประเทศไทย การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค การไฟฟ้าฝายผลิตแห่งประเทศไทย
การไฟฟ้านครหลวง และการรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนแห่งประเทศไทย ตามลาดับ และ (4) การเบิกจ่ายเงินกู้
ภายใต้ พ.ร.ก. กู้เงินโควิด-19 พ.ศ. 2563 - 2564 (วงเงิน 1.5 ล้านล้านบาท) จานวน 48,698.9 ล้านบาท
รวม 6 เดือนแรก
ปีงบประมาณ 2566
การใช้จ่ายของรัฐบาล
ลดลงร้อยละ 8.8
โดยเป็นผลจากการเบิกจ่าย
เงินกู้ภายใต้ พ.ร.ก. กู้เงิน
โควิด-19 งบประมาณกันไว้
เบิกเหลื่อมปี และ
งบลงทุนรัฐวิสาหกิจ
รวม 6 เดือนแรก
ปีงบประมาณ 2566
อัตราการเบิกจ่าย
งบประมาณรายจ่าย
ประจาปีสะสมร้อยละ
53.1 โดยมีอัตราเบิกจ่าย
รายจ่ายประจาและ
รายจ่ายลงทุนอยู่ที่ร้อยละ
57.7 และร้อยละ 35.5
ตามลาดับ
22.3
16.7
0
5
10
15
20
25
30
35
Q2-56 Q2-57 Q2-58 Q2-59 Q2-60 Q2-61 Q2-62 Q2-63 Q2-64 Q2-65 Q2-66
ร้อยละ
ที่มา: GFMIS
อัตราการเบิกจ่ายงบประมาณรายจ่ายประจาปีในไตรมาสที่สอง
เทียบกับอัตราการเบิกจ่ายเฉลี่ย
อัตราการเบิกจ่ายรวม อัตราการเบิกจ่ายรายจ่ายลงทุน
อัตราการเบิกจ่ายรวมเฉลี่ย อัตราการเบิกจ่ายรายจ่ายลงทุนเฉลี่ย
เฉลี่ย = 21.0
เฉลี่ย = 16.4
กองยุทธศาสตร์และการวางแผนเศรษฐกิจมหภาค 15 พฤษภาคม 2566 16
Economic Outlook NESDC
หนี้สาธารณะคงค้าง ณ สิ้นเดือนมีนาคม 2566 มีมูลค่าทั้งสิ้น 10,797,505.5 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 61.2
ของ GDP ประกอบด้วย เงินกู้ภายในประเทศ 10,621,914.5 ล้านบาท (ร้อยละ 60.2 ของ GDP) และเงินกู้จาก
ต่างประเทศ 175,591.0 ล้านบาท (ร้อยละ 1.0 ของ GDP) โดยแบ่งเป็นหนี้ของรัฐบาล 9,475,655.3 ล้านบาท
หนี้รัฐวิสาหกิจที่ไม่เป็นสถาบันการเงิน 1,060,086.9 ล้านบาท หนี้รัฐวิสาหกิจที่เป็นสถาบันการเงิน (รัฐบาล
ค้าประกัน) 225,531.3 ล้านบาท และหนี้หน่วยงานอื่นของรัฐ 36,232.0 ล้านบาท ซึ่งคิดเป็นร้อยละ 87.8 ร้อยละ
9.8 ร้อยละ 2.1 และร้อยละ 0.3 ของหนี้สาธารณะคงค้าง ตามลาดับ
ฐานะการคลัง: ในไตรมาสที่สองของปีงบประมาณ 2566 รัฐบาลขาดดุลงบประมาณ 227,491 ล้านบาท
เมื่อรวมกับการขาดดุลเงินนอกงบประมาณ 24,450 ล้านบาท และการกู้เงินเพื่อชดเชยการขาดดุล 73,400
ล้านบาท ทาให้รัฐบาลขาดดุลเงินสดสุทธิ 178,541 ล้านบาท และเมื่อรวมกับเงินคงคลัง ณ สิ้นไตรมาสแรกของ
ปีงบประมาณ 2566 จานวน 372,126 ล้านบาท ส่งผลให้ฐานะเงินคงคลัง ณ สิ้นเดือนมีนาคม 2566 มีจานวน
ทั้งสิ้น 193,585 ล้านบาท
รวม 6 เดือนแรกของปีงบประมาณ 2566 รัฐบาลมีการขาดดุลงบประมาณ 629,088 ล้านบาท เมื่อรวมกับ
การขาดดุลเงินนอกงบประมาณ 95,851 ล้านบาท และมีการกู้เงินเพื่อชดเชยการขาดดุล 294,505 ล้านบาท
ส่งผลให้รัฐบาลยังคงขาดดุลเงินสดหลังกู้สุทธิ 430,434 ล้านบาท
0
10
20
30
40
50
60
70
0
2,000
4,000
6,000
8,000
10,000
12,000
Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2
61 62 63 64 65 66
พันล้านบาท ร้อยละ
ที่มา: สานักงานบริหารหนี้สาธารณะ
หนี้สาธารณะคงค้าง
หนี้ในประเทศ หนี้ต่างประเทศ หนี้สาธารณะคงค้าง ต่อ GDP (แกนขวา)
0
50,000
100,000
150,000
200,000
250,000
300,000
350,000
400,000
0
100,000
200,000
300,000
400,000
500,000
600,000
700,000
Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2
61 62 63 64 65 66
ที่มา: กระทรวงการคลัง
สถานะเงินคงคลัง
สถานะเงินคงคลัง ณ สิ้นงวด (แกนซ้าย)
กู้เพื่อชดเชยการขาดดุล (แกนขวา)
ล้านบาท ล้านบาท
ฐานะเงินคงคลัง
ณ สิ้นเดือนมีนาคม
2566 มีจานวนทั้งสิ้น
193,585 ล้านบาท
ภาวะการเงิน
ในไตรมาสแรกของปี 2566 อัตราดอกเบี้ยนโยบายของไทยเพิ่มขึ้นเป็นร้อยละ 1.75 ต่อปี
คณะกรรมการนโยบายการเงิน (กนง.) ในการประชุมครั้งที่ 1/2566 เมื่อวันที่ 25 มกราคม 2566 และการประชุม
ครั้งที่ 2/2566 เมื่อวันที่ 29 มีนาคม 2566 มีมติปรับขึ้นอัตราดอกเบี้ยนโยบายครั้งละร้อยละ 0.25 ต่อปี ทาให้
อัตราดอกเบี้ยนโยบายเพิ่มขึ้นจากร้อยละ 1.25 ต่อปี เป็นร้อยละ 1.75 ต่อปี โดย กนง. ประเมินว่าเศรษฐกิจ
ไทยมีแนวโน้มฟื้นตัวต่อเนื่อง จากจานวนนักท่องเที่ยวต่างชาติที่เพิ่มขึ้น รวมทั้งการฟื้นตัวของการบริโภค
ภาคเอกชน ตามการปรับตัวดีขึ้นของการจ้างงานและรายได้ภาคแรงงาน ขณะที่ภาคการส่งออกคาดว่าจะฟื้นตัว
ชัดเจนในช่วงครึ่งหลังของปี อย่างไรก็ดี ภาวะเศรษฐกิจไทยยังมีความเสี่ยงจากความไม่แน่นอนของเศรษฐกิจ
โลกที่อัตราเงินเฟ้อยังอยู่ในระดับสูง และปัญหาสถาบันการเงินในประเทศเศรษฐกิจหลัก ส่วนอัตราเงินเฟ้อ
ทั่วไปของไทยมีแนวโน้มเข้าสู่กรอบเป้าหมายได้ในช่วงกลางปี 2566 แต่อัตราเงินเฟ้อพื้นฐานยังทรงตัว
ในระดับสูงจากการส่งผ่านต้นทุน ทั้งนี้ การดาเนินนโยบายการเงินของไทย สอดคล้องกับประเทศในภูมิภาคและ
ประเทศเศรษฐกิจหลักซึ่งธนาคารกลางสหรัฐฯ ปรับขึ้นอัตราดอกเบี้ยนโยบายเป็นร้อยละ 4.75 - 5.00 ต่อปี
สหภาพยุโรปปรับเพิ่มเป็นร้อยละ 3.50 ต่อปี และธนาคารกลางอังกฤษเพิ่มเป็นร้อยละ 4.25 ต่อปี รวมทั้ง
ธนาคารกลางอินเดีย แคนาดา เกาหลีใต้ ออสเตรเลีย อินโดนีเซีย ฟิลิปปินส์ และนิวซีแลนด์ ปรับขึ้นอัตรา
ดอกเบี้ยนโยบายเป็นร้อยละ 6.50 ร้อยละ 4.50 ร้อยละ 3.50 ร้อยละ 3.60 ร้อยละ 5.75 ร้อยละ 6.75 และ
ร้อยละ 4.75 ต่อปี ตามลาดับ ขณะที่ธนาคารกลางญี่ปุ น จีน รัสเซีย และมาเลเซีย คงอัตราดอกเบี้ยนโยบายไว้
ที่ระดับร้อยละ (-0.10) ร้อยละ 3.65 ร้อยละ 7.50 และร้อยละ 2.75 ต่อปี ตามลาดับ ส่วนธนาคารกลาง
เวียดนามปรับลดอัตราดอกเบี้ยนโยบายลงร้อยละ 1.00 มาอยู่ที่ร้อยละ 3.50 เพื่อสนับสนุนการขยายตัวของ
เศรษฐกิจภายในประเทศ
ในเดือนเมษายน 2566 ธนาคารกลางนิวซีแลนด์ปรับขึ้นอัตราดอกเบี้ยนโยบายเป็นร้อยละ 5.25 ต่อปี
ล่าสุดเดือนพฤษภาคม 2566 ธนาคารกลางสหรัฐฯ สหภาพยุโรป และออสเตรเลีย ปรับขึ้นอัตราดอกเบี้ย
นโยบายเป็นร้อยละ 5.00 - 5.25 ร้อยละ 3.75 และร้อยละ 3.85 ต่อปี ตามลาดับ
ธนาคารแห่งประเทศไทย
ปรับขึ้นอัตราดอกเบี้ย
นโยบายต่อเนื่อง
สอดคล้องกับทิศทาง
การดาเนินนโยบายการเงิน
ของประเทศเศรษฐกิจหลัก
และประเทศส่วนใหญ่
ในภูมิภาค
หนี้สาธารณะคงค้าง
ณ สิ้นเดือนมีนาคม
2566 อยู่ที่ร้อยละ 61.2
ของ GDP
17
กองยุทธศาสตร์และการวางแผนเศรษฐกิจมหภาค
15 พฤษภาคม 2566
NESDC
Economic Outlook
ธนาคารพาณิชย์ขนาดใหญ่ ธนาคารพาณิชย์ขนาดกลาง และสถาบันการเงินเฉพาะกิจ (SFIs) ปรับขึ้นอัตราดอกเบี้ยเงินฝากและอัตราดอกเบี้ยเงินกู้ สอดคล้องกับทิศทางของอัตราดอกเบี้ยนโยบาย โดยธนาคารพาณิชย์ขนาดใหญ่ ขนาดกลาง และสถาบันการเงินเฉพาะกิจ ปรับขึ้นอัตราดอกเบี้ยเงินฝากประจา 12 เดือน เป็นร้อยละ 1.15 ร้อยละ 0.83 และร้อยละ 1.15 เทียบกับร้อยละ 0.98 ร้อยละ 0.73 และร้อยละ 1.05 ต่อปี ในไตรมาสก่อนหน้า ตามลาดับ สอดคล้องกับอัตราดอกเบี้ยเงินให้กู้ยืมแก่ลูกค้ารายใหญ่ชั้นดี (MLR) ที่เพิ่มขึ้นเป็นร้อยละ 6.56 ร้อยละ 7.70 และร้อยละ 5.84 เทียบกับร้อยละ 6.00 ร้อยละ 7.00 และร้อยละ 5.59 ต่อปี ในไตรมาสก่อนหน้า ตามลาดับ สาหรับอัตราดอกเบี้ยเงินฝากและเงินกู้ที่แท้จริงเพิ่มขึ้นจากไตรมาสที่แล้ว ตามการปรับขึ้นอัตราดอกเบี้ยเงินฝากและเงินกู้ และการชะลอตัวลงของอัตราเงินเฟ้อทั่วไป
ในเดือนเมษายน 2566 ธนาคารพาณิชย์และสถาบันการเงินเฉพาะกิจปรับขึ้นอัตราดอกเบี้ยเงินฝากและอัตราดอกเบี้ยเงินกู้ต่อเนื่องจากในช่วงไตรมาสแรกของปี 2566 โดยอัตราดอกเบี้ยเงินฝากและเงินกู้เฉลี่ยของธนาคารพาณิชย์ขนาดใหญ่เพิ่มขึ้นเป็นร้อยละ 1.31 และร้อยละ 6.80 ต่อปี ธนาคารพาณิชย์ขนาดกลางเพิ่มขึ้นเป็นร้อยละ 1.22 และร้อยละ 7.83 ต่อปี และสถาบันการเงินเฉพาะกิจเพิ่มขึ้นเป็นร้อยละ 1.32 และร้อยละ 6.09 ต่อปี ตามลาดับ
สินเชื่อคงค้างภาคเอกชนในระบบธนาคารพาณิชย์ชะลอตัวลงจากไตรมาสก่อนหน้า ณ สิ้นไตรมาสแรกของปี 2566 ยอดสินเชื่อคงค้างภาคเอกชนในระบบธนาคารพาณิชย์ขยายตัวร้อยละ 0.3 ชะลอตัวจากร้อยละ 1.4 ในไตรมาสก่อนหน้า เนื่องจากการลดลงของสินเชื่อภาคธุรกิจร้อยละ 0.3 เทียบกับการขยายตัวร้อยละ 1.6 ในไตรมาสก่อนหน้า ส่วนหนึ่งเป็นผลมาจาก (1) ธุรกิจขนาดใหญ่บางรายมีการชาระคืนสินเชื่อ (2) กิจกรรม การผลิตเพื่อการส่งออกชะลอตัวลงตามภาวะเศรษฐกิจของประเทศคู่ค้า และ (3) ผู้ประกอบการชะลอการลงทุนในช่วงความไม่แน่นอนของเศรษฐกิจโลกและรอความชัดเจนเกี่ยวกับทิศทางนโยบายเศรษฐกิจของรัฐบาลภายหลังการเลือกตั้ง ในส่วนของสาขาสาคัญ ๆ ที่สินเชื่อปรับตัวลดลง ประกอบด้วย (1) สาขาการผลิต โดยเฉพาะสินเชื่อเพื่อการผลิตเคมีภัณฑ์และผลิตภัณฑ์เคมี การผลิตเครื่องดื่มที่ไม่มีแอลกอฮอล์ น้าแร่และ น้าดื่มบรรจุขวดประเภทอื่น ๆ การผลิตโลหะขั้นมูลฐาน และการผลิตยานยนต์ รถพ่วง และรถกึ่งพ่วง (2) สาขาที่พักแรมและบริการด้านอาหาร และ (3) สาขาการขายส่งและการขายปลีก การซ่อมยานยนต์และจักรยานยนต์ ขณะที่สินเชื่อสาขาการผลิตผลิตภัณฑ์อาหาร กิจกรรมอสังหาริมทรัพย์ สาขาก่อสร้าง สาขาไฟฟ้า ก๊าซ ไอน้า และระบบปรับอากาศ ปรับตัวเพิ่มขึ้น
สาหรับสินเชื่อภาคครัวเรือน ขยายตัวร้อยละ 0.9 ชะลอลงจากร้อยละ 1.2 ในไตรมาสก่อนหน้า ตามการชะลอตัวของสินเชื่อเพื่อการซื้อหรือเช่าซื้อรถยนต์และรถจักรยานยนต์ และสินเชื่อเพื่อการจัดหาที่อยู่อาศัย ส่วนหนึ่งเป็นผลจากต้นทุนทางการเงินที่เพิ่มสูงขึ้น รวมทั้งการสิ้นสุดลงของมาตรการผ่อนคลายหลักเกณฑ์การกากับดูแลสินเชื่อเพื่อที่อยู่อาศัยและสินเชื่ออื่นที่เกี่ยวข้องกับที่อยู่อาศัย (LTV)
สาหรับสินเชื่อภาคเอกชนของสถาบันการเงินเฉพาะกิจ ในไตรมาสแรกของปี 2566 สินเชื่อภาคเอกชน ในระบบสถาบันการเงินเฉพาะกิจขยายตัวร้อยละ 3.9 เร่งขึ้นจากร้อยละ 3.5 ในไตรมาสก่อนหน้า ตามการเร่งตัวขึ้นของทั้งสินเชื่อธุรกิจ สินเชื่อภาคครัวเรือน และสินเชื่อตามนโยบายรัฐที่ขยายตัวร้อยละ 8.7 ร้อยละ 3.5 และร้อยละ 3.5 เทียบกับร้อยละ 6.2 ร้อยละ 3.3 และร้อยละ 3.1 ในไตรมาสก่อนหน้า ตามลาดับ ส่วนหนึ่งเป็นผลจากการปรับขึ้นอัตราดอกเบี้ยที่ช้ากว่าธนาคารพาณิชย์
อัตราดอกเบี้ยนโยบาย
(ร้อยละ) ณ สิ้นงวด
2564
2565
2566
ทั้งปี
ทั้งปี
Q1
Q2
Q3
Q4
ก.พ.
มี.ค.
Q1
ม.ค.
เม.ย.
พ.ค.
สหรัฐฯ
0.00-0.25
4.25-4.50
0.25-0.50
1.50-1.75
3.00-3.25
4.25-4.50
4.50-4.75
4.75-5.00
4.75-5.00
4.25-4.50
4.75-5.00
5.00-5.25
สหภาพยุโรป
0.00
2.50
0.00
0.00
1.25
2.50
3.00
3.50
3.50
2.50
3.50
3.75
อังกฤษ
0.25
3.50
0.75
1.25
2.25
3.50
4.00
4.25
4.25
3.50
4.25
4.25
อินเดีย
4.00
6.25
4.00
4.90
5.90
6.25
6.50
6.50
6.50
6.25
6.50
6.50
แคนาคา
0.25
4.25
0.50
1.50
3.25
4.25
4.50
4.50
4.50
4.50
4.50
4.50
เกาหลีใต้
1.00
3.25
1.25
1.75
2.50
3.25
3.50
3.50
3.50
3.50
3.50
3.50
บราซิล
9.25
13.75
11.75
13.25
13.75
13.75
13.75
13.75
13.75
13.75
13.75
13.75
ออสเตรเลีย
0.10
3.10
0.10
0.85
2.35
3.10
3.35
3.60
3.60
3.10
3.60
3.85
อินโดนีเซีย
3.50
5.50
3.50
3.50
4.25
5.50
5.75
5.75
5.75
5.75
5.75
5.75
ไทย
0.50
1.25
0.50
0.50
1.00
1.25
1.50
1.75
1.75
1.50
1.75
1.75
ฟิลิปปินส์
2.50
6.00
2.50
3.00
4.25
6.00
6.50
6.75
6.75
6.00
6.75
6.75
มาเลเซีย
1.75
2.75
1.75
2.00
2.50
2.75
2.75
2.75
2.75
2.75
2.75
2.75
เวียดนาม
2.50
4.50
2.50
2.50
3.50
4.50
4.50
3.50
3.50
4.50
3.50
3.50
นิวซีแลนด์
0.75
4.25
1.00
2.00
3.00
4.25
4.75
4.75
4.75
4.25
5.25
5.25
ญี่ปุ น
-0.10
-0.10
-0.10
-0.10
-0.10
-0.10
-0.10
-0.10
-0.10
-0.10
-0.10
-0.10
จีน
3.80
3.65
3.70
3.70
3.65
3.65
3.65
3.65
3.65
3.65
3.65
3.65
รัสเซีย
8.50
7.50
20.00
9.50
7.50
7.50
7.50
7.50
7.50
7.50
7.50
7.50
ที่มา: รวบรวมโดย สศช. ข้อมูล ณ วันที่ 4 พฤษภาคม 2566
ธนาคารพาณิชย์ และSFIs ปรับขึ้นอัตราดอกเบี้ย เงินให้กู้ยืมและเงินฝาก ตามการปรับขึ้นอัตราดอกเบี้ยนโยบายของธนาคารแห่งประเทศไทย
สินเชื่อคงค้างภาคเอกชนในระบบธนาคารพาณิชย์ชะลอตัวลง ขณะที่ SFIs ขยายตัวเร่งขึ้น
กองยุทธศาสตร์และการวางแผนเศรษฐกิจมหภาค 15 พฤษภาคม 2566 18
Economic Outlook NESDC
อัตราแลกเปลี่ยนเงินบาทต่อดอลลาร์ สรอ. แข็งค่าขึ้นจากไตรมาสก่อนหน้า ในไตรมาสแรกของปี 2566 ค่าเงิน
บาทเฉลี่ยอยู่ที่ 33.92 บาทต่อดอลลาร์ สรอ. แข็งค่าขึ้นร้อยละ 6.63 จากค่าเฉลี่ย 36.33 บาทต่อดอลลาร์ สรอ.
ในไตรมาสก่อนหน้า สอดคล้องกับการปรับตัวอ่อนค่าลงของเงินดอลลาร์ สรอ. เมื่อเทียบเงินสกุลหลักอื่น ๆ
โดยดัชนีเงินดอลลาร์ สรอ. (Dollar Index) เฉลี่ยอยู่ที่ 103.39 ลดลงจากระดับ 108.16 ในไตรมาสก่อนหน้า
ส่วนหนึ่งเป็นผลจากทิศทางการดาเนินนโยบายการเงินของธนาคารกลางสหรัฐฯ ที่เริ่มส่งสัญญาณการยุติการปรับ
ขึ้นอัตราดอกเบี้ยนโยบาย ประกอบกับแนวโน้มการปรับตัวดีขึ้นของเศรษฐกิจที่มีปัจจัยสนับสนุนเพิ่มเติมจาก
การที่รัฐบาลจีนประกาศเปิดประเทศเร็วกว่าที่คาดการณ์ไว้ ทั้งนี้ ดัชนีค่าเงินบาท (NEER) เฉลี่ยอยู่ที่ 120.34
เพิ่มขึ้นร้อยละ 3.96 จากไตรมาสก่อนหน้า สะท้อนถึงค่าเงินบาทแข็งค่าเมื่อเทียบกับประเทศคู่ค้า/คู่แข่งอื่น ๆ
สาหรับค่าเงินสกุลที่สาคัญอื่น ๆ ในภูมิภาคเมื่อเทียบกับเงินดอลลาร์ สรอ. ปรับตัวแข็งค่าขึ้นจากไตรมาสก่อนหน้า
ในทิศทางเดียวกับค่าเงินบาท ได้แก่ ค่าเงินของประเทศญี่ปุ น (ร้อยละ 6.2 ) เกาหลีใต้ (ร้อยละ 6.2) ฟิลิปปินส์
(ร้อยละ 4.5) สิงคโปร์ (ร้อยละ 3.9) มาเลเซีย (ร้อยละ 3.9) จีน (ร้อยละ 3.4) ไต้หวัน (ร้อยละ 3.0) และอินโดนีเซีย
(ร้อยละ 2.1) ขณะที่ค่าเงินของประเทศสาคัญในภูมิภาคที่ปรับตัวอ่อนค่าลง ได้แก่ ค่าเงินฮ่องกง (ร้อยละ 0.2)
และอินเดีย (ร้อยละ 0.1)
ในเดือนเมษายน 2566 ค่าเงินบาทเฉลี่ยอยู่ที่ 34.28 บาทต่อดอลลาร์ สรอ. แข็งค่าขึ้นร้อยละ 0.64 จากค่าเฉลี่ย
34.50 บาทต่อดอลลาร์ สรอ. ในเดือนก่อนหน้า สอดคล้องกับการอ่อนค่าลงของเงินดอลลาร์ สรอ. เมื่อเทียบ
เงินสกุลหลักอื่น ๆ ซึ่งส่วนหนึ่งมีปัจจัยสนับสนุนจากการชะลอตัวของเศรษฐกิจของสหรัฐฯ ท่ามกลางความเสี่ยง
ของการเข้าสู่ภาวะความถดถอยทางเศรษฐกิจ โดยเฉพาะภายใต้ปัญหาเสถียรภาพของระบบธนาคารที่ยังมีอยู่
อย่างต่อเนื่อง ซึ่งทาให้นักลงทุนคาดการณ์ว่าธนาคารกลางสหรัฐฯ จะหยุดพักการปรับขึ้นอัตราดอกเบี้ยนโยบาย
หลังจากการประชุมในเดือนพฤษภาคม และนักลงทุนบางส่วนคาดการณ์ว่าธนาคารกลางสหรัฐฯ อาจมีการปรับลด
อัตราดอกเบี้ยนโยบายในช่วงที่เหลือของปี
ดัชนีราคาตลาดหลักทรัพย์ (SET Index) ปรับตัวลดลงจากไตรมาสก่อนหน้า ณ สิ้นไตรมาสแรกของปี 2566
ดัชนีราคาตลาดหลักทรัพย์ปิดที่ 1,609.2 จุด ลดลง จากไตรมาสก่อนหน้า ร้อยละ 3.6 โดยมีปัจจัยสาคัญๆ มาจาก
(1) ความเสี่ยงจากปัญหาเสถียรภาพของระบบสถาบันการเงินในสหรัฐฯ และยุโรป (2) ธนาคารกลางสหรัฐฯ
ปรับขึ้นอัตราดอกเบี้ยนโยบายอย่างต่อเนื่องในช่วงเดือนกุมภาพันธ์และมีนาคม และ (3) การไหลออกของ
เงินทุนจากตลาดหลักทรัพย์ไทยเพิ่มสูงขึ้น โดยนักลงทุนต่างชาติมีสถานะขายสุทธิ 56.9 พันล้านบาท เทียบกับ
สถานะซื้อสุทธิ 52.5 พันล้านบาท ในไตรมาสก่อนหน้า กลุ่มธุรกิจสาคัญๆ ที่ดัชนีฯ ปรับตัวลดลงได้แก่ กลุ่มสินค้า
อุตสาหกรรม (ลดลงร้อยละ 9.9) กลุ่มทรัพยากร (ลดลงร้อยละ 9.3) กลุ่มธุรกิจการเงิน (ลดลงร้อยละ 7.2) และ
กลุ่มสินค้าเกษตรและอุตสาหกรรมอาหาร (ลดลงร้อยละ 5.8) อย่างไรก็ตาม การเคลื่อนไหวของดัชนี
ตลาดหลักทรัพย์ไทยเคลื่อนไหวในทิศทางตรงกันข้ามกับดัชนีตลาดหลักทรัพย์ของประเทศสาคัญ ๆ ในภูมิภาค
ซึ่งส่วนใหญ่ปรับตัวเพิ่มขึ้น ได้แก่ ดัชนีตลาดหลักทรัพย์ไต้หวัน (ร้อยละ 12.2) เกาหลีใต้ (ร้อยละ 10.8)
เวียดนาม (ร้อยละ 5.7) และจีน (ร้อยละ 4.6) ขณะที่ดัชนีตลาดหลักทรัพย์ของประเทศสาคัญ ๆ ในภูมิภาค
ที่ปรับตัวลดลง ได้แก่ มาเลเซีย (ลดลงร้อยละ 4.9) อินเดีย (ลดลงร้อยละ 3.0) และฟิลิปปินส์ (ลดลงร้อยละ 1.0)
ในเดือนเมษายน 2566 ดัชนีราคาตลาดหลักทรัพย์อยู่ที่ 1,529.1 จุด ปรับตัวลดลงจากสิ้นเดือนมีนาคม 2566
ร้อยละ 5.0 ตามการทยอยประกาศผลประกอบการไตรมาสแรกของปี 2566 ของบริษัทจดทะเบียน ซึ่งส่วนใหญ่
ผลประกอบการต่ากว่าที่นักลงทุนคาดการณ์ไว้ ประกอบกับความกังวลต่อสถานการณ์การแพร่ระบาดของไวรัส
โอมิครอนสายพันธุ์ XBB.1.16 ที่มีแนวโน้มผู้ติดเชื้อเพิ่มขึ้นในช่วงหลังเทศกาลสงกรานต์
อัตราผลตอบแทนพันธบัตรรัฐบาลไทยระยะสั้นปรับตัวเพิ่มขึ้น ขณะที่ระยะยาวปรับตัวลดลง ในช่วงไตรมาส
แรกของปี 2566 อัตราผลตอบแทนพันธบัตรรัฐบาลระยะสั้นปรับตัวเพิ่มขึ้น ตามการปรับขึ้นอัตราดอกเบี้ย
นโยบายของธนาคารแห่งประเทศไทย ขณะที่อัตราผลตอบแทนพันธบัตรระยะยาวปรับตัวลดลง สอดคล้องกับ
ดัชนีราคาพันธบัตรรัฐบาลที่ปรับตัวเพิ่มขึ้น และการปรับลดลงของอัตราผลตอบแทนพันธบัตรรัฐบาลสหรัฐฯ
ค่าเงินบาทเทียบกับ
ดอลลาร์ สรอ. แข็งค่าขึ้น
จากไตรมาสก่อนหน้า
ตามการฟื้นตัวของ
เศรษฐกิจภายในประเทศ
และการคาดการณ์ทิศทาง
นโยบายการเงินสหรัฐฯ
-2
-1
0
1
2
3
4
5
6
7
8
0
1
2
3
4
5
6
7
Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1
61 62 63 64 65 66
%YOY %YOY
สินเชื่อภาคเอกชน (รวมดอกเบี้ยค้างรับ) ของธนาคารพาณิชย์
ชะลอตัวลงจากไตรมาสก่อนหน้า
สินเชื่อภาคเอกชน (รวมดอกเบี้ยค้างรับ)
สินเชื่อธุรกิจ (แกนขวา)
สินเชื่อครัวเรือน (แกนขวา)
ที่มา: ธนาคารแห่งประเทศไทย
-10
-5
0
5
10
15
20
25
30
35
40
0
2
4
6
8
10
12
Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1
61 62 63 64 65 66
%YOY %YOY
สินเชื่อภาคเอกชน (รวมดอกเบี้ยค้างรับ) ของสถาบันการเงินเฉพาะกิจ
ขยายตัวเร่งขึ้นจากไตรมาสก่อนหน้า
สินเชื่อภาคเอกชน (รวมดอกเบี้ยค้างรับ) สินเชื่อธุรกิจ (แกนขวา)
สินเชื่อครัวเรือน (แกนขวา) สินเชื่อตามนโยบายรัฐ (แกนขวา)
ที่มา: ธนาคารแห่งประเทศไทย
ดัชนีราคาตลาดหลักทรัพย์
(SET Index) ปรับตัว
ลดลงจากไตรมาสก่อน
หน้า เนื่องจากความกังวล
ต่อปัญหาในภาคธนาคาร
ของสหรัฐฯ และยุโรป
กองยุทธศาสตร์และการวางแผนเศรษฐกิจมหภาค 15 พฤษภาคม 2566 19
Economic Outlook NESDC
เงินทุนเคลื่อนย้าย ในไตรมาสที่สี่ของปี 2565 เงินทุนไหลเข้าสุทธิ 2.1 พันล้านดอลลาร์ สรอ. เทียบกับเงินทุน
ไหลออกสุทธิ 3.5 พันล้านดอลลาร์ สรอ. ในไตรมาสก่อนหน้า ตามการนาเงินเข้ามาลงทุนโดยตรงและลงทุน
ในตลาดทุนไทยของนักลงทุนต่างชาติ เป็นสาคัญ อย่างไรก็ดี ยังมีเงินทุนไหลออกจากการนาเงินไปลงทุน
ในต่างประเทศของนักลงทุนไทยต่อเนื่อง
รวมทั้งปี 2565 เงินทุนไหลเข้าสุทธิ 4.5 พันล้านดอลลาร์ สรอ. ตามการนาเงินเข้ามาลงทุนโดยตรงและการลงทุน
ในหลักทรัพย์ของนักลงทุนต่างประเทศ
อัตราผลตอบแทน
พันธบัตรรัฐบาล
ระยะสั้นปรับตัวเพิ่มขึ้น
ตามการเพิ่มขึ้นของอัตรา
ดอกเบี้ยนโยบาย
ขณะที่อัตราผลตอบแทน
พันธบัตรรัฐบาลระยะยาว
ปรับตัวลดลง
ตามการเพิ่มขึ้นของ
ความต้องการถือครอง
สินทรัพย์ปลอดภัย
สอดคล้องกับอัตรา
ผลตอบแทนพันธบัตร
29.0 สหรัฐฯ
30.0
31.0
32.0
33.0
34.0
35.0
36.0
37.0
38.0
95 39.0
100
105
110
115
120
125
130
ม.ค.-61
เม.ย.-61
ก.ค.-61
ต.ค.-61
ม.ค.-62
เม.ย.-62
ก.ค.-62
ต.ค.-62
ม.ค.-63
เม.ย.-63
ก.ค.-63
ต.ค.-63
ม.ค.-64
เม.ย.-64
ก.ค.-64
ต.ค.-64
ม.ค.-65
เม.ย.-65
ก.ค.-65
ต.ค.-65
ม.ค.-66
ดัชนี
NEER REER บาท/ดอลลาร์ สรอ. (แกนขวา)
บาท/ดอลลาร์ สรอ.
เงินบาทแข็งค่าขึ้นจากไตรมาสก่อนหน้า
ที่มา: CEIC, ธนาคารแห่งประเทศไทย
1000
1200
1400
1600
1800
2000
10,000
20,000
30,000
40,000
50,000
60,000
70,000
80,000
90,000
100,000
110,000
59 60 61 62 63 64 65 66
ล้านบาท ดัชนี
Value SET Index (RHS)
ดัชนีหลักทรัพย์ปรับลดลง ขณะที่มูลค่าซื้อขายเฉลี่ยปรับเพิ่มขึ้นจากไตรมาสก่อนหน้า
ที่มา: SET
อัตราผลตอบแทนพันธบัตรรัฐบาลระยะสั้นปรับเพิ่มขึ้น ขณะที่ระยะยาวปรับลดลง
ที่มา: ThaiBMA
0.0
1.0
2.0
3.0
4.0
5.0
1M 6M 2Y 4Y 6Y 8Y 10Y 12Y 14Y 16Y 18Y 20Y 22Y 24Y 26Y 28Y
ร้อยละ
Q4/2565
Q1/2566
เม.ย.-66
เนื่องจากนักลงทุนเพิ่มการถือครองตราสารหนึ้ในฐานะสินทรัพย์ปลอดภัยมากขึ้น ในช่วงที่สถาบันการเงินใน
สหรัฐฯ และยุโรป ประสบปัญหาทางการเงินและสภาพคล่อง ทั้งนี้ ณ สิ้นไตรมาสแรกของปี 2566 อัตรา
ผลตอบแทนพันธบัตรรัฐบาลอ้างอิงอายุ 2 ปี อยู่ที่ร้อยละ 1.81 ต่อปี เพิ่มขึ้นจากร้อยละ 1.63 ต่อปี ณ สิ้นไตรมาส
ก่อนหน้า และอัตราผลตอบแทนพันธบัตรรัฐบาลอ้างอิงอายุ 10 ปี อยู่ที่ร้อยละ 2.41 ต่อปี ลดลงจากร้อยละ
2.64 ต่อปี ณ สิ้นไตรมาสก่อนหน้า โดยนักลงทุนต่างชาติมีสถานะขายสุทธิ 23.0 พันล้านบาท เทียบกับสถานะซื้อ
สุทธิ 79.2 พันล้านบาทในไตรมาสก่อนหน้า สาหรับการระดมทุนใหม่ผ่านตลาดตราสารหนี้มีมูลค่าทั้งสิ้น 527.7
พันล้านบาท ส่วนใหญ่เป็นการระดมทุนของกลุ่มอสังหาริมทรัพย์ กลุ่มเงินทุนและหลักทรัพย์ และกลุ่มพลังงาน
ในเดือนเมษายน 2566 อัตราผลตอบแทนพันธบัตรรัฐบาลทั้งระยะสั้นและระยะยาวปรับตัวเพิ่มขึ้นจาก
เดือนก่อนหน้า หลังจากธนาคารกลางสหรัฐฯ ส่งสัญญาณจะดาเนินนโยบายการเงินในทิศทางเข้มงวด
ต่อเนื่อง เนื่องจากภาวะเงินเฟ้อที่ยังอยู่ในระดับสูง ทั้งนี้ ณ สิ้นเดือนเมษายนอัตราผลตอบแทนพันธบัตร
รัฐบาลอายุ 2 ปี และอายุ 10 ปี อยู่ที่ร้อยละ 1.90 ต่อปี และร้อยละ 2.54 ต่อปี ตามลาดับ โดยนักลงทุน
ต่างชาติมีสถานะขายสุทธิ 37.7 พันล้านบาท เทียบกับสถานะซื้อสุทธิ 16.6 พันล้านบาทในเดือนก่อนหน้า
เงินทุนเคลื่อนย้ายไหลเข้า
สุทธิ ตามการนาเงินเข้ามา
ลงทุนโดยตรงและ
การลงทุนในหลักทรัพย์
ของนักลงทุนต่างชาติ
เป็นสาคัญ
เงินทุนเคลื่อนย้าย
(พันล้านดอลลาร์ สรอ.)
2564 2565
ทั้งปี Q1 Q2 Q3 Q4 ทั้งปี Q1 Q2 Q3 Q4
- การลงทุนโดยตรง -4.5 2.3 -1.4 -1.4 -4.0 -4.8 2.0 -0.4 0.1 0.1
นักลงทุนไทย -19.2 -3.5 -3.0 -4.6 -8.0 -19.3 -3.7 -1.2 -2.0 -1.3
นักลงทุนต่างชาติ 14.6 5.8 1.6 3.2 4.0 14.5 5.7 0.9 2.1 1.5
- การลงทุนในหลักทรัพย์ -11.9 -10.0 -3.7 0.0 1.9 0.8 2.6 1.9 -0.8 2.0
นักลงทุนไทย -16.8 -10.5 -3.7 -0.2 -2.5 -7.6 -1.3 1.0 -0.32 -1.9
นักลงทุนต่างชาติ 4.9 0.4 -0.1 0.2 4.4 8.4 3.9 0.9 -0.4 3.8
อื่น ๆ 10.4 1.0 2.5 4.0 2.9 8.5 -0.9 -1.7 -2.8 0.1
เงินทุนเคลื่อนย้าย -6.0 -6.7 -2.7 2.6 0.8 4.5 3.7 -0.2 -3.5 2.1
ที่มา: ธปท.
20
กองยุทธศาสตร์และการวางแผนเศรษฐกิจมหภาค
15 พฤษภาคม 2566
NESDC
Economic Outlook
ผลกระทบจากปัญหาสถาบันการเงินในสหรัฐฯ และยุโรป ต่อสถาบันการเงินไทยยังจากัด
สถาบันการเงินในสหรัฐฯ และยุโรป ได้แก่ ธนาคารซิลิคอน วัลเลย์ (Silicon Valley Bank : SVB) ธนาคารซิกเนเจอร์ (Signature Bank) ธนาคารเฟิร์ส รีพับลิค (First Republic) และธนาคารเครดิตสวิส (Credit Suisse) ประสบปัญหาด้านเสถียรภาพและสภาพคล่องนับตั้งแต่ในช่วงเดือนมีนาคม 2566 ส่งผลกระทบต่อความเชื่อมั่นของผู้ฝากเงินและความผันผวนในตลาดเงินทั่วโลกโดยเฉพาะในภาคที่เกี่ยวข้องกับ การธนาคาร ดังจะเห็นได้จากดัชนีตลาดหลักทรัพย์ในกลุ่มธนาคารที่ลดลงอย่างมาก และความต้องการถือสินทรัพย์เสี่ยงลดลง อย่างไรก็ดี สถานการณ์ปัญหามีทิศทางผ่อนคลายลง เนื่องจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้องได้ดาเนินมาตรการเพื่อแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้นอย่างรวดเร็ว โดยธนาคารกลางสหรัฐฯ ดาเนินมาตรการคุ้มครองเงินฝากเพื่อสร้างความเชื่อมั่นให้กับผู้ฝากเงิน และการจัดตั้งกองทุนช่วยเหลือด้านสภาพคล่องผ่าน Bank Term Funding Program (BTFP) เพื่อเพิ่มสภาพคล่องในระบบการเงินและลดผลกระทบต่อธนาคารพาณิชย์อื่น ด้านธนาคารกลางสวิตเซอร์แลนด์ ให้เงินกู้ยืมแก่ธนาคารเครดิตสวิส เพื่อรักษาเสถียรภาพและสภาพคล่องในระบบของธนาคาร
ด้านผลกระทบต่อภาคการเงินไทย พบว่า ยังอยู่ในขอบเขตจากัด ส่วนหนึ่งเป็นผลจากสถาบันการเงินและภาคธุรกิจไทยมีความเชื่อมโยงค่อนข้างน้อยกับสถาบันการเงินและสินทรัพย์เสี่ยงที่เกิดปัญหา ขณะเดียวกันปริมาณเงินกองทุนและเงินสารองของธนาคารพาณิชย์ไทย อยู่ในระดับที่เข้มแข็ง โดยธนาคารแห่งประเทศไทยได้กาหนดให้ธนาคารพาณิชย์ดารงเงินกองทุนขั้นต่าตามหลักเกณฑ์ของ Basel III รวมทั้ง การดารงเงินกองทุนส่วนเพิ่ม (Capital buffer) เพื่อรองรับผลขาดทุนในภาวะวิกฤติ (Conservation buffer) และรองรับความเสี่ยงเชิงระบบที่อาจเกิดขึ้นในช่วงเศรษฐกิจขาลง (Countercyclical buffer) ไม่น้อยกว่าร้อยละ 11 ของสินทรัพย์เสี่ยง ทั้งนี้ ธนาคารพาณิชย์ของไทยดารงเงินกองทุนสูงกว่าเงินกองทุนขั้นต่าตามหลักเกณฑ์ของธนาคารแห่งประเทศไทยมาอย่างต่อเนื่อง โดยข้อมูลปัจจุบัน ณ ไตรมาสแรกของปี 2566 เงินกองทุนทั้งสิ้นต่อสินทรัพย์เสี่ยง (BIS ratio) อยู่ที่ร้อยละ 18.93 สูงกว่าเกณฑ์ขั้นต่าที่กาหนดไว้ร้อยละ 8.5 แสดงให้เห็นว่าเงินทุนของธนาคารพาณิชย์ไทยสามารถรองรับความเสี่ยงและความผันผวนได้มากกว่าเกณฑ์มาตรฐาน นอกจากนี้ ธนาคารพาณิชย์ได้มีการดารงสินทรัพย์สภาพคล่อง (Liquidity coverage ratio: LCR) เพื่อรองรับสถานการณ์ที่มีความรุนแรงต่อประมาณการกระแสเงินสดไหลออกสุทธิใน 30 วัน อยู่ในระดับสูงที่ร้อยละ 190.53 รวมทั้งยังมีเงินสารองต่อหนี้สินที่ไม่ก่อให้เกิดรายได้ (NPL coverage ratio) อยู่ที่ร้อยละ 171.9 (ข้อมูล ณ สิ้นปี 2565) อย่างไรก็ดี สถานการณ์ในระบบการเงินของสหรัฐฯ และยุโรปดังกล่าวยังมีความไม่แน่นอนและต้องติดตามอย่างใกล้ชิด โดยเฉพาะผลกระทบต่อความผันผวนของตลาดการเงินโลกและต่อเศรษฐกิจสหรัฐฯ และยุโรป ซึ่งอาจเป็นปัจจัยเสี่ยงที่มีผลต่อการฟื้นตัวของเศรษฐกิจไทย ในระยะต่อไป
อัตราส่วนทางการเงินที่สาคัญของธนาคารพาณิชย์ของ์ไทย (เฉลี่ย)
(ธนาคารพาณิชย์ไทยเฉลี่ย 14 แห่ง)
2563
2564
2565
2566
อัตราที่กาหนด
ทั้งปี
ทั้งปี
Q1
Q2
Q3
Q4
Q1
เงินกองทุนชั้นที่ 1 ที่เป็นส่วนของเจ้าของ
7.0 - 9.5
16.36
15.84
15.77
15.48
15.23
15.31
N.A.
เงินกองทุนชั้นที่ 1 ต่อสินทรัพย์เสี่ยง
8.5
15.84
16.40
16.19
15.89
15.60
15.78
15.88
เงินกองทุนทั้งสิ้นต่อสินทรัพย์เสี่ยง (BIS Ratio)
11.0
18.92
19.46
19.28
19.15
18.80
18.83
18.93
การดารงสินทรัพย์สภาพคล่อง
มากกว่า 100%
193.88
198.83
191.58
184.82
181.89
192.66
190.53
ปริมาณสินเชื่อต่อยอดเงินฝาก (L/D Ratio)
ไม่ควรเกิน 100%
106.34
108.34
107.43
107.88
107.11
106.62
107.71
หนี้ที่ไม่เกิดรายได้ต่อสินเชื่อรวม (NPL Ratio)
3.27
3.26
3.10
3.07
2.95
2.88
2.84
รายได้ดอกเบี้ยสุทธิต่อสินทรัพย์ที่ก่อให้เกิดรายได้ดอกเบี้ยเฉลี่ย (NIM)
2.87
2.58
2.61
2.66
2.74
2.81
3.00
ที่มา: ธนาคารแห่งประเทศไทย
ผลประกอบการของธนาคารพาณิชย์ขนาดใหญ่ (กาไรสุทธิ)
2564
2565
2566
หน่วย : ล้านบาท
ทั้งปี
ทั้งปี
Q1
ธนาคารกสิกรไทย
38,052
35,769
10,741
ธนาคารไทยพาณิชย์
35,589
37,546
10,995
ธนาคารกรุงเทพ
26,507
29,305
10,129
ธนาคารกรุงไทย
21,588
33,697
10,067
ธนาคารกรุงศรีอยุธยา
33,794
30,712
8,676
ธนาคารทีทีบี
10,474
14,195
4,295
ที่มา: ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย
กองยุทธศาสตร์และการวางแผนเศรษฐกิจมหภาค 15 พฤษภาคม 2566 21
Economic Outlook NESDC
อัตราเงินเฟ้อทั่วไป ในไตรมาสแรกของปี 2566 อัตราเงินเฟ้อทั่วไปอยู่ที่ร้อยละ 3.9 ชะลอตัวลงจากร้อยละ 5.8
ในไตรมาสกอ่ นหน้า โดยดชั นีราคาในหมวดอาหารและเครอื่ งดมื่ ไมม่ แ อลกอฮอลเ พมิ่ ขนึ้ รอ้ ยละ 6.2 ชะลอลงจาก
ร้อยละ 8.9 ในไตรมาสก่อนหน้า ดัชนีราคาในหมวดที่มิใช่อาหารและเครื่องดื่ม เพิ่มขึ้นร้อยละ 2.3 ชะลอลงจาก
ร้อยละ 3.7 ในไตรมาสก่อนหน้า ตามการชะลอลงของราคาสินค้าในกลุ่มพลังงาน ส่วนอัตราเงินเฟ้อพื้นฐาน อยู่ที่
ร้อยละ 2.2 เทียบกับร้อยละ 3.2 ในไตรมาสก่อนหน้า7
ดัชนีราคาผู้ผลิตเพิ่มขึ้น
ร้อยละ 0.7 ชะลอตัวลง
จากไตรมาสก่อนหน้า
อัตราเงินเฟ้อทั่วไปอยู่ที่
ร้อยละ 3.9 ชะลอลงจาก
ร้อยละ 5.8 ในไตรมาส
ก่อนหน้า ตามการชะลอตัว
ของเงินเฟ้อในกลุ่มอาหาร
และพลังงาน
7 ในเดือนเมษายน 2566 อัตราเงินเฟ้อทั่วไปอยู่ที่ร้อยละ 2.7 และอัตราเงินเฟ้อพื้นฐานอยู่ที่ร้อยละ 1.7
8 ในเดือนเมษายน 2566 ดัชนีราคาผู้ผลิตลดลงร้อยละ 3.4
-15,000
-10,000
-5,000
0
5,000
10,000
15,000
20,000
Q1Q2Q3Q4Q1Q2Q3Q4Q1Q2Q3Q4Q1Q2Q3Q4Q1Q2Q3Q4Q1Q2Q3Q4Q1Q2Q3Q4Q1
59 60 61 62 63 64 65 66
ล้านดอลลาร์ สรอ.
ดุลบัญชีเดินสะพัด ดุลการค้า
และดุลบริการ รายได้ปฐมภูมิ และรายได้ทุติยภูมิ
ดุลบัญชีเดินสะพัด
ดุลการค้า
ดุลบริการ รายได้ปฐมภูมิ และรายได้ทุติยภูมิ
ที่มา: ธนาคารแห่งประเทศไทย
-6.0
-4.0
-2.0
0.0
2.0
4.0
6.0
8.0
10.0
12.0
14.0
16.0
Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1
59 60 61 62 63 64 65 66
%YoY
ดัชนีราคาผู้บริโภคทั่วไปในไตรมาสแรกของปี 2566
ขยายตัวร้อยละ 3.9
ดัชนีราคาผู้บริโภคทั่วไป ดัชนีราคาผู้บริโภคพื้นฐาน
ดัชนีราคาผู้ผลิต
ที่มา: กระทรวงพาณิชย์
ดุลบัญชีเดินสะพัดเกินดุล ในไตรมาสแรกของปี 2566 ดุลบัญชีเดินสะพัดเกินดุล 4.0 พันล้านดอลลาร์ สรอ.
(138.8 พันล้านบาท) เทียบกับการขาดดุล 2.4 พันล้านดอลลาร์ สรอ. (80.8 พันล้านบาท) ในไตรมาสเดียวกันของ
ปีก่อน และการเกินดุล 0.9 พันล้านดอลลาร์ สรอ. (33.0 พันล้านบาท) ในไตรมาสก่อนหน้า ซึ่งเป็นผลมาจาก
การเกินดุลการค้า 2.9 พันล้านดอลลาร์ สรอ. (ต่ากว่าการเกินดุล 7.2 พันล้านดอลลาร์ สรอ. ในไตรมาสเดียวกันของ
ปีก่อน) และดุลบริการ รายได้ปฐมภูมิ และรายได้ทุติยภูมิเกินดุล 1.0 พันล้านดอลลาร์ สรอ. ซึ่งเป็นการเกินดุล
ครั้งแรกในรอบ 12 ไตรมาส (เทียบกับการขาดดุล 9.6 พันล้านดอลลาร์ สรอ. ในไตรมาสเดียวกันของปีก่อน)
เงินสารองระหว่างประเทศ ณ สิ้นเดือนมีนาคม 2566 อยู่ที่ 224.5 พันล้านดอลลาร์ สรอ. ลดลงจาก 242.4
พันล้านดอลลาร์ สรอ. ณ สิ้นเดือนมีนาคม 2565 เมื่อคิดในรูปเงินบาท เงินสารองระหว่างประเทศ ณ สิ้นเดือน
มีนาคม 2566 อยู่ที่ 7,653.7 พันล้านบาท ต่ากว่า 8,074.1 พันล้านบาท ณ สิ้นเดือนมีนาคม 2565
ดุลบัญชีเดินสะพัดเกินดุล
ต่อเนื่องเป็นไตรมาสที่ 2
เงินสารองระหว่างประเทศ
ณ สิ้นเดือนมีนาคม 2566
อยู่ที่ 224.5 พันล้าน
ดอลลาร์ สรอ ลดลงจาก
ช่วงเดียวกันของปีก่อน
ดัชนีราคาผู้ผลิต ในไตรมาสแรกของปี 2566 ดัชนีราคาผู้ผลิตเพิ่มขึ้นร้อยละ 0.7 ชะลอลงจากร้อยละ 7.3 ในไตรมาส
ก่อนหน้า สอดคล้องกับดัชนีราคาในหมวดผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม ซึ่งเพิ่มขึ้นร้อยละ 0.3 ชะลอลงจากร้อยละ 5.3
ในไตรมาสก่อนหน้า ตามการลดลงของราคากลุ่มผลิตภัณฑ์ที่ได้จากการกลั่นปิโตรเลียม หมวดผลิตภัณฑ์เกษตร
และการประมง เพิ่มขึ้นร้อยละ 1.7 ชะลอลงจากร้อยละ 6.3 ในไตรมาสก่อนหน้า ตามการชะลอลงของราคา
ผลิตภัณฑ์ทางการเกษตร และผลิตภัณฑ์จากการประมง และหมวดผลิตภัณฑ์จากเหมือง เพิ่มขึ้นร้อยละ 6.8 เทียบกับ
การเพิ่มขึ้นร้อยละ 58.2 ในไตรมาสก่อนหน้า ตามการชะลอตัวลงของราคากลุ่มปิโตรเลียมดิบและก๊าซธรรมชาติ
ที่เพิ่มขึ้นร้อยละ 8.1 เทียบกับการเพิ่มขึ้นร้อยละ 71.8 ในไตรมาสก่อนหน้า8
22
กองยุทธศาสตร์และการวางแผนเศรษฐกิจมหภาค
15 พฤษภาคม 2566
NESDC
Economic Outlook
2. ความเคลื่อนไหวราคาน้ามันไตรมาสแรกของปี 2566
ราคาน้ามันดิบในตลาดโลกปรับตัวลดลงจากไตรมาสก่อนหน้าและช่วงเดียวกันของ ปีก่อน
ราคาน้ามันดิบปรับตัวลดลงจากไตรมาสก่อนหน้าและช่วงเดียวกันของปีก่อน ในไตรมาสแรกของปี 2566 ราคาน้ามันดิบในตลาดโลกเฉลี่ย 4 ตลาด (ดูไบ เบรนท์ โอมาน และเวสท์เท็กซัส) อยู่ที่ 79.7 ดอลลาร์ สรอ. ต่อบาร์เรล ลดลงร้อยละ 6.4 จากราคา 85.1 ดอลลาร์ สรอ. ต่อบาร์เรล ในไตรมาสก่อนหน้า และลดลงร้อยละ 17.2 จากราคาเฉลี่ย 96.2 ดอลลาร์ สรอ.ต่อบาร์เรล ในช่วงเดียวกันของปีก่อน การลดลงของราคาน้ามันดิบ ในตลาดโลกในไตรมาสนี้มีสาเหตุสาคัญๆ มาจาก (1) ความวิตกกังวลของนักลงทุนเกี่ยวกับทิศทางนโยบายการเงินของธนาคารกลางสหรัฐฯ และประเทศเศรษฐกิจหลัก ที่อาจส่งผลกระทบต่อการขยายตัวทางเศรษฐกิจและความต้องการใช้น้ามันในตลาดโลก (2) ปริมาณเฉลี่ยน้ามันดิบสารองทางการค้าของสหรัฐฯ ปรับตัวเพิ่มขึ้นต่อเนื่อง โดยในไตรมาสแรกของปี 2566 อยู่ที่ 466 ล้านบาร์เรล ขยายตัวร้อยละ 12.7 เมื่อเทียบกับ 413 ล้านบาร์เรล ในช่วงเดียวกันของปีก่อน และ (3) ความวิตกกังวลของนักลงทุนเกี่ยวกับวิกฤตการณ์ในภาคธนาคารของสหรัฐฯ และยุโรป ที่อาจจะส่งผลกระทบเป็นวงกว้างต่อเศรษฐกิจโลก
ราคาน้ามันดิบในตลาดโลก
ปี
ราคา (ดอลลาร์ สรอ. /บาร์เรล)
อัตราการขยายตัว (%YOY)
WTI
BRENT
DUBAI
OMAN
เฉลี่ย
WTI
BRENT
DUBAI
OMAN
เฉลี่ย
2563
ทั้งปี
39.6
43.4
42.4
41.8
42.0
-30.4
-32.2
-33.0
-34.2
-32.3
2564
ทั้งปี
68.1
70.9
69.5
69.3
69.4
72.1
63.4
63.8
65.5
65.4
Q1
58.0
61.2
60.3
59.0
59.6
25.6
20.1
18.7
19.0
20.0
Q2
66.5
69.4
67.5
67.5
67.7
135.9
107.0
118.3
119.3
119.5
Q3
70.5
73.2
71.8
71.9
71.9
72.5
69.0
67.0
67.8
69.1
Q4
77.1
79.7
78.4
78.5
78.4
80.8
76.6
75.6
75.7
77.2
2565
ทั้งปี
94.2
98.8
96.2
96.5
96.5
38.4
39.4
38.4
39.4
38.9
Q1
94.7
97.9
96.1
96.4
96.2
63.3
59.8
59.4
63.3
61.3
Q2
109.0
112.3
108.5
105.4
108.8
63.9
61.9
60.7
56.2
60.6
Q3
91.4
97.5
96.5
100.7
96.5
29.6
33.2
34.3
40.0
34.3
Q4
82.6
88.6
84.7
84.7
85.1
7.1
11.1
8.0
8.0
8.6
2566
Q1
76.0
82.1
80.2
80.4
79.7
-19.7
-16.1
-16.5
-16.6
-17.2
ม.ค.
78.2
83.9
80.6
80.7
80.9
-5.4
-1.5
-3.3
-3.2
-3.3
ก.พ.
76.8
83.5
81.9
82.2
81.1
-16.1
-11.3
-11.0
-10.0
-12.3
มี.ค.
73.4
79.2
78.3
78.4
77.3
-32.2
-29.6
-29.5
-29.5
-30.1
เม.ย.
79.0
83.0
82.8
82.9
81.9
-21.8
-21.1
-19.2
-19.8
-20.5
ที่มา: บริษัท ไทยออยล์ จากัด (มหาชน) และสานักงานนโยบายและแผนพลังงาน
กองยุทธศาสตร์และการวางแผนเศรษฐกิจมหภาค
15 พฤษภาคม 2566
23
NESDC
Economic Outlook
เศรษฐกิจโลกไตรมาสแรกของปี 2566 ขยายตัวต่อเนื่อง โดยมีแรงสนับสนุนจากการขยายตัวของการบริโภคภาคเอกชนและการฟื้นตัวของภาคบริการเป็นสาคัญ โดยเฉพาะเศรษฐกิจหลัก ได้แก่ สหรัฐฯ ยูโรโซน และญี่ปุ่น ขณะเดียวกัน เศรษฐกิจจีนขยายตัวเร่งขึ้นภายหลังจากการยกเลิกมาตรการควบคุมโรคโควิด-19 และการเปิดประเทศ อย่างไรก็ดี เศรษฐกิจของประเทศส่วนใหญ่มีทิศทางชะลอลงจากไตรมาสก่อนหน้า ตามการลดลงของ การผลิตภาคอุตสาหกรรมทั้งเศรษฐกิจหลักและกลุ่มประเทศเศรษฐกิจเกิดใหม่ สะท้อนจากดัชนีผู้จัดการฝ่ายจัดซื้อภาคอุตสาหกรรม (Manufacturing Purchasing Manager?s Index) ที่ส่วนใหญ่ยังคงอยู่ในระดับต่ากว่า 50 ขณะเดียวกัน การส่งออกสินค้าของหลายประเทศในภูมิภาคเอเชียส่วนใหญ่ยังคงปรับตัวลดลงต่อเนื่องจากไตรมาสก่อนหน้า ท่ามกลางอัตราเงินเฟ้อที่ยังอยู่ในระดับสูงกว่าเป้าหมายนโยบายการเงินส่งผลให้ธนาคารกลางสาคัญ ๆ ยังคงปรับขึ้นอัตราดอกเบี้ยนโยบายอย่างต่อเนื่อง แต่เป็นการปรับขึ้นในอัตราที่ช้าลงจากช่วงก่อนหน้า ตามแรงกดดันด้านเงินเฟ้อที่เริ่มชะลอลง ตามการลดลงของราคาพลังงาน ขณะที่ในช่วงปลายไตรมาสตลาดการเงินโลกเผชิญกับภาวะตึงตัวอันเป็นผลจากปัญหาด้านเสถียรภาพของสถาบันการเงินในประเทศเศรษฐกิจหลัก
เศรษฐกิจสหรัฐฯ ขยายตัวร้อยละ 1.6 (Advance Estimate) เร่งขึ้นจากร้อยละ 0.9 ในไตรมาสก่อนหน้า และเมื่อปรับผลของฤดูกาลแล้ว เศรษฐกิจสหรัฐฯ ขยายตัวร้อยละ 1.4 ชะลอตัวลงจากร้อยละ 6.9 ในไตรมาสก่อนหน้า (%QoQ saar.) การขยายตัวของเศรษฐกิจสหรัฐฯ เป็นผลมาจากการเร่งขึ้นของการอุปโภคบริโภคภาคเอกชนในหมวดสินค้าคงทนโดยเฉพาะรถยนต์และชิ้นส่วนเป็นสาคัญ นอกจากนี้ การใช้จ่ายของรัฐบาลกลางยังขยายตัวต่อเนื่องและเป็นการขยายตัวสูงสุดในรอบ 11 ไตรมาส ตามการเพิ่มขึ้นของค่าตอบแทนของเจ้าหน้าที่รัฐทั้งในส่วนของรัฐบาลกลางและรัฐบาลท้องถิ่น ขณะเดียวกัน การส่งออกสินค้าขยายตัวดีขึ้น โดยเฉพาะอย่างยิ่งการส่งออกยานยนต์ อากาศยาน และผลิตภัณฑ์ปิโตรเลียม สาหรับตลาดแรงงานยังแข็งแกร่งสะท้อนจากอัตราว่างงานลดลงมาอยู่ที่ร้อยละ 3.6 ต่าสุดในรอบ 12 ไตรมาส และการจ้างงานนอกภาคเกษตรเพิ่มขึ้น 8.85 แสนตาแหน่ง เทียบกับ 8.53 แสนตาแหน่งในไตรมาสก่อน ส่งผลให้การจ้างงานนอกภาคเกษตรในเดือนมีนาคม 2566 อยู่ที่ 155.4 ล้านคนสูงสุดเป็นประวัติการณ์ ขณะที่อัตราเงินเฟ้อทั่วไป (PCE inflation) อยู่ที่ร้อยละ 4.9 ชะลอลงจากร้อยละ 5.7 ในไตรมาสก่อนหน้า ส่งผลให้คณะกรรมการนโยบายการเงินสหรัฐฯ (FOMC) เริ่มชะลอการปรับขึ้นอัตราดอกเบี้ยนโยบาย ภายหลังจากปรับขึ้นอย่างต่อเนื่องนับตั้งแต่ต้นปี 25659 ทั้งนี้ การปรับขึ้นอัตราดอกเบี้ยนโยบายอย่างต่อเนื่องในช่วงที่ผ่านมาส่งผลกระทบต่อสภาพคล่องของระบบเศรษฐกิจรวมถึงเสถียรภาพของสถาบันการเงิน10 ทาให้ธนาคารกลางสหรัฐฯ ได้ดาเนินมาตรการเพิ่มสภาพคล่อง แก่สถาบันการเงินผ่านโครงการ Bank Term Funding Program และจัดตั้งกองทุนช่วยเหลือมูลค่า 25,000 ล้านดอลลาร์ สรอ. เพื่อสร้างความมั่นใจให้กับระบบสถาบันการเงิน
เศรษฐกิจยูโรโซน ขยายตัวร้อยละ 1.3 ชะลอลงจากร้อยละ 1.8 ในไตรมาสก่อนหน้า และนับเป็นอัตราการขยายตัวต่าสุดในรอบ 8 ไตรมาส โดยเศรษฐกิจเยอรมนีซึ่งมีขนาดใหญ่ที่สุดในประเทศสมาชิกทั้งหมดลดลงร้อยละ 0.1 เทียบกับการขยายตัวร้อยละ 0.8 ในไตรมาสก่อนหน้า และเป็นการลดลงครั้งแรกในรอบ 7 ไตรมาส เนื่องจากการลดลงของภาคอุตสาหกรรมอันเนื่องมาจากผลกระทบของราคาพลังงาน สะท้อนจากดัชนีผู้จัดการฝ่ายจัดซื้อภาคอุตสาหกรรมของเยอรมนีในไตรมาสแรกที่ 46.1 เทียบกับ 58.4 ในช่วงเดียวกันของปีก่อน ในขณะที่ประเทศสมาชิกหลักอื่น ๆ สามารถขยายตัวเร่งขึ้นได้ในรอบ 6 ไตรมาส11 โดยได้รับแรงสนับสนุนจากการฟื้นตัวของภาคบริการ สะท้อนได้จาก ดัชนีผู้จัดการฝ่ายจัดซื้อภาคบริการที่เพิ่มขึ้นมาอยู่ที่เฉลี่ย 52.8 จากระดับ 49.0 ในไตรมาสก่อนหน้า สอดคล้องกับดัชนีความเชื่อมั่นผู้บริโภคที่ระดับ (-19.6) ปรับตัวดีขึ้นจาก (-24.4) ในไตรมาสก่อนหน้าและเป็นระดับสูงสุดในรอบ 3 ไตรมาส ขณะที่ภาคการผลิตยังคงลดลงสะท้อนจากดัชนีผู้จัดการฝ่ายจัดซื้อภาคอุตสาหกรรมอยู่ที่ระดับเฉลี่ย 48.2 นับเป็นระดับต่ากว่า 50 ติดต่อกันเป็นไตรมาสที่ 3 สาหรับอัตราเงินเฟ้อเฉลี่ยอยู่ที่ร้อยละ 8.0 ลดลงจากร้อยละ 10.0 ในไตรมาสก่อนหน้า แต่อัตราเงินเฟ้อพื้นฐานยังคงเร่งขึ้นมาอยู่ที่เฉลี่ยร้อยละ 5.5 จากเฉลี่ยร้อยละ 5.1 ในไตรมาสก่อนหน้า และเป็นระดับที่สูงสุดเป็นประวัติการณ์ ส่งผลให้คณะกรรมการนโยบายการเงินของธนาคารกลางยุโรป (ECB) ปรับขึ้นอัตราดอกเบี้ยนโยบายและปรับลดขนาดของมาตรการสนับสนุนสภาพคล่องอย่างต่อเนื่อง12 เช่นเดียวกับการดาเนินมาตรการทางการคลังเพื่อลดผลกระทบทางด้านพลังงานของสหภาพยุโรป13
3. เศรษฐกิจโลกไตรมาสแรกของปี 2566
9 ในการประชุมทั้ง 2 ครั้งเมื่อวันที่ 31 มกราคมถึง 1 กุมภาพันธ์ และวันที่ 21 - 22 มีนาคม 2566 FOMC มีมติปรับขึ้นอัตราดอกเบี้ยนโยบายร้อยละ 0.25 ชะลอจากการปรับขึ้นร้อยละ 0.50 ในการประชุมครั้งก่อน โดยถือเป็นการปรับขึ้นต่อเนื่องกันเป็นครั้งที่ 9 ส่งผลให้อัตราดอกเบี้ยนโยบาย ณ สิ้นสุดไตรมาสแรกอยู่ในช่วงร้อยละ 4.75 - 5.00 ซึ่งเป็นระดับสูงที่สุดนับตั้งแต่เดือนกันยายน 2550
10 สถาบันการเงินสหรัฐฯ ที่ประสบปัญหาด้านสภาพคล่องในช่วงไตรมาสแรกของปี 2566 ประกอบด้วยธนาคาร Silvergate ธนาคาร Silicon Valley และธนาคาร Signature โดยมีสาเหตุสาคัญมาจากการถอนเงินออกจากธนาคารจานวนมากของผู้ฝากเงิน นาไปสู่การขาดสภาพคล่องจากการขาดทุนในพันธบัตรรัฐบาลระยะยาว ทาให้สถาบันการเงินทั้งสามแห่งเข้าสู่ภาวะล้มละลายในช่วงเดือนมีนาคม 2566
11 เศรษฐกิจฝรั่งเศส อิตาลี และสเปน ขยายตัวร้อยละ 0.8 ร้อยละ 1.8 และร้อยละ 3.8 เร่งขึ้นจากร้อยละ 0.4 ร้อยละ 1.4 และร้อยละ 2.9 ในไตรมาสก่อนหน้า ตามลาดับ
12 ในการประชุมเมื่อวันที่ 2 กุมภาพันธ์ และ 16 มีนาคม 2566 ธนาคารกลางยุโรป ได้ปรับขึ้นอัตราดอกเบี้ยนโยบายร้อยละ 0.50 และร้อยละ 0.50 ตามลาดับ ส่งผลให้อัตราดอกเบี้ย Refinancing Operations Rate อัตราดอกเบี้ย Marginal Lending Facility และดอกเบี้ยเงินฝากที่ธนาคารพาณิชย์ของแต่ละประเทศที่ฝากไว้กับธนาคารกลางไว้อยู่ที่ร้อยละ 3.50 ร้อยละ 3.75 และ ร้อยละ 3.00 ตามลาดับ ขณะเดียวกัน ECB ยังได้ดาเนินการเสริมสภาพคล่องอย่างต่อเนื่องภายใต้โครงการ Pandemic Emergency Purchase Programme (PEPP) ร่วมกับการลดสภาพคล่องผ่านโครงการ Asset Purchase Programme (APP) และการรีไฟแนนซ์ผ่านมาตรการสินเชื่อดอกเบี้ยต่าให้แก่ธนาคารพาณิชย์รอบที่ 3 (TLTROs III) นอกจากนี้ ECB ยังคงใช้กลไกเพื่อลดผลกระทบจากการขึ้นอัตราดอกเบี้ย (Transmission Protection Instrument: TPI) โดยการเข้าซื้อสินทรัพย์โดยเฉพาะพันธบัตรรัฐบาลของประเทศสมาชิกที่เผชิญความผันผวนในตลาดการเงินเพื่อลดความเสี่ยงที่เกิดขึ้นต่อเศรษฐกิจของประเทศสมาชิก
13 โดยมีมาตรการสาคัญ ประกอบด้วยการลดภาษีพลังงานและภาษีมูลค่าเพิ่ม การปรับกฎระเบียบในการตั้งราคาขายปลีกและขายส่งสินค้าพลังงาน มาตรการช่วยเหลือครัวเรือนที่รับผลกระทบรวมถึงกลุ่มเปราะบาง นอกจากนี้ยังดาเนินมาตรการเพื่อลดการพึ่งพาก๊าซธรรมชาติและน้ามันดิบจากรัสเซีย ผ่านการสนับสนุนบริษัทที่พันนาเทคโนโลยีพลังงานทางเลือก โดยการให้เงินสนับสนุนรวมถึงสินเชื่อ
กองยุทธศาสตร์และการวางแผนเศรษฐกิจมหภาค
15 พฤษภาคม 2566
24
NESDC
Economic Outlook
เศรษฐกิจญี่ปุ่น มีแนวโน้มขยายตัวเร่งขึ้น โดยได้รับแรงสนับสนุนหลักมาจากการฟื้นตัวของอุปสงค์ภายในประเทศและภาคการท่องเที่ยว สอดคล้องกับดัชนีผู้จัดการฝ่ายจัดซื้อภาคบริการที่ปรับเพิ่มขึ้นมาอยู่ที่ 53.8 จาก 51.5 ในไตรมาสที่ผ่านมา อย่างไรก็ดี ภาคการผลิตและ การส่งออกได้รับผลกระทบจากการชะลอตัวของเศรษฐกิจโลกส่งผลให้ดัชนีผู้จัดการฝ่ายจัดซื้อภาคอุตสาหกรรมอยู่ที่ 48.6 ลดลงจาก 49.5 ในไตรมาสก่อนหน้า และต่ากว่า 50 ต่อเนื่องเป็นไตรมาสที่สอง ขณะที่มูลค่าการส่งออกสินค้ายังคงปรับตัวลดลงร้อยละ 8.0 โดยเป็น การลดลงต่อเนื่องกันเป็นไตรมาสที่ 4 สาหรับอัตราเงินเฟ้ออยู่ที่ร้อยละ 3.6 ลดลงจากร้อยละ 3.8 ในไตรมาสก่อนหน้า ทั้งนี้ ธนาคารกลางญี่ปุ่นยังคงดาเนินนโยบายการเงินแบบขยายตัวอย่างต่อเนื่อง14
เศรษฐกิจจีน ขยายตัวร้อยละ 4.5 เร่งขึ้นจากร้อยละ 2.9 ในไตรมาสก่อนหน้า และเป็นอัตราการขยายตัวสูงสุดในรอบ 4 ไตรมาส โดยเป็นผลมาจากการยกเลิกมาตรการควบคุมการแพร่ระบาด (Zero-COVID Policy) และการเปิดประเทศ ส่งผลให้การอุปโภคบริโภคภายในประเทศปรับตัวดีขึ้น สะท้อนจากยอดมูลค่าการค้าปลีกที่ขยายตัวร้อยละ 10.6 เทียบกับการลดลงร้อยละ 2.7 ในไตรมาสก่อนหน้า เช่นเดียวกับดัชนีผู้จัดการฝ่ายจัดซื้อ (Caixin PMI) ภาคบริการอยู่ที่ระดับ 55.2 เพิ่มขึ้นจากระดับ 47.7 ในไตรมาสก่อน และเป็นระดับสูงสุดในรอบ 9 ไตรมาส สอดคล้องกับดัชนี ความเชื่อมั่นผู้บริโภคที่เพิ่มขึ้นมาอยู่ที่ระดับ 93.6 สูงสุดในรอบ 4 ไตรมาส ขณะที่ภาคอุตสาหกรรมการผลิตและการส่งออกยังเผชิญข้อจากัดจากการชะลอตัวของเศรษฐกิจโลกและมาตรการกีดกันทางการค้าของสหรัฐฯ ส่งผลให้การฟื้นตัวยังเป็นไปอย่างจากัดโดยมูลค่าการส่งออกสินค้าขยายตัวร้อยละ 0.1 เทียบกับการลดลงร้อยละ 6.9 ในไตรมาสก่อนหน้า ขณะที่ดัชนีผู้จัดการฝ่ายจัดซื้อภาคอุตสาหกรรมเพิ่มขึ้นมาอยู่ที่ระดับ 50.3 จากระดับ 49.2 ในไตรมาสก่อนหน้า นอกจากนี้ การลงทุนภาคเอกชนยังคงเผชิญกับข้อจากัดจากปัญหาการขาดสภาพคล่องและภาระหนี้สินของภาคอสังหาริมทรัพย์ ส่งผลให้การลงทุนในสินทรัพย์ถาวรชะลอตัว โดยเป็นผลจากการลดลงของการลงทุนในภาคอสังหาริมทรัพย์15 ทั้งนี้ ธนาคารกลางจีน (People's Bank of China: PBOC) ได้ผ่อนคลายนโยบายการเงินเพิ่มเติมอย่างต่อเนื่อง16 ควบคู่ไปกับการดาเนินมาตรการทางการคลังเพื่อกระตุ้นเศรษฐกิจของรัฐบาลโดยการขยายเป้าหมายการขาดดุลงบประมาณเพื่อส่งเสริมการใช้จ่ายและการลงทุนภายในประเทศ รวมถึงสนับสนุนการดาเนินโครงการของรัฐบาลท้องถิ่น17
เศรษฐกิจในกลุ่มประเทศอุตสาหกรรมใหม่ (NIEs) ส่วนใหญ่ชะลอตัวลงตามการลดลงของภาคการผลิตและภาคการส่งออกสอดคล้องกับการชะลอตัวของเศรษฐกิจโลก18 โดยเศรษฐกิจเกาหลีใต้และสิงคโปร์ขยายตัวร้อยละ 0.8 และร้อยละ 0.1 ชะลอลงจากร้อยละ 1.3 และร้อยละ 2.1 ในไตรมาสก่อนหน้า ส่วนเศรษฐกิจไต้หวันลดลงร้อยละ 3.0 ต่อเนื่องจากการลดลงร้อยละ 0.4 ในไตรมาสก่อนหน้า ขณะที่เศรษฐกิจฮ่องกงขยายตัวร้อยละ 2.7 ฟื้นตัวจากการลดลงร้อยละ 4.2 ในไตรมาสก่อนและเป็นการขยายตัวทางเศรษฐกิจครั้งแรกในรอบ 5 ไตรมาส ตามการฟื้นตัวของภาคบริการ ภายหลังจากผ่อนคลายมาตรการควบคุมการแพร่ระบาดและมาตรการเปิดประเทศ ขณะที่แรงกดดันด้านเงินเฟ้อยังคงอยู่ในระดับสูงแม้จะชะลอตัวลงจากช่วงก่อนหน้า19 ส่งผลให้ธนาคารกลางของประเทศต่าง ๆ ยังคงดาเนินนโยบายการเงินแบบเข้มงวดอย่างต่อเนื่อง20
14 ธนาคารกลางญี่ปุ่นในการประชุมเมื่อวันที่ 17 มกราคม และ 18 มีนาคม 2566 มีมติคงอัตราดอกเบี้ยระยะสั้นไว้ที่ร้อยละ (-0.1) รวมถึงการดาเนินมาตรการรักษาผลตอบแทนพันธบัตรรัฐบาลระยะยาว (Yield Curve Control) ไว้ที่ร้อยละศูนย์ต่อไป โดยธนาคารกลางญี่ปุ่นจะทาการซื้อสินทรัพย์พันธบัตรรัฐบาลระยะเวลา 10 ปีโดยไม่จากัดวงเงิน ด้วยอัตราดอกเบี้ยคงที่ร้อยละ 0.5 อย่างต่อเนื่อง (Fixed-rate purchase operation) โดยมีช่วงอัตราดอกเบี้ยการรับซื้อที่ร้อยละ ?0.5
15 การลงทุนในสินทรัพย์ถาวรในไตรมาสแรกของปี 2566 ขยายตัวร้อยละ 2.3 ชะลอลงจากร้อยละ 5.1 ในไตรมาสก่อนหน้า และเป็นอัตราการขยายตัว ที่ต่าสุดในรอบ 6 ไตรมาส และการลงทุนในอสังหาริมทรัพย์ลดลงร้อยละ 6.5 จากการลดลงร้อยละ 10.0 ลดลงต่อเนื่องเป็นไตรมาสที่สี่ติดต่อกัน
16 ธนาคารกลางจีน (PBOC) ได้ปรับลดสัดส่วนการดารงสินทรัพย์สภาพคล่อง (Required Reserve Ratio: RRR) ลงจากระดับร้อยละ 7.8 มาอยู่ที่ระดับ ร้อยละ 7.6 ตั้งแต่วันที่ 27 มีนาคม 2566 และยังคงอัตราดอกเบี้ยเงินกู้ลูกค้าชั้นดี (LPR) ระยะเวลา 1 ปี ไว้ที่ร้อยละ 3.65 ต่อไป
17 การประชุมสภาประชาชนแห่งชาติจีน (National People's Congress หรือ NPC) ที่ได้จัดขึ้นในวันที่ 5 มีนาคม 2566 รัฐบาลจีนได้ประกาศแนวทาง การกระตุ้นเศรษฐกิจในปี 2566 โดยได้ขยายเป้าหมายการขาดดุลงบประมาณของรัฐบาลเป็นร้อยละ 3.0 ต่อ GDP เพิ่มขึ้นจากเป้าหมายเดิมร้อยละ 2.8 ในปีก่อนหน้า ซึ่งมีวัตถุประสงค์เพื่อกระตุ้นการบริโภคภายในประเทศและการลงทุนของภาคเอกชน โดยเพิ่มการสนับสนุนทางด้านงบประมาณของรัฐบาลท้องถิ่น อาทิ เพิ่มการกระจายงบประมาณจากรัฐบาลกลางไปยังรัฐบาลท้องถิ่นสูงถึง 10.06 ล้านล้านหยวน หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ 3.6 จากปีก่อนหน้า รวมถึงเพิ่มเป้าหมายการออกพันธบัตรเพื่อวัตถุประสงค์พิเศษของรัฐบาลท้องถิ่น (Local Government Special-Purpose Bonds) เป็น 3.8 ล้านล้านหยวน ซึ่งสูงสุดเป็นประวัติการณ์ เพื่อใช้ในการลงทุนในโครงสร้างพื้นฐานและรองรับโครงการสาคัญที่ส่งผลต่อความเป็นอยู่ที่ดีของประชาชน
18 มูลค่าการส่งออกของสิงคโปร์ เกาหลีใต้ และไต้หวัน ในไตรมาสแรกของปี 2566 ลดลงร้อยละ 5.1 ร้อยละ 12.7 และร้อยละ 19.2 ตามลาดับ นับเป็น การลดลงติดต่อกันเป็นไตรมาสที่สอง ขณะที่มูลค่าการส่งออกของฮ่องกงลดลงร้อยละ 18.0 นับเป็นการลดลงติดต่อกันสี่ไตรมาส
19 อัตราเงินเฟ้อของสิงคโปร์ เกาหลีใต้ ไต้หวัน และฮ่องกงในไตรมาสที่ 1 ของปี 2566 อยู่ที่ร้อยละ 6.2 ร้อยละ 4.7 ร้อยละ 2.6 และร้อยละ 1.9 เทียบกับร้อยละ 6.6 ร้อยละ 5.2 ร้อยละ 2.6 และร้อยละ 1.8 ในไตรมาสก่อนหน้า
20 อย่างไรก็ตาม ธนาคารกลางเกาหลีใต้ในการประชุมเมื่อวันที่ 23 กุมภาพันธ์ 2566 ได้มีมติคงอัตราดอกเบี้ยนโยบายที่ร้อยละ 3.50 นับเป็นการคงอัตราดอกเบี้ยนโยบายครั้งแรกจากการปรับเพิ่มอัตราดอกเบี้ยนโยบายอย่างต่อเนื่องตั้งแต่กุมภาพันธ์ 2565 แต่ยังคงเป็นระดับที่สูงสุดนับตั้งแต่พฤศจิกายน 2551
กองยุทธศาสตร์และการวางแผนเศรษฐกิจมหภาค
15 พฤษภาคม 2566
25
NESDC
Economic Outlook
เศรษฐกิจประเทศกลุ่มอาเซียน ชะลอตัวตามตามเศรษฐกิจของประเทศคู่ค้าที่ส่งผลให้การส่งออกสินค้าปรับตัวลดลง21 โดยเศรษฐกิจฟิลิปปินส์ มาเลเซีย และเวียดนามในไตรมาสแรกขยายตัวร้อยละ 6.4 ร้อยละ 5.6 และร้อยละ 3.3 ชะลอลงจากร้อยละ 7.1 ร้อยละ 7.1 และ ร้อยละ 5.9 ในไตรมาสก่อนหน้า ขณะที่เศรษฐกิจอินโดนีเซียขยายตัวร้อยละ 5.0 เท่ากับไตรมาสก่อนหน้า ตามลาดับ สาหรับอัตราเงินเฟ้อยังคงอยู่ในระดับสูงกว่าเป้าหมายนโยบายการเงิน แต่เริ่มปรับตัวลดลงจากช่วงก่อนหน้า ประกอบกับปัญหาด้านเสถียรภาพด้านการเงิน ในตลาดโลกทาให้ธนาคารกลางเริ่มชะลอการขึ้นอัตราดอกเบี้ยนโยบาย22
21 มูลค่าการส่งออกสินค้าของอินโดนีเซียและมาเลเซียขยายตัวร้อยละ 1.6 และลดลงร้อยละ 1.7 ชะลอลงจากร้อยละ 8.0 และร้อยละ 2.4 ในไตรมาสก่อนหน้า ขณะที่การส่งออกสินค้าของฟิลิปปินส์และเวียดนามลดลงร้อยละ 13.2 และร้อยละ 11.7 เทียบกับการขยายตัวร้อยละ 8.6 และการลดลงร้อยละ 7.1 ในไตรมาสก่อนหน้า ตามลาดับ
22 ธนาคารกลางอินโดนีเซียและมาเลเซียมีมติคงอัตราดอกเบี้ยนโยบายไว้ที่ร้อยละ 5.75 และร้อยละ 2.75 ในการประชุมเมื่อวันที่ 16 มีนาคม 2566 และวันที่ 9 มีนาคม 2566 ขณะที่ธนาคารกลางฟิลิปปินส์ยังคงปรับขึ้นอัตราดอกเบี้ยจากร้อยละ 6.0 เป็นร้อยละ 6.25 ในการประชุมเมื่อวันที่ 23 มีนาคม 2566 ภายหลังจากที่อัตราเงินเฟ้อปรับเพิ่มขึ้นเป็นร้อยละ 8.3 ในไตรมาสแรกของปี 2566 สูงที่สุดนับตั้งแต่ไตรมาสที่สามของปี 2561
การขยายตัวของเศรษฐกิจ และมูลค่าการส่งออกของประเทศในภูมิภาคต่าง ๆ
(%YoY)
GDP
มูลค่าส่งออกสินค้า
2563
2564
2565
2566
2563
2564
2565
2566
ทั้งปี
ทั้งปี
Q3
Q4
ทั้งปี
Q1
ทั้งปี
ทั้งปี
Q3
Q4
ทั้งปี
Q1
ม.ค.
ก.พ.
มี.ค.
สหรัฐฯ
-2.8
5.9
1.9
0.9
2.1
1.6
-13.3
23.0
23.7
9.1
18.4
6.9
13.7
5.5
2.7
ยูโรโซน
-6.1
5.3
2.5
1.8
3.5
1.3
-7.2
18.1
2.5
2.4
5.0
สหราชอาณาจักร
-11.0
7.6
2.0
0.6
4.1
0.2
-11.3
13.6
20.4
5.0
11.5
11.4
2.1
ออสเตรเลีย
-1.9
5.2
5.8
2.7
3.6
-7.3
37.2
14.7
14.6
19.7
4.3
9.8
2.7
0.7
ญี่ปุ่น
-4.3
2.1
1.5
0.4
1.0
-9.1
17.9
-2.0
-4.6
-1.2
-8.0
-8.9
-7.7
-7.5
จีน
2.2
8.4
3.9
2.9
3.0
4.5
4.0
29.7
10.0
-6.9
7.0
0.1
-10.7
-1.6
14.3
อินเดีย
-6.0
8.9
6.3
4.4
6.7
-14.7
43.0
7.8
-2.1
14.6
-5.0
1.6
-0.4
-13.9
เกาหลีใต้
-0.7
4.1
3.1
1.3
2.6
0.8
-5.5
25.7
5.8
-10.0
6.1
-12.7
-16.4
-7.6
-13.8
ไต้หวัน
3.4
6.5
3.6
-0.4
2.5
-3.0
4.9
29.3
3.4
-8.7
7.4
-19.2
-21.2
-17.1
-19.1
ฮ่องกง
-6.5
6.4
-4.6
-4.2
-3.5
2.7
-0.5
26.0
-11.6
-22.0
-9.3
-18.0
-36.9
-9.3
-1.8
สิงคโปร์
-3.9
8.9
4.0
2.1
3.6
0.1
-4.1
22.1
19.5
-4.4
12.7
-5.1
-7.9
-2.2
-5.2
อินโดนีเซีย
-2.1
3.7
5.7
5.0
5.3
5.0
-2.7
41.9
27.3
8.0
26.1
1.6
16.4
4.4
-11.3
มาเลเซีย
-5.5
3.3
14.1
7.1
8.7
5.6
-2.3
27.5
29.4
2.4
17.7
-1.7
-1.7
5.3
-7.3
ฟิลิปปินส์
-9.5
5.7
7.7
7.1
7.6
6.4
-8.1
14.5
0.6
8.6
5.7
-13.2
-13.1
-18.1
-9.1
เวียดนาม
2.9
2.6
13.7
5.9
8.0
3.3
6.9
18.9
15.8
-7.1
10.3
-11.7
-25.9
11.7
-14.4
ที่มา: CEIC รวบรวมโดย สศช.
กองยุทธศาสตร์และการวางแผนเศรษฐกิจมหภาค
15 พฤษภาคม 2566
26
NESDC
Economic Outlook
เศรษฐกิจโลกในปี 2566 มีแนวโน้มขยายตัวในอัตราชะลอลงจากปี 2565 ตามการชะลอตัวของประเทศเศรษฐกิจหลักและกลุ่มประเทศเศรษฐกิจเกิดใหม่และประเทศกาลังพันนา โดยเป็นผลมาจากการปรับขึ้นอัตราดอกเบี้ยนโยบายอย่างต่อเนื่องในช่วงที่ผ่านมาซึ่งส่งผลกระทบต่อการฟื้นตัวของอุปสงค์ภายในประเทศ ขณะที่กลุ่มประเทศเศรษฐกิจเกิดใหม่และประเทศกาลังพันนาชะลอตัวลงตามการลดลงของการผลิตภาคอุตสาหกรรมและการส่งออกสอดคล้องกับการชะลอตัวลงของเศรษฐกิจและการค้าโลกที่ยังคงมีแนวโน้มที่เผชิญกับข้อจากัดจากปัญหาความขัดแย้งเชิงภูมิรัฐศาสตร์โดยเฉพาะความขัดแย้งระหว่างสหรัฐฯ และจีน จีนและไต้หวัน และรัสเซียและยูเครนที่ยังคงยืดเยื้อและ มีความไม่แน่นอน อย่างไรก็ดี เศรษฐกิจโลกในช่วงครึ่งหลังของปีคาดว่าเศรษฐกิจโลกมีแนวโน้มที่จะได้รับแรงสนับสนุนจากการชะลอการปรับขึ้นอัตราดอกเบี้ยนโยบายของธนาคารกลางภายหลังจากแรงกดดันเงินเฟ้อเริ่มผ่อนคลาย และการฟื้นตัวของภาคบริการท่องเที่ยวโดยเฉพาะเศรษฐกิจจีนที่มีแนวโน้มฟื้นตัวดีขึ้นภายหลังจากการยกเลิกมาตรการควบคุมการแพร่ระบาดและการเปิดประเทศ ทั้งนี้ ในกรณีฐานคาดว่าเศรษฐกิจโลกและปริมาณการค้าโลกในปี 2566 มีแนวโน้มที่จะขยายตัวร้อยละ 2.7 และร้อยละ 2.1 ชะลอลงจากร้อยละ 3.4 และร้อยละ 5.1 ในปี 2565 ตามลาดับ
เศรษฐกิจสหรัฐฯ คาดว่าจะขยายตัวร้อยละ 0.9 ในปี 2566 ชะลอลงจากร้อยละ 2.1 ในปี 2565 ตามการชะลอตัวของการผลิตภาคอุตสาหกรรม สะท้อนจากดัชนีผู้จัดการฝ่ายจัดซื้อภาคอุตสาหกรรมในเดือนเมษายน 2566 อยู่ที่ 50.3 เทียบกับ 59.2 ในช่วงเดียวกันของปีก่อน ขณะเดียวกัน การลงทุนภาคเอกชนมีแนวโน้มชะลอลงเนื่องจากผลกระทบของการปรับขึ้นอัตราดอกเบี้ยนโยบายในช่วงที่ผ่านมา โดยเฉพาะการลงทุนในหมวด ที่อยู่อาศัยที่ยังคงลดลงอย่างต่อเนื่องสอดคล้องกับจานวนยอดขายบ้านและการขอสินเชื่อที่อยู่อาศัย ที่มีแนวโน้มปรับตัวลดลง นอกจากนี้ การฟื้นตัวของเศรษฐกิจสหรัฐฯ ยังมีข้อจากัดและความเสี่ยงจากปัญหาเสถียรภาพของสถาบันการเงิน และปัญหาเพดานหนี้สาธารณะที่ยังคงมี ความไม่แน่นอน23 อย่างไรก็ดี เศรษฐกิจสหรัฐฯ ยังมีแรงสนับสนุนจากการขยายตัวของการบริโภคภายในประเทศ สอดคล้องกับตลาดแรงงาน ที่ยังอยู่ในเกณฑ์ดี และแนวโน้มการชะลอการปรับขึ้นอัตราดอกเบี้ยนโยบายตามแรงกดดันเงินเฟ้อที่เริ่มลดลง24 ทั้งนี้ คาดว่าในกรณีฐาน ธนาคารกลางสหรัฐฯ จะชะลอการปรับขึ้นอัตราดอกเบี้ยนโยบายในช่วงครึ่งแรกของปีก่อนและจะคงระดับไว้จนถึงสิ้นปี 2566
เศรษฐกิจยูโรโซน คาดว่าจะขยายตัวร้อยละ 0.5 ชะลอตัวลงจากร้อยละ 3.5 ในปี 2565 ตามการชะลอตัวของการผลิตภาคอุตสาหกรรม และการส่งออก สอดคล้องกับการชะลอตัวลงของเศรษฐกิจโลกและผลกระทบความมั่นคงด้านพลังงานจากความยืดเยื้อของสงครามระหว่างรัสเซียและยูเครน โดยเห็นได้จากดัชนีผู้จัดการฝ่ายจัดซื้อภาคอุตสาหกรรมในเดือนเมษายน 2566 ลดลงมาอยู่ที่ 45.8 ต่าสุดในรอบ 36 เดือน ประกอบกับอุปสงค์ภายในประเทศที่ยังมีข้อจากัดของการฟื้นตัวจากผลกระทบของการปรับขึ้นอัตราดอกเบี้ยในช่วงที่ผ่านมาสอดคล้องกับการลดลงของ การปล่อยสินเชื่อ รวมทั้งความเสี่ยงจากปัญหาสภาพคล่องของสถาบันการเงิน อย่างไรก็ดี เศรษฐกิจยูโรโซนมีแนวโน้มที่จะได้รับแรงสนับสนุนจากการฟื้นตัวของภาคบริการ สะท้อนจากดัชนีผู้จัดการฝ่ายจัดซื้อภาคบริการในเดือนเมษายน 2566 ที่เพิ่มขึ้นมาอยู่ที่ระดับ 56.2 สูงสุดในรอบ 12 เดือน นอกจากนี้ เศรษฐกิจของหลายประเทศสมาชิกมีแนวโน้มที่ลดการพึ่งพิงพลังงานจากรัสเซียได้มากขึ้น รวมถึงแรงสนับสนุนจากการดาเนินมาตรการทางการคลังขนาดใหญ่ในระยะปานกลางของสหภาพยุโรป25 ขณะที่ในกรณีฐานคาดว่าธนาคารกลางยุโรปจะปรับขึ้นอัตราดอกเบี้ยนโยบายอย่างต่อเนื่องไปจนถึงปลายปี 2566 หรือจนกว่าจะสามารถควบคุมอัตราเงินให้อยู่ในระดับเป้าหมายไปพร้อมกับดาเนินมาตรการทางการเงินอื่น ๆ เพื่อลดผลกระทบของการขึ้นอัตราดอกเบี้ย26
23 หนี้สาธารณะของสหรัฐฯ ณ วันที่ 4 พฤษภาคม 2566 อยู่ที่ 31.45 ล้านล้านดอลลาร์ สรอ. และเฉลี่ยอยู่ที่ 31.44 ล้านล้านดอลลาร์ สรอ. ในไตรมาสแรกของปี 2566 คิดเป็นร้อยละ 155.3 ของผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศ (GDP) โดยหนี้สาธารณะของสหรัฐฯ อยู่ในระดับเท่ากับเพดานหนี้สาธารณะซึ่งกาหนดไว้ที่ 31.38 ล้านล้านดอลลาร์ สรอ. ตั้งแต่เดือนมกราคม 2566 ส่งผลให้รัฐบาลสหรัฐฯ ต้องใช้มาตรการพิเศษเพื่อให้รัฐบาลสามารถดาเนินการต่าง ๆ ต่อไปได้ อย่างไรก็ตามภายในเดือนมิถุนายน 2566 หากระดับหนี้สาธารณะไม่ได้รับการปรับเพิ่มก็จะไม่มีงบประมาณในการดาเนินงานต่าง ๆ รวมถึงมีความเสี่ยงต่อการผิดนัดชาระหนี้ ซึ่งจะส่งผลกระทบต่อความเชื่อถือและเสถียรภาพทางเศรษฐกิจของประเทศ โดยกระทรวงการคลังสหรัฐฯ (U.S. Department of the Treasury) และสานักงานงบประมาณรัฐสภา (Congressional Budget Office) ได้มีการประเมินผลกระทบจากการผิดนัดชาระหนี้ของสหรัฐฯ ว่าในระยะสั้นจะส่งผลต่อเศรษฐกิจสหรัฐฯ ให้ปรับตัวลดลงร้อยละ 0.6 และมีการว่างงานเพิ่มขึ้น 500,000 คน
24 ในการประชุมเมื่อวันที่ 2 - 3 พฤษภาคม 2566 คณะกรรมการนโยบายการเงินของธนาคารกลางสหรัฐฯ (FOMC) ได้มีมติปรับขึ้นอัตราดอกเบี้ยนโยบายอีกร้อยละ 0.25 ส่งผลให้อัตราดอกเบี้ยนโยบายอยู่ในช่วงร้อยละ 5.00 - 5.25
25 ตามกรอบงบประมาณรายจ่ายระยะยาวของสหภาพยุโรปในช่วงปี 2564 - 2570 วงเงิน 1.21 ล้านล้านยูโร รวมถึงงบประมาณเพิ่มเติมจากแผนฟื้นฟูเศรษฐกิจ Next Generation EU วงเงิน 8.07 แสนล้านยูโร โดย ณ วันที่ 27 เมษายน 2566 มีการเบิกจ่ายไปแล้วทั้งสิ้น 1.02 แสนล้านยูโร นอกจากนี้ เมื่อรวมกับงบประมาณสาหรับมาตรการชั่วคราวเพื่อฟื้นฟูและกระตุ้นเศรษฐกิจอื่น ๆ วงเงินงบประมาณทั้งหมดที่จัดสรรในขณะนี้มีมูลค่าถึง 2.02 ล้านล้านยูโร ซึ่งถือเป็นงบประมาณเพื่อใช้ในการกระตุ้นเศรษฐกิจที่ใหญ่ที่สุดเป็นประวัติการณ์
26 การประชุมคณะกรรมการนโยบายการเงินธนาคารกลางยุโรป เมื่อวันที่ 4 พฤษภาคม 2566 ECB ได้มีมติขึ้นอัตราดอกเบี้ยนโยบายอีกร้อยละ 0.25 ส่งผลให้อัตราดอกเบี้ย Refinancing Operations Rate อัตราดอกเบี้ย Marginal Lending Facility และอัตราดอกเบี้ยเงินฝากที่ธนาคารพาณิชย์ของแต่ละประเทศที่ฝากไว้กับธนาคารกลางอยู่ที่ร้อยละ 3.75 ร้อยละ 4.00 และร้อยละ 3.25 ตามลาดับ ซึ่งเป็นการปรับเพิ่มอัตราดอกเบี้ยเป็นครั้งที่ 7 ติดต่อกัน และเป็นอัตราดอกเบี้ยที่สูงที่สุดนับตั้งแต่วิกฤตทางการเงินในปี 2551 นอกจากนี้ ECB ยังได้ปรับลดการขยายปริมาณเงิน โดยการยุติลงทุนโดยใช้เงินต้นจากพันธบัตรที่ครบกาหนดไถ่ถอนของสินทรัพย์ภายใต้โครงการ Asset Purchase Programme (APP) ตั้งแต่เดือนมีนาคม - มิถุนายน 2566 ซึ่งจะส่งผลให้สินทรัพย์ที่ ECB ถือครองลดลงเฉลี่ยประมาณ 1.5 หมื่นล้านยูโรต่อเดือนจนถึงสิ้นไตรมาสที่สองของปี 2566 แล้วจึง พิจารณาแนวทางการปรับเปลี่ยนนโยบายเพื่อความเหมาะสมกับสถานการณ์ต่อไป
4. แนวโน้มเศรษฐกิจโลกในปี 2566
กองยุทธศาสตร์และการวางแผนเศรษฐกิจมหภาค
15 พฤษภาคม 2566
27
NESDC
Economic Outlook
เศรษฐกิจญี่ปุ่น คาดว่าจะขยายตัวร้อยละ 1.5 ในปี 2566 เทียบกับร้อยละ 1.0 ในปี 2565 โดยมีแรงสนับสนุนจากการฟื้นตัวของอุปสงค์ภายในประเทศตามความต้องการจับจ่ายใช้สอยที่มีแนวโน้มเร่งขึ้น (Pent-up demand) ภายหลังการผ่อนคลายมาตรการควบคุมการแพร่ระบาดทั้งภายในประเทศและการเดินทางระหว่างประเทศ รวมถึงแรงสนับสนุนจากการดาเนินมาตรการส่งเสริมการลงทุนเพื่อปรับโครงสร้างเศรษฐกิจ อย่างไรก็ดี เศรษฐกิจญี่ปุ่นยังเผชิญกับความเสี่ยงจากการชะลอตัวของเศรษฐกิจโลกที่จะส่งผลต่อภาคการผลิตและการส่งออก รวมถึงแนวโน้มการอ่อนค่าของอัตราแลกเปลี่ยนจากการดาเนินนโยบายการเงินแบบผ่อนคลายอย่างต่อเนื่อง ท่ามกลางการปรับขึ้นอัตราดอกเบี้ยนโยบายของประเทศเศรษฐกิจหลักซึ่งจะทาให้ต้นทุนนาเข้าสินค้าสูงขึ้นและสร้างแรงกดดันต่อเงินเฟ้อรวมถึงส่งผลให้ดุลการค้าของญี่ปุ่นมีแนวโน้มขาดดุลอย่างต่อเนื่อง อย่างไรก็ตาม ธนาคารกลางญี่ปุ่นได้ส่งสัญญาณของการชะลอการดาเนินนโยบายการเงินแบบผ่อนคลายผ่านการขยายกรอบอัตราดอกเบี้ยการซื้อพันธบัตรรัฐบาลระยะเวลา 10 ปี ทั้งนี้ ในกรณีฐานธนาคารกลางญี่ปุ่นมีแนวโน้มที่จะดาเนินนโยบายการเงินแบบผ่อนคลายอย่างต่อเนื่อง
เศรษฐกิจจีน คาดว่าจะขยายตัวร้อยละ 4.9 ในปี 2566 เร่งขึ้นจากร้อยละ 3.0 ในปี 2565 โดยได้รับแรงสนับสนุนจากการผ่อนคลายมาตรการควบคุมการแพร่ระบาดต่อเนื่องตั้งแต่ช่วงปลายปี 2565 และนโยบายการเปิดประเทศนับตั้งแต่วันที่ 8 มกราคม 2566 ที่ส่งผลให้กิจกรรมทางเศรษฐกิจและการใช้จ่ายภายในประเทศ รวมทั้งภาคบริการฟื้นตัวดีขึ้น สะท้อนจากดัชนีผู้จัดการฝ่ายจัดซื้อภาคบริการในเดือนเมษายน 2566 อยู่ที่ 56.4 เทียบกับ 36.2 ในเดือนเดียวกันของปีก่อนหน้า นอกจากนี้ การฟื้นตัวของอุปสงค์ภายในประเทศยังได้รับแรงสนับสนุนจาก การดาเนินนโยบายการเงินแบบผ่อนคลายเพิ่มเติมของธนาคารกลางจีนเพื่อเพิ่มสภาพคล่องให้กับระบบเศรษฐกิจ ควบคู่ไปกับการดาเนินมาตรการกระตุ้นเศรษฐกิจทางการคลังอย่างต่อเนื่อง27 อย่างไรก็ดี เศรษฐกิจจีนยังมีความเสี่ยงจากภาคการผลิตอุตสาหกรรมและการส่งออก ที่สินค้าปรับตัวลดลงท่ามกลางผลกระทบจากการดาเนินมาตรการทางการค้าของสหรัฐฯ ภายใต้มาตรการ CHIPS and Science Act ดังจะเห็นได้จากดัชนีผู้จัดการฝ่ายจัดซื้อ (Caixin PMI) ภาคอุตสาหกรรมในเดือนเมษายน 2566 อยู่ที่ 49.5 เป็นการลดลงต่ากว่า 50 ครั้งแรกในรอบ 3 เดือน ขณะที่การลงทุนยังเผชิญกับข้อจากัดจากปัญหาการขาดสภาพคล่องและภาระหนี้สินในภาคอสังหาริมทรัพย์ที่ยังส่งผลให้ยอดขายบ้านยังคงอยู่ในระดับต่า
เศรษฐกิจกลุ่มประเทศอุตสาหกรรมใหม่ (NIEs) มีแนวโน้มชะลอลงตามการส่งออกและภาคอุตสาหกรรมการผลิต สอดคล้องกับการชะลอตัวของเศรษฐกิจและการค้าโลก ขณะที่การบริโภคและการลงทุนยังมีข้อจากัดจากอัตราดอกเบี้ยที่ปรับตัวสูงขึ้นในช่วงที่ผ่านมาท่ามกลาง แรงกดดันด้านเงินเฟ้อที่มีแนวโน้มอยู่ในระดับสูงอย่างต่อเนื่อง อย่างไรก็ดี เศรษฐกิจยังมีแนวโน้มได้รับแรงสนับสนุนจากการขยายตัวของ ภาคบริการภายหลังการดาเนินการผ่อนคลายมาตรการควบคุมการแพร่ระบาดและนโยบายเปิดประเทศของจีน ทั้งนี้ ในปี 2566 คาดว่าเศรษฐกิจไต้หวันและสิงคโปร์จะขยายตัวร้อยละ 1.8 และร้อยละ 1.8 ชะลอลงจากร้อยละ 2.5 และร้อยละ 3.6 ในปีก่อนหน้า สาหรับเศรษฐกิจเกาหลีใต้คาดว่าจะขยายตัวร้อยละ 1.7 ชะลอลงจากร้อยละ 2.6 ในปีก่อนหน้า ขณะที่เศรษฐกิจฮ่องกงคาดว่าจะขยายตัวร้อยละ 3.3 ฟื้นตัวจากการลดลงร้อยละ 3.5 ในปี 2565
เศรษฐกิจอาเซียน มีแนวโน้มชะลอตัวลงตามแนวโน้มเศรษฐกิจประเทศคู่ค้าสาคัญ อย่างไรก็ตาม เศรษฐกิจยังได้รับแรงสนับสนุนจากการฟื้นตัว ของภาคการท่องเที่ยวจากการผ่อนคลายมาตรการควบคุมการเดินทางระหว่างประเทศโดยเฉพาะอย่างยิ่งประเทศจีน ขณะที่ธนาคารกลางเริ่มชะลอการปรับขึ้นอัตราดอกเบี้ยภายหลังจากแรงกดดันอัตราเงินเฟ้อผ่อนลง28 ทั้งนี้ คาดว่าในปี 2566 เศรษฐกิจอินโดนีเซีย มาเลเซีย ฟิลิปปินส์ และเวียดนาม จะขยายตัวร้อยละ 4.5 ร้อยละ 4.2 ร้อยละ 5.0 และร้อยละ 5.2 ชะลอตัวลงจากร้อยละ 5.3 ร้อยละ 8.7 ร้อยละ 7.6 และ ร้อยละ 8.0 ในปี 2565 ตามลาดับ
27 จากการประชุมสภาจีนประจาปี 2566 (China Two Sessions 2023) ที่เริ่มต้นเมื่อวันที่ 4 - 13 มีนาคม 2566 รัฐบาลจีนได้มีการประกาศเป้าหมายและแผนพันนาเศรษฐกิจที่สาคัญ โดยในปี 2566 จะให้ความสาคัญกับการกระตุ้นเศรษฐกิจผ่านการบริโภคและการลงทุนภายในประเทศ โดยเฉพาะการลงทุน ที่เกี่ยวข้องกับความก้าวหน้าทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี การฟื้นฟูชนบท รวมถึงการปกป้องสิ่งแวดล้อม ซึ่งสอดคล้องกับยุทธศาสตร์การพันนาแบบวงจรคู่ขนาน (Dual Circulation) ที่เน้นการพึ่งพาเศรษฐกิจภายในประเทศ ควบคู่ไปกับการลดการพึ่งพาปัจจัยการผลิตจากต่างประเทศ โดยเฉพาะด้านเทคโนโลยี เพื่อแก้ไขปัญหาการกีดกันทางการค้าและเทคโนโลยีจากต่างประเทศ โดยมีการปรับโครงสร้างกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี และจัดสรรเงิน 6.5 พันล้านหยวนสาหรับความก้าวหน้าทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีในระดับท้องถิ่นและโครงการภายใต้ Sci-Tech Innovation 2030 รวมถึงนโยบายการลดภาษีและค่าธรรมเนียมของธุรกิจที่ดาเนินตามเป้าหมาย นอกจากนี้ รัฐบาลจีนยังคงดาเนินมาตรการแก้ปัญหาและลดข้อจากัดด้านเงื่อนไขทางการเงินเพื่อช่วยเหลือภาคครัวเรือนผ่านการเพิ่มบทบาทของประกันสังคมและภาคธุรกิจที่ได้รับผลกระทบ โดยเฉพาะธุรกิจขนาดเล็ก และธุรกิจในภาคอสังหาริมทรัพย์
28 ธนาคารกลางอินโดนีเซียมีมติคงอัตราดอกเบี้ยนโยบายไว้ที่ร้อยละ 5.75 ในวันที่ 18 เมษายน 2566 ขณะที่ธนาคารกลางเวียดนามปรับลดอัตราดอกเบี้ยนโยบายจากร้อยละ 6.0 เหลือร้อยละ 5.5 ในการประชุมเมื่อวันที่ 31 มีนาคม 2566
กองยุทธศาสตร์และการวางแผนเศรษฐกิจมหภาค 15 พฤษภาคม 2566 28
Economic Outlook NESDC
วิกฤติสถาบันการเงินของสหรัฐอเมริกาและยุโรป
ธนาคาร o ( ) ประกาศขายพันธบัตรรัฐบาลสหรัฐฯ
ทั้งสิ้น 2.1 หมื่นล้านดอลลาร์ สรอ. และขายหุ้นธนาคารมูลค่ารวม 2.25
พันล้านดอลลาร์ สรอ. ส่งผลให้มีการขาดทุน จากราคา ณ วันที่ซื้อประมาณ
1.8 พันล้านดอลลาร์ สรอ. และธนาคาร ประกาศล้มละลายจาก
การลงทุนในคริปโตเคอร์เรนซีและต้นทุนดอกเบี้ยที่สูงขึ้น
มี.ค. 66
ธนาคาร ประกาศล้มละลาย โดยเงินฝากมลู ค่า 1.8 พันล้านดอลลาร์ สรอ.
ได้ถูกโอนไปยัง Deposit Insurance National Bank of Santa Clara (DINB)
ภายใต้การกากับของสถาบันคุ้มครองเงิน กของสหรัฐฯ ( DI )
1 มี.ค. 66
ธนาคาร ประกาศล้มละลาย โดยมีสาเหตุสาคัญมาจากการขาด
สภาพคล่องจากการขาดทุนในพันธบัตรรฐั บาลระยะยาวภายใตก้ รปรับเพิ่มขึ้น
ของอัตราดอกเบี้ย ธนาคารกลางสหรัฐฯ ประกาศมาตรการเพิ่มสภาพคล่อง
แก่สถาบันการเงินผ่านโครงการ Bank Term Funding Program โดย เสนอ
เงินกู้อายุ 1 ปีให้กับธนาคารพาณิชย์ สถาบันรับฝากเงิน เครดิตยูเนี่ยน และ
สถาบันการเงินประเภทอื่น ๆ โดยสถาบันการเงินที่อยู่ในเกณฑ์ที่จะได้รับเงินกู้
ดังกล่าวจะต้องยื่นหลักทรัพยค์ ประกัน เช่น พันธบัตรรัฐบาล ตราสารหนี้ และ
ตราสารหนี้ที่มีสินเชื่อที่อยู่อาศัยเป็นหลักประกันจานอง กระท รวงการคลัง
สหรัฐฯ จะจัดสรรเงินทุนมูลค่า 25,000 ล้านดอลลาร์ สรอ. จ กกองทุน
Exchange Sta ili ation Fund เพื่อสมทบโครงการดังกล่าว เพื่อป้องกัน
ความตื่นตระหนกที่อาจจะเกิดขึ้นต่อระบบสถาบันการเงินของสหรัฐฯ
12 มี.ค. 66
ธนาคาร o o ( ) ซึ่งเป็นธนาคารที่มีขนาดใหญ่
อันดับหนึ่งในสวิตเซอร์แลนด์ ทาการเข้าซื้อกิจการของธนาคารเครดิตสวิสด้วย
วงเงิน 3 พันล้านดอลลาร์ สรอ. ทั้งนี้ การควบรวมกิจ การดังกล่าวไม่ผ่าน
ผลการประชุมผู้ถือหุ้นของธนาคารเครดิตสวิส
1 มี.ค. 66
ธนาคาร ประกาศล้มละลาย ต่อมาสถาบันคุ้มครองเงิน กของสหรัฐฯ
( DI ) ได้เข้ามาควบคุมกิจการของธนาคาร FRC และได้ขายกิจ การให้กับ
ธนาคาร PMorgan Chase เพื่อให้ธนาคาร ทั้ง 84 สาขาสามารถเปิด
ให้บริการอีกครั้ง
1 พ.ค. 66
ผู้ฝากเงินของธนาคาร ที่ได้รับการค้าประกันผ่าน DINB จะสามารถเข้าถึง
เงินฝากส่วนที่ได้รับความคุ้มครอง 250,000 ดอลลาร์ สรอ. ต่อ 1 บัญชี และจะจ่าย
ดอกเบี้ยล่วงหน้าให้แก่ผู้ฝากเงินที่ไม่มีประกันภายในสัปดาห์หน้า
13 มี.ค. 66
หุ้นของธนาคารเครดิตสวิส ( ss ) ได้ตกลงมาสู่ระดับต่าสุด
เป็นประวัติการณ์โดยสาเหตุหลักมาจากการผิดนัดชาระหนี้ของลูกหนี้รายใหญ่
อาทิ กองทุน Archegos และสถาบันการเงิน Greensill Capital หน่วยงาน
กากับดูแลตลาดการเงินของสวิตเซอร์แลน ด์ ( ss
so o IN ) และธนาคารกลางของสวิตเซอร์แลนด์
( ss N o N ) ได้ออกแถลงการณ์ร่วมกันว่าจะติดตามสถานการณ์
ของธนาคารเครดิตสวิส พร้อมทั้งให้กู้เงินจานวน 5.4 หมื่นล้านดอลลาร์ สรอ.
15 มี.ค. 66
ธนาคาร s ซึ่งกาลังประสบปัญหาการขาดสภาพคล่องจนทาให้
กระทรวงการคลังสหรัฐฯ จาเป็นต้องขอความร่วมมือให้ธนาคารพาณิชย์อื่น ๆ
รวม 11 แห่ง อาทิ ธนาคาร PMorgan Chase ธนาคาร Bank of America
ธนาคาร ells Fargo และ ธนาคาร Citigroup ช่วยกันเพิ่มสภาพคล่อง
โดยการฝากเงินกับธนาคาร First Repu lic มลู ค่ารวมทั้งสนิ้ 3 หมื่นล้านดอลลาร์ สรอ.
ธนาคารกลางสหภาพยุโรป (E o E ) ในการประชุม
คณะกรรมการนโยบายการเงิน ได้ตัดสินใจเพิ่มความสาคัญกับการใช้ข้อมูล
ปัจจุบันในการกาหนดทิศทางนโยบายการเงิน (Data-dependent Approach)
ภายหลังปัญหาเสถียรภาพทางการเงินทั้งในสหรัฐฯ และสวิตเซอร์แลนด์
16 มี.ค. 66
80.0
90.0
100.0
110.0
120.0
130.0
140.0
ต.ค. 65 ม.ค. 66 เม.ย. 66
ดัชนีตลาดหลักทรัพย์
S&P 500 SET Hang Seng CAC40 SIX (Swiss Exchange)
3 ต.ค. 65 = 100
วิกฤตธนาคาร SVB
80.0
90.0
100.0
110.0
120.0
130.0
140.0
ต.ค. 65 ม.ค. 66 เม.ย. 66
ดัชนีตลาดหลักทรัพย์เ พาะบริษัทภาคธนาคารและการเงิน
S&P 500 SET Hang Seng CAC40 SIX (Swiss Exchange)
3 ต.ค. 65 = 100
วิกฤตธนาคาร SVB
70
90
110
130
150
2558 2559 2560 2561 2562 2563 2564 2565 2566
ดัชนีปริมาณเงินากในธนาคารพาณิชย์ (2562 = 100)
ยุโรป สหรัฐฯ
ที่มา: CEIC
0
20
40
60
80
2543 2546 2549 2552 2555 2558 2561 2564 2567
ร้อยละ
ความน่าจะเป นที่จะเกิดภาวะเศรษฐกิจตกต่า
Dotcom Crisis
Sub-prime crisis
COVID-19 pandemic
ที่มา: New York Fed
หมายเหตุ: ความน่าจะเป็นในการเกิดภาวะเศรษฐกิจถดถอยเป็นการประมาณการที่ใช้ข้อมูลจากผลตอบแทนพันธบัตร
รัฐบาลสหรัฐฯ เป็นสาคัญ
กองยุทธศาสตร์และการวางแผนเศรษฐกิจมหภาค 15 พฤษภาคม 2566 29
Economic Outlook NESDC
แนวโน้มการฟื้นตัวของเศรษฐกิจจีนยังเผชิญกับข้อจากัด
เศรษฐกิจจีนฟื้นตัวอย่างต่อเนื่องหลังจากที่รัฐบาลได้ประกาศยกเลิกมาตรการควบคุมการแพร่ระบาด (Zero-COVID Policy) ตั้งแต่ช่วง
ปลายไตรมาสที่สี่ของปี 2565 และนโยบายเปิดประเทศตั้งแต่วันที่ 8 มกราคม 2566 ส่งผลให้กิจกรรมทางเศรษฐกิจภายในประเทศฟื้นตัว
อย่างต่อเนื่อง ส่งผลให้เศรษฐกิจในไตรมาสแรกของปี 2566 ขยายตัวร้อยละ 4.5 เป็นการขยายตัวสูงสุดในรอบ 4 ไตรมาส โดยมีแรงสนับสนุนจาก
การขยายตัวดีขึ้นของการบริโภคภายในประเทศและการฟื้นตัวของภาคบริการ สอดคล้องกับดัชนีผู้จัดการฝ่ายซื้อ (Caixin PMI) โดยรวม
ในไตรมาสแรกอยู่ในระดับสูงกว่า 50 และเป็นระดับสูงสุดในรอบ 9 ไตรมาส โดยเฉพาะดัชนีด้านบริการที่เพิ่มสูงสุดในรอบ 9 ไตรมาส นอกจากนี้
ยอดมูลค่าการค้าปลีกขยายตัวอย่างต่อเนื่อง สอดคล้องกับดัชนีความเชื่อมั่นผู้บริโภคในเดือนมีนาคม 2566 ที่เพิ่มขึ้นมาอยู่ที่ระดับ 94.9 สูงสุด
ในรอบ 12 เดือน เช่นเดียวกับการเพิ่มขึ้นของการเดินทางภายในประเทศ สะท้อนจากจานวนเที่ยวบินและจานวนผู้โดยสารที่เดินทางภายในประเทศ
เพิ่มสูงขึ้นใกล้เคียงกับระดับก่อนหน้าการแพร่ระบาด
อย่างไรก็ตาม แนวโน้มการฟื้นตัวของเศรษฐกิจจีนในระยะต่อไปยังคงมีข้อจากัดในการฟื้นตัวที่สาคัญ ได้แก่ (1) การลงทุนที่อยู่ในระดับต่า
โดยเฉพาะอย่างยิ่งในภาคอสังหาริมทรัพย์ที่ยังคงประสบกับปัญหาการขาดสภาพคล่องและภาระหนี้สิน โดยแม้ว่ายอดขายอสังหาริมทรัพย์ สินเชื่อ
และระดับราคาจะเริ่มฟื้นตัวได้อย่างช้า ๆ ในช่วงไตรมาสสุดท้ายของปี 2565 แต่ยังขยายตัวในอัตราต่าและอยู่ในระดับที่ต่ากว่าช่วงก่อนการแพร่
ระบาด (2) ภาคการผลิตอุตสาหกรรมและการส่งออกยังเผชิญกับข้อจากัดจากมาตรการทางการค้าและการลงทุนของสหรัฐฯ ภายใต้มาตรการ
CHIPS and Science Act สะท้อนจากดัชนีผลผลิตอุตสาหกรรมและการส่งออกที่ยังอยู่ในระดับต่า และ (3) อัตราการว่างงานในกลุ่มคนอายุน้อย
ยังอยู่ในระดับสูง แม้ว่าอัตราการว่างงานในเขตเมืองอยู่ในระดับใกล้เคียงกับช่วงก่อนหน้าการแพร่ระบาด แต่อัตราการว่างงานของกลุ่มแรงงานอายุ
16 - 24 ปี (Young Unemployment Rate) เพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง สะท้อนข้อจากัดของเศรษฐกิจในการสร้างตาแหน่งงานเพิ่มเติมเพื่อรองรับ
แรงงานกลุ่มใหม่
-10
-5
0
5
10
15
20
Q1/61
Q2/61
Q3/61
Q4/61
Q1/62
Q2/62
Q3/62
Q4/62
Q1/63
Q2/63
Q3/63
Q4/63
Q1/64
Q2/64
Q3/64
Q4/64
Q1/65
Q2/65
Q3/65
Q4/65
Q1/66
Real GDP Growth
ที่มา: CEIC ณ วันที่ 10 พฤษภาคม 2566
%YoY
-30
-20
-10
0
10
20
30
40
ม.ค. 53
ม.ค. 55
ม.ค. 57
ม.ค. 59
ม.ค. 61
ม.ค. 63
ม.ค. 65
การลงทุนในสินทรัพย์ถาวร
%YoY
ที่มา: CEIC ณ วันที่ 10 พฤษภาคม 2566
-
100,000
200,000
300,000
400,000
500,000
600,000
0
1,000
2,000
3,000
4,000
5,000
6,000
7,000
ม.ค. 62
เม.ย. 62
ก.ค. 62
ต.ค. 62
ม.ค. 63
เม.ย. 63
ก.ค. 63
ต.ค. 63
ม.ค. 64
เม.ย. 64
ก.ค. 64
ต.ค. 64
ม.ค. 65
เม.ย. 65
ก.ค. 65
ต.ค. 65
ม.ค. 66
จานวนผู้โดยสารเดินทางโดยเคร่องบิน
จานวนผู้โดยสารที่เดินทางภายในประเทศ จานวนผู้โดยสารที่เดินทางระหว่างประเทศ
จานวนเที่ยวบินภายในประเทศ (แกนขวา)
ที่มา: CEIC ณ วันที่ 10 พฤษภาคม 2566
10,000 คน เที่ยวบิน
0
5,000
10,000
15,000
20,000
0
10,000
20,000
30,000
40,000
50,000
60,000
มี.ค. 58
ต.ค. 58
พ.ค. 59
ธ.ค. 59
ก.ค. 60
ก.พ. 61
ก.ย. 61
เม.ย. 62
พ.ย. 62
มิ.ย. 63
ม.ค. 64
ส.ค. 64
มี.ค. 65
ต.ค. 65
การขนส่งสินค้าเซมิคอนดักเตอร์จากสหรัฐฯ
ทั่วโลก จีน (แกนขวา)
ที่มา: CEIC ณ วันที่ 10 พฤษภาคม 2566
ล้านดอลลาร์ สรอ. ล้านดอลลาร์ สรอ.
0
5
10
15
20
2562 2563 2564 2565 2566
ร้อยละ
อัตราการว่างงานในเขตเม อง
อัตราว่างงานในเขตเมือง อัตราว่างงานในเขตเมือง (16 24 ปี)
อัตราว่างงานในเขตเมือง (25 59 ปี)
ที่มา: CEIC ณ วันที่ 10 พฤษภาคม 2566
-10
-5
0
5
10
15
20
25
-50
0
50
100
150
ม.ค. 62
เม.ย. 62
ก.ค. 62
ต.ค. 62
ม.ค. 63
เม.ย. 63
ก.ค. 63
ต.ค. 63
ม.ค. 64
เม.ย. 64
ก.ค. 64
ต.ค. 64
ม.ค. 65
เม.ย. 65
ก.ค. 65
ต.ค. 65
ม.ค. 66
เคร่องชี้ภาคอสังหาริมทรัพย์ของจีน
สินเชื่ออสังหาริมทรัพย์ (แกนขวา) ยอดขายที่อยู่อาศัย ราคาที่อยู่อาศัย (แกนขวา)
ที่มา: CEIC ณ วันที่ 10 พฤษภาคม 2566
%YoY %YoY
กองยุทธศาสตร์และการวางแผนเศรษฐกิจมหภาค
15 พฤษภาคม 2566
30
NESDC
Economic Outlook
เศรษฐกิจไทยในปี 2566 มีแนวโน้มที่จะขยายตัวดีขึ้นจากปี 2565 โดยมีปัจจัยสนับสนุนที่สาคัญจาก การฟื้นตัวของภาคการท่องเที่ยว การขยายตัวในเกณฑ์ดีของการอุปโภคบริโภคภาคเอกชน และการขยายตัวอย่างต่อเนื่องของการลงทุนทั้งภาคเอกชนและภาครัฐ อย่างไรก็ตาม เศรษฐกิจในช่วงที่เหลือของปี 2566 ยังมีแนวโน้มที่จะเผชิญกับข้อจากัดและปัจจัยเสี่ยงที่สาคัญ ได้แก่ การชะลอตัวของเศรษฐกิจโลกที่อาจจะรุนแรงกว่า การคาดการณ์ท่ามกลางความยืดเยื้อของความขัดแย้งเชิงภูมิรัฐศาสตร์และความผันผวนในตลาดการเงินโลกซึ่งจะส่งผลกระทบต่อภาคการส่งออกและภาคการผลิต เงื่อนไขทางการเงินของภาคครัวเรือนและธุรกิจที่ยังเป็นข้อจากัดต่อการขยายตัวของอุปสงค์ภายในประเทศ โดยเฉพาะในช่วงที่อัตราดอกเบี้ยปรับตัวเพิ่มขึ้น รวมทั้งความเสี่ยงจากความแปรปรวนของสภาพภูมิอากาศที่อาจส่งผลกระทบต่อผลผลิตภาคเกษตร และบรรยากาศทางการเมืองและเศรษฐกิจหลังการเลือกตั้งที่อาจส่งผลกระทบต่อความเชื่อมั่นทางเศรษฐกิจและการจัดทางบประมาณรายจ่ายประจาปี 2567 ให้มีความล่าช้าออกไป
5. แนวโน้มเศรษฐกิจไทยปี 2566
ปัจจัยสนับสนุน
1) การฟื้นตัวของภาคการท่องเที่ยว ตามจานวนนักท่องเที่ยวทั้งต่างชาติและนักท่องเที่ยวไทยที่มีแนวโน้มเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง โดยเฉพาะอย่างยิ่งนักท่องเที่ยวจากประเทศจีนภายหลังจากรัฐบาลจีนได้ประกาศมาตรการเปิดประเทศนับตั้งแต่ 8 มกราคม 2566 ซึ่งส่งผลให้ในเดือนเมษายน 2566 มีนักท่องเที่ยวจีนเดินทางเข้ามาไทยทั้งสิ้น 328,375 คน เพิ่มขึ้นร้อยละ 3,662.3 เมื่อเทียบกับเดือนเมษายน 2565 และส่งผลให้ 4 เดือนแรก มีจานวนนักท่องเที่ยวจีนรวม 845,645 คน สอดคล้องกับข้อมูลการเดินทางออกนอกประเทศของจีนที่เร่งขึ้นมาก และไทยถือเป็นประเทศปลายทางสาคัญของนักท่องเที่ยวจีนจึงคาดว่าจะมีนักท่องเที่ยวจีนเดินทางเข้ามามากขึ้นโดยเฉพาะในช่วงครึ่งหลังของปี ประกอบกับการเพิ่มขึ้นของนักท่องเที่ยวชาติอื่น ๆ ที่สาคัญ อาทิ อินเดีย เกาหลีใต้ และรัสเซีย ซึ่งมีจานวนเข้าใกล้ระดับในช่วงก่อนวิกฤติโควิดมากขึ้น รวมทั้งนักท่องเที่ยวจากประเทศในภูมิภาคอาเซียนที่กลับเข้าสู่แนวโน้มปกติ ขณะเดียวกัน การฟื้นตัวของจานวนนักท่องเที่ยวสอดคล้องกับแนวโน้ม การเพิ่มขึ้นของเที่ยวบินจากต่างประเทศ โดยพบว่าจานวนเที่ยวบินระหว่างประเทศในไตรมาสแรกของปี 2566 อยู่ที่ 80,919 เที่ยวบิน เทียบกับ 26,554 เที่ยวบินในช่วงเดียวกันของปี 2565 สอดคล้องกับการคาดการณ์ขององค์กรการท่องเที่ยวโลกแห่งสหประชาชาติ (UN TO) ที่ประเมินว่าจานวนนักท่องเที่ยวทั่วโลกในปี 2566 จะอยู่ที่ประมาณ 1 พันล้านคน คิดเป็นการเพิ่มขึ้นร้อยละ 71 เทียบกับปี 2565 สาหรับการท่องเที่ยวภายในประเทศของคนไทยมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นต่อเนื่อง โดยจานวนนักท่องเที่ยวไทยเที่ยวไทยในไตรมาสที่ 1 ของปี 2566 เพิ่มขึ้นมาอยู่ที่ 62,588,050 คน-ครั้ง เทียบกับ 46,047,025 คน-ครั้ง ในไตรมาสเดียวกันของปีก่อน และในช่วงที่เหลือของปียังมีแนวโน้มที่จะได้รับแรงสนับสนุนจากมาตรการส่งเสริมของภาครัฐ อาทิ โครงการเราเที่ยวด้วยกันระยะที่ 5 ระยะเวลาการดาเนินโครงการตั้งแต่วันที่ 7 มีนาคม - 30 เมษายน 2566 และ โครงการ Unseen New Series ของการท่องเที่ยวแห่งประเทศไทยที่เน้นส่งเสริมการท่องเที่ยวเมืองรอง
2) การขยายตัวอย่างต่อเน่องของการอุปโภคบริโภคภายในประเทศ สอดคล้องกับระดับกิจกรรมทางเศรษฐกิจและพฤติกรรมการบริโภคของประชาชนที่ฟื้นตัวกลับมาเป็นปกติ รวมถึงแรงสนับสนุนจากการฟื้นตัวอย่างแข็งแกร่งของภาคการท่องเที่ยว ส่งผลให้ดัชนีความเชื่อมั่นผู้บริโภคเกี่ยวกับเศรษฐกิจโดยรวมในเดือนเมษายน 2566 เพิ่มขึ้นมาอยู่ที่ 49.4 นับเป็นระดับสูงสุดในรอบ 38 เดือน นอกจากนี้ การบริโภคภายในประเทศยังได้รับปัจจัยสนับสนุนจากตลาดแรงงานที่ปรับตัวดีขึ้นเข้าสู่ระดับใกล้เคียงกับช่วงก่อนการแพร่ระบาด โดยอัตราการว่างงาน ในไตรมาสที่หนึ่งของปี 2566 ลดลงมาอยู่ที่ร้อยละ 1.05 เทียบกับร้อยละ 1.15 ในไตรมาสก่อนหน้า นับเป็นระดับต่าสุดในรอบ 12 ไตรมาสและใกล้เคียงกับร้อยละ 0.99 ในปี 2562 รวมทั้งการขยายตัวอย่างต่อเนื่องของรายได้เกษตรกรตามผลผลิตภาคเกษตรกรรมที่ยังคงขยายตัวได้ดี
3) การขยายตัวของการลงทุนภายในประเทศ ทั้งการลงทุนภาคเอกชนและภาครัฐ โดยการลงทุนภาคเอกชนในปี 2566 มีแนวโน้มขยายตัวได้อย่างต่อเนื่อง สะท้อนจากยอดขอรับการส่งเสริมการลงทุนในปี 2565 คิดเป็นมูลค่ารวมทั้งสิ้น 6.64 แสนล้านบาทซึ่งเป็นมูลค่าที่สูงสุดเป็นประวัติการณ์ คิดเป็นการขยายตัวร้อยละ 38.8 จากปีก่อนหน้า29 สอดคล้องกับพื้นที่นิคมอุตสาหกรรมในไตรมาสที่หนึ่ง ปี 2566 อยู่ที่ 190,150 ไร่ เพิ่มขึ้นร้อยละ 5.6 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน โดยเป็นพื้นที่ในเขตพันนาพิเศษภาคตะวันออก (EEC) จานวน 146,666 ไร่ เพิ่มขึ้นร้อยละ 6.9 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน นอกจากนี้ การลงทุนภาคเอกชนยังมีแนวโน้มได้รับปัจจัยสนับสนุนจากความคืบหน้าของโครงการ ร่วมลงทุนระหว่างภาครัฐและภาคเอกชน (PPP) ขณะที่การลงทุนของภาครัฐมีแนวโน้มที่จะเพิ่มขึ้นตามกรอบวงเงินรายจ่ายลงทุนภายใต้งบประมาณรายจ่ายประจาปี 2566 ที่ 655,183 ล้านบาท เทียบกับ 564,318.5 ล้านบาท ในปีงบประมาณก่อนหน้า คิดเป็นการเพิ่มขึ้นร้อยละ 16.1 นอกจากนี้ การลงทุนภาครัฐยังมีปัจจัยสนับสนุนจากการลงทุนของรัฐวิสาหกิจในโครงการลงทุนโครงสร้างพื้นฐานที่สาคัญ ซึ่งคาดว่าจะมีความคืบหน้าอย่างต่อเนื่องในปี 2566
29 โครงการที่ขอรับส่งเสริมการลงทุนในปี 2565 มีจานวนโครงการทั้งสิ้น 2,119 โครงการเพิ่มขึ้นร้อยละ 41.4 จากปีก่อนหน้า เช่นเดียวกับ โครงการที่ได้รับการอนุมัติส่งเสริมการลงทุนและออกบัตรส่งเสริมการลงทุนในปี 2565 มีมูลค่ารวมทั้งสิ้น 6.19 แสนล้านบาทและ 4.89 แสนล้านบาท คิดเป็นการขยายตัวร้อยละ 20.8 และร้อยละ 20.3 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน ตามลาดับ
กองยุทธศาสตร์และการวางแผนเศรษฐกิจมหภาค 15 พฤษภาคม 2566 31
Economic Outlook NESDC
การฟื้นตัวของจานวนนักท่องเที่ยวต่างชาติ
ที่มา: กองเศรษฐกิจการท่องเที่ยวและกีฬา สานักงานปลัดกระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา ประมวลผลโดย สศช.
จานวนนักท่องเที่ยวต่างชาติจากหลายประเทศต้นทางฟื้นตัวสู่ระดับที่ใกล้เคียงกับช่วงก่อนหน้าการแพร่ระบาด โดยเฉพาะมาเลเซีย
สิงคโปร์ เวียดนาม รัสเซียและออสเตรเลีย ขณะที่ประเทศต้นทางนักท่องเที่ยวสาคัญที่มีอัตราการฟื้นตัวล่าช้า ได้แก่ จีน และญี่ปุ่น โ ดยเป็น
ผลมาจากความล่าช้าในการยกเลิกมาตรการควบคุมการเดินทางเข้าประเทศของประเทศต้นทาง แต่คาดว่าภายในช่วงที่เหลือของปี 2566
จานวนนักท่องเที่ยวจากจีนและญี่ปุ่นจะเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง
921,042
566,667 517,270
441,940
322,598
248,517 234,840 233,341 223,495 213,148 185,132 184,770 172,276 157,215 154,168
100.6
92.1
16.6
82.3
71.7
77.0 77.7
83.0
104.1
92.4
65.3
43.5
36.3
73.0
86.7
0
20
40
60
80
100
120
0
100,000
200,000
300,000
400,000
500,000
600,000
700,000
800,000
900,000
1,000,000
จานวนนักท่องเที่ยวในไตรมาสแรกของปี 2566 อัตราการฟื้นตัวเทียบกับช่วงเดียวกันของปี 2562 (แกนขวา)
จานวนนักท่องเที่ยว (คน) อัตราการฟื้นตัว (%)
แนวโน้มการเพิ่มขึ้นของนักท่องเที่ยวจีน ปัจจัยสนับสนุนภาคการท่องเที่ยวของไทย
ภาคการท่องเที่ยวของไทยฟื้นตัวขึ้นอย่างชัดเจน ตามแนวโน้มจานวนนักท่องเที่ยวต่างประเทศที่เพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง โดยเฉพาะอย่างยิ่ง
นักท่องเที่ยวจากประเทศจีนที่คาดว่าจะเดินทางเข้ามามากขึ้น ภายหลังจากรัฐบาลจีนได้ประกาศมาตรการเปิดประเทศนับตั้งแต่วันที่
8 มกราคม 2566 ซึ่งส่งผลให้ในเดือนเมษายน 2566 มีนักท่องเที่ยวจีนเดินทางเข้ามาไทยเป็นจานวน 328,375 คน เพิ่มขึ้นร้อยละ 21.7
เมื่อเทียบกับจานวน 269,773 คน ในเดือนมีนาคม 2566 และเพิ่มขึ้นร้อยละ 3,662.3 เมื่อเทียบกับจานวน 8,728 คน ในเดือนเมษายน 2565
ซึ่งส่งผลให้รวม 4 เดือนแรกของปี 2566 มีนักท่องเที่ยวจีนจานวน 845,645 คน เพิ่มขึ้นร้อยละ 3,664.1 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน
สอดคล้องกับข้อมูลการเดินทางออกนอกประเทศของจีนที่เร่งขึ้นมาก และมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่องโดยเฉพาะในช่วงไตรมาสสุดท้ายของ
ปี 2566 ซึ่งเป็นช่วงเทศกาลสาคัญ อาทิ วันหยุดช่วงวันชาติ (Golden week) ในเดือนตุลาคม และวันหยุดช่วงเทศกาลปีใหม่ ในเดือนธันวาคม
เมื่อพิจารณาข้อมูลการออกเดินทางท่องเที่ยวต่างประเทศของนักท่องเที่ยวจีนในช่วงก่อนเกิดการแพร่ระบาดของโรคโควิด-19 (ปี 2562)
มีจานวน 154.631 ล้านคน โดยจุดหมายปลายทางที่นักท่องเที่ยวจีนเดินทางท่องเที่ยวสูงสุด 5 อันดับแรก ได้แก่ ฮ่องกง มาเก๊า และไต้หวัน
รวม 74.41 ล้านคน (ร้อยละ 48.12) ไทย 11.00 ล้านคน (ร้อยละ 7.11) ญี่ปุ่น 9.59 ล้านคน (ร้อยละ 6.20) เกาหลีใต้ 6.02 ล้านคน (ร้อยละ 3.90)
และเวียดนาม 5.81 ล้านคน (ร้อยละ 3.76) สาหรับในปี 2566 คาดการณ์ว่าจานวนนักท่องเที่ยวจีนที่จะออกเดินทางท่องเที่ยวต่างประเทศ 2
มีจานวน 2 ใน 3 ของจานวนนักท่องเที่ยวจีนที่เดินทางออกนอกประเทศในปี 2562 (จานวน 103.09 ล้านคน) โดยคาดว่าจะเดินทางเข้ามาไทย
จานวน 4.25 ล้านคน3 (คิดเป็นร้อยละ 4.13 ของจานวนนักท่องเที่ยวจีนที่คาดว่าจะออกเดินทางท่องเที่ยวต่างประเทศในปี 2566 และคิดเป็น
ร้อยละ 38.69 ของจานวนนักท่องเที่ยวจีนที่เดินทางเข้ามาไทยในปี 2562 ช่วงก่อนโควิด)
1 จานวนนักท่องเที่ยวจีนเดินทางออกนอกประเทศในปี 2562 จาก CEIC
2 ประมาณการจานวนนักท่องเที่ยวจีนที่จะเดินทางออกนอกประเทศในปี 2566 จาก China Out ound Tourism Research Institute และ European Travel
Commission
3 ประมาณการจานวนนักท่องเที่ยวจีนที่จะเดินทางเข้ามาในไทย ณ พฤษภาคม 2566 โดย สศช.
กองยุทธศาสตร์และการวางแผนเศรษฐกิจมหภาค 15 พฤษภาคม 2566 32
Economic Outlook NESDC
แนวโน้มการเพิ่มขึ้นของนักท่องเที่ยวจีน ปัจจัยสนับสนุนภาคการท่องเที่ยวของไทย (ต่อ)
ทั้งนี้ ปัจจัยสนับสนุนสาคัญที่จะส่งผลให้นักท่องเที่ยวจีนเดินทางเข้ามาท่องเที่ยวในไทยได้ตามเป้าหมาย ได้แก่ โอกาสจากการที่ไทยได้รับ
คัดเลือกจากรัฐบาลจีนให้เป็น 1 ใน 20 ประเทศนาร่องสาหรับการอนุญาตให้มีการเดินทางท่องเที่ยวแบบหมู่คณะ (Group Inclusive Tour: GIT)
ประกอบกับข้อมูลการสารวจ4 พบว่า ตั้งแต่ทางการจีนได้แถลงการณ์เปิดประเทศอย่างเป็นทางการ และอนุญาตการเดินทางท่องเที่ยวระหว่าง
ประเทศด้วยตนเอง และตลอดช่วงการหยุดยาวประจาปีของจีนที่ผ่านมา (เทศกาลตรุษจีน และวันแรงงาน) จุดหมายการท่องเที่ยวระหว่างประเทศ
อันดับแรก (ไม่รวมฮ่องกง มาเก๊า และไต้หวัน) คือ ไทย (กรุงเทพมหานคร เชียงใหม่ และภูเก็ต) รองลงมาคือ เกาหลีใต้ (กรุงโซล) และญี่ปุ่น (โตเกียว
และโอซาก้า)
ขณะเดียวกัน หากศึกษาในรายละเอียดถึงพฤติกรรมและสถานการณ์ของนักท่องเที่ยวจีนได้เปลี่ยนแปลงไปจากช่วงก่อนการแพร่ระบาดของ
โรคโควิด-19 กล่าวคือ นักท่องเที่ยวจีน โดยเฉพาะนักท่องเที่ยวกลุ่มวัยรุ่นและวัยทางาน (ช่วงอายุ 18 - 40 ปี) ซึ่งคิดเป็นร้อยละ 70.00 ของ
นักท่องเที่ยวจีนทั้งหมด นิยมเดินทางท่องเที่ยวแบบอิสระ (Free Independent Traveler: FIT) หรือเดินทางท่องเที่ยวตามประสงค์เป็นกลุ่มขนาดเล็ก
(Tailor Made Tour) มากขึ้น โดยให้ความสนใจกับการท่องเที่ยวที่สร้างประสบการณ์ใหม่และสามารถสัมผัสวิถีชีวิตและอาหารท้องถิ่น รวมทั้ง
การท่องเที่ยวตามเมืองที่เป็นที่นิยมในสังคมออนไลน์ (Online Cele rity Cities) ตลอดจนมีจานวนวันพักเฉลี่ยเพิ่มขึ้นเพื่อให้คุ้มค่าตั๋วเครื่องบินที่มี
ราคาสูงขึ้น ทั้งนี้ ในช่วงก่อนเกิดการแพร่ระบาดของโรคโควิด-19 (ปี 2562) จานวนวันพักเฉลี่ยของนักท่องเที่ยวจีนในไทยอยู่ที่ 7.80 วัน และ
มีค่าใช้จ่ายโดยเฉลี่ย 47,723.60 บาท/คน/ทริป5
ดังนั้น ในการดาเนินมาตรการส่งเสริมการท่องเที่ยวที่จะสามารถตอบสนองความต้องการของกลุ่มนักท่องเที่ยวจีนที่เป็นกลุ่มเป้าหมาย
จึงควรให้ความสาคัญกับ (1) การจัดงานประชาสัมพันธ์ตามเมืองสาคัญ ๆ เพื่อส่งเสริมการท่องเที่ยวโดยเฉพาะในช่วงวันหยุดยาวของจีน อาทิ
ช่วงปิดเทอมภาคฤดูร้อนในเดือนกรกฎาคมและสิงหาคม และช่วงวันชาติ (Golden week) ในเดือนตุลาคม (2) การจัดทาการตลาดเพื่อดึงดูด
นักท่องเที่ยวเฉพาะกลุ่ม อาทิ การท่องเที่ยวเชิงประวัติศาสตร์ การท่องเที่ยวตามวิถีชุมชน และการท่องเที่ยวเชิงอาหาร ( Gastronomy
Tourism) และ (3) การใช้ประโยชน์จากแอปพลิเคชั่นและสังคมออนไลน์ทั้งไทยและจีน ในการส่งเสริมการท่องเที่ยวทั้งในเมืองหลักและเมืองรอง
และสร้างโอกาสในการกระจายรายได้สู่ชุมชน
4 ข้อมูลการสารวจของบริษัท Trip.com group ณ พฤษภาคม 2566
5 จานวนวันพักเฉลี่ยและค่าใช้จ่ายโดยเฉลี่ยของนักท่องเที่ยวจีน จากสถิติการท่องเที่ยวและกีฬา สานักงานสถิติแห่งชาติ และกระทรวงการทอ่ งเที่ยวและกีฬา
ที่มา : สานักงานสถิติแห่งชาติ และกระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา
GIT, 38.56
FIT, 61.44
สัดส่วนรูปแบบการเดินทางของนักท่องเที่ยวจีนในไทย ปี 2562
ร้อยละ ค่าใช้จ่ายโดยเฉลี่ย 6,118.41 บาท/คน/วัน
วันพักเฉลี่ย 7.80 วัน
ที่มา : สานักงานสถิติแห่งชาติ และกระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา
1,922.74
1,182.57 1,520.94
547.49
465.25
317.49
100.69 61.24
ค่าใช้จ่ายโดยเ ลี่ยของนักท่องเที่ยวจีน ในปี 2562
ค่าซื้อสินค้าที่ระลึก
ค่าที่พัก
ค่าอาหารและเครื่องดื่ม
ค่าพาหนะในการเดินทาง
ค่าใช้จ่ายเพื่อการบันเทิง
ค่าบริการท่องเที่ยว
เบ็ดเตล็ด
การรักษาพยาบาล
บาท/คน/วัน
กองยุทธศาสตร์และการวางแผนเศรษฐกิจมหภาค
15 พฤษภาคม 2566
33
NESDC
Economic Outlook
แรงขับเคล่อนจากการลงทุนภาครัฐ
การลงทุนภาครัฐเป นแรงขับเคล่อนสาคัญที่จะสนับสนุนให้เศรษฐกิจขยายตัวอย่างต่อเน่องในปี 2566 ซึ่งต้องให้ความสาคัญกับ การติดตามเร่งรัดการเบิกจ่ายงบลงทุนจากงบประมาณรายจ่ายประจาปี โครงการลงทุนสาคัญของรัฐวิสาหกิจ ควบคู่ไปกับการผลักดันโครงการร่วมทุนระหว่างภาครัฐและเอกชน (PPP) เพื่อรักษาแรงขับเคลื่อนจากการลงทุนภาครัฐ โดยในปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 กรอบวงเงินงบลงทุนรวมของภาครัฐมีจานวนทั้งสิ้น 1,242,785.5 ล้านบาท เพิ่มขึ้นร้อยละ 3.5 จากปีก่อนหน้า โดยส่วนใหญ่เป็นการเพิ่มขึ้นของงบลงทุนภายใต้งบประมาณรายจ่ายประจาปีวงเงินรวม 655,183 ล้านบาท เพิ่มขึ้นร้อยละ 16.1 ขณะที่งบลงทุนจากงบประมาณกันไว้เบิกเหลื่อมปี และ งบลงทุนรัฐวิสาหกิจมีวงเงิน 144,251.5 ล้านบาท และ 443,351 ล้านบาท ลดลงร้อยละ 14.2 และร้อยละ 5.4 ตามลาดับ
มูลค่า (ล้านบาท)
%YoY
2564
2565
2566
2564
2565
2566
วงเงินลงทุนรวม
1,214, 54.6
1,2 1,32 .4
1,242,7 5.5
-2.
-1.1
3.5
วงเงินรายจ่ายลงทุนจากงบประมาณรายจ่ายประจาปี
604,308.2
564,318.5
655,183.0
8.9
-6.6
16.1
วงเงินรายจ่ายลงทุนจากงบประมาณกันไว้เบิกเหลื่อมปี
177,709.3
168,177.9
144,251.5
-11.7
-5.4
-14.2
งบลงทุนรัฐวิสาหกิจ
432,937.0
468,833.0
443,351.0
-12.5
8.3
-5.4
ที่มา: ระบบ GFMIS (ข้อมูล ณ วันที่ 24 เมษายน 2566) กองงบลงทุนรัฐวิสาหกิจ สานักงานสภาพันนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
การลงทุนของรัฐวิสาหกิจในปี 2566 มีมูลค่าการลงทุนรวม 443,351 ล้านบาท โดยคาดว่าจะมีการเบิกจ่ายงบลงทุนรัฐวิสาหกิจ ในโครงการลงทุนขนาดใหญ่ที่จะมีการเบิกจ่ายสูงสุด 10 โครงการ มูลค่า 83,945.12 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 59.5 ของประมาณการเบิกจ่ายงบลงทุนรัฐวิสาหกิจในโครงการสาคัญ ประกอบด้วย โครงการลงทุนในสาขาขนส่ง 5 โครงการ สาขาพลังงาน 3 โครงการ สาขาพาณิชย์และบริการ 1 โครงการ และสาขาสาธารณูปการ 1 โครงการ โดยข้อมูลจริงในไตรมาสที่สองของปีงบประมาณ 2566 มีการเบิกจ่ายงบลงทุนของรัฐวิสาหกิจภายใต้โครงการลงทุนสาคัญ 10 อันดับแรก มูลค่า 24,939.35 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 29.71 ของประมาณการเบิกจ่าย และ เมื่อรวม 6 เดือนแรกของปีงบประมาณ 2566 มีการเบิกจ่ายรวมทั้งสิ้น 30,289.31 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 36.08 ของประมาณการเบิกจ่าย ทั้งนี้ เพื่อให้แรงขับเคลื่อนจากการลงทุนภาครัฐในการสนับสนุนการฟื้นตัวของเศรษฐกิจเป็นไปอย่างต่อเนื่อง จึงจาเป็นต้องให้ความสาคัญกับการติดตามและเร่งรัดการลงทุนที่ผูกพันสัญญาไว้แล้ว รวมทั้งการเร่งดาเนินการโครงการลงทุนที่ได้รับอนุมัติให้เบิกจ่ายลงทุนแล้วให้ดาเนินการเป็นไปตามเป้าหมายโดยเร็ว
หน่วย : ล้านบาท
โครงการลงทุนสาคัญ 1 อันดับแรกของปี 2566
โครงการ
หน่วยงาน
สาขา
วงเงินอนุมัติดาเนินการ
ประมาณการเบิกจ่ายลงทุน
เบิกจ่าย Q1/ Y2566
อัตราเบิกจ่ายสะสม (%)
เบิกจ่าย Q2/ Y2566
1. โครงการความร่วมมือระหว่างรัฐบาลแห่งราชอาณาจักรไทยและรัฐบาลแห่งสาธารณรัฐประชาชนจีนในการพันนาระบบรถไฟความเร็วสูงเพื่อเชื่อมโยงภูมิภาค ช่วงกรุงเทพมหานคร - หนองคาย (ระยะที่ 1 ช่วงกรุงเทพมหานคร - นครราชสีมา)
รฟท.
สาขาขนส่ง
143,280.94
18,138.21
757.39
60.05
10,133.78
2. โครงการรถไฟฟ้าสายสีม่วง ช่วงเตาปูน - ราษฏร์บูรณะ
รฟม.
สาขาขนส่ง
91,974.00
10,646.56
1,145.19
74.40
6,775.95
3. โครงการพันนาระบบส่งและจาหน่าย ระยะที่ 2*
กฟภ.
สาขาพลังงาน
28,585.93
10,552.04
-
13.16
1,388.49
4. โครงการทางพิเศษสายพระราม 3 - ดาวคะนอง - วงแหวน รอบนอกกรุงเทพมหานครด้านตะวันตก
กทพ.
สาขาขนส่ง
20,767.34
8,608.31
1,518.19
44.09
2,277.50
5. โครงการก่อสร้างทางรถไฟ สายบ้านไผ่ - มหาสารคาม - ร้อยเอ็ด - มุกดาหาร - นครพนม
รฟท.
สาขาขนส่ง
61,273.31
7,498.62
129.93
8.50
507.70
6. โครงการพันนาพื้นที่ส่วนขยายศูนย์ราชการเฉลิมพระเกียรติ 80 พรรษา 5 ธันวาคม 2550 พื้นที่โซน C*
ธพส.
สาขาพาณิชย์และบริการ
17,343.86
6,129.02
-
13.50
827.64
7. แผนปรับปรุงและขยายระบบจาหน่ายพลังไฟฟ้า ฉบับที่ 12 ปี 2560 - 2564*
กฟน.
สาขาพลังงาน
15,493.84
5,863.73
-
11.77
690.05
8. โครงการก่อสร้างทางรถไฟ สายเด่นชัย - เชียงราย - เชียงของ
รฟท.
สาขาขนส่ง
76,368.66
5,752.88
932.88
32.95
962.55
9. โครงการปรับปรุงกิจการประปาแผนหลักครั้งที่ 9
กปน.
สาขาสาธารณูปการ
28,142.50
5,459.68
866.38
41.01
1,372.61
10. โครงการโรงไฟฟ้าแม่เมาะทดแทน เครื่องที่ 8 - 9*
กฟผ.
สาขาพลังงาน
42,557.14
5,296.06
-
0.06
3.08
ที่มา: กองงบลงทุนรัฐวิสาหกิจ สานักงานสภาพันนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
หมายเหตุ: *ในไตรมาสแรกของปีงบประมาณไม่มีผลการเบิกจ่าย เนื่องจากเป็นโครงการลงทุนของรัฐวิสาหกิจที่จัดทางบลงทุนเป็นปีปฏิทิน
กองยุทธศาสตร์และการวางแผนเศรษฐกิจมหภาค
15 พฤษภาคม 2566
34
NESDC
Economic Outlook
แรงขับเคล่อนจากการลงทุนภาครัฐ (ต่อ)
การลงทุนในโครงการร่วมลงทุนระหว่างภาครัฐและเอกชน (PPP) ในปีงบประมาณ 2566 มีโครงการร่วมลงทุนที่คณะกรรมการนโยบายการร่วมลงทุนระหว่างรัฐและเอกชน (คณะกรรมการฯ) เห็นชอบแล้ว จานวน 4 โครงการ วงเงินรวม 98,799 ล้านบาท โดยจาแนกเป็นมูลค่า เงินลงทุนภาครัฐประมาณ 12,498 ล้านบาท และมูลค่าเงินลงทุนภาคเอกชนประมาณ 86,301 ล้านบาท ประกอบด้วย (i) โครงการทางหลวงพิเศษระหว่างเมืองหมายเลข 9 สายถนนวงแหวนรอบนอกกรุงเทพมหานคร ตอน ทางยกระดับบางขุนเทียน - บางบัวทอง (ii) โครงการให้บริการลานจอดและอุปกรณ์ภาคพื้น การให้บริการผู้โดยสารภาคพื้น และกิจการอื่น ๆ ที่เกี่ยวเนื่อง ณ ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ ของผู้ประกอบการรายที่ 3 (iii) โครงการให้บริการคลังสินค้า ณ ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ ของผู้ประกอบการรายที่ 3 และ (iv) โครงการทางหลวงพิเศษระหว่างเมืองหมายเลข 5 ส่วนต่อขยายอุตราภิมุข ตอนรังสิต - บางปะอิน
ที่มา: สานักงานคณะกรรมการนโยบายรัฐวิสาหกิจ14,67146,45098,799020,00040,00060,00080,000100,000120,0002564256525665,79236,55812,4988,8799,89286,301010,00020,00030,00040,00050,00060,00070,00080,00090,000100,000256425652566จาแนกตามมูลค่าเงินลงทุนของภาครัฐและเอกชนประมาณการมูลค่าเงินลงทุนของภาครัฐประมาณการมูลค่าเงินลงทุนของเอกชนประมาณการมูลค่าเงินลงทุนทั้งหมดการลงทุนในโครงการร่วมทุนระหว่างภาครัฐและเอกชน (PPP) ปี 2566ล้านบาทล้านบาท
กองยุทธศาสตร์และการวางแผนเศรษฐกิจมหภาค
15 พฤษภาคม 2566
35
NESDC
Economic Outlook
1) ความเสี่ยงจากการชะลอตัวมากกว่าที่คาดของเศรษฐกิจโลกและความผันผวนในตลาดการเงินโลก โดยมีเงื่อนไขความเสี่ยงที่ต้องติดตามและประเมินอย่างใกล้ชิด ประกอบด้วย (1) การชะลอตัวของเศรษฐกิจมากกว่าที่คาดเนื่องจากแนวโน้มเงินเฟ้อที่ยังอยู่ในระดับสูง ส่งผลให้ธนาคารกลางต่าง ๆ ยังต้องปรับขึ้นอัตราดอกเบี้ยนโยบายอย่างต่อเนื่องจนทาให้ภาวะตลาดเงินตึงตัวและต้นทุนการกู้ยืมสูงขึ้น ซึ่งจะเป็นข้อจากัดในการขยายตัวของประเทศเศรษฐกิจหลัก (2) ความเสี่ยงจากปัญหาเสถียรภาพของสถาบันการเงินในประเทศเศรษฐกิจหลักทั้งในสหรัฐฯ และสหภาพยุโรปที่เผชิญปัญหาการขาดสภาพคล่อง และส่งผลให้ตลาดการเงินโดยเฉพาะในภาคธนาคารมีความผันผวนและเปราะบางท่ามกลางความวิตกกังวลของทั้งผู้ฝากเงินและนักลงทุน ซึ่งอาจส่งผลต่อปริมาณเงินฝากและการปรับเปลี่ยนการลงทุนจากสินทรัพย์เสี่ยงไปสู่สินทรัพย์ปลอดภัยมากขึ้น (Risk-off) (3) ความขัดแย้งทางภูมิรัฐศาสตร์ที่มีแนวโน้มส่งผลกระทบต่อการค้าการลงทุนระหว่างประเทศ และการฟื้นตัวของเศรษฐกิจโลกในภาพรวม โดยเฉพาะอย่างยิ่งระหว่างสหรัฐฯ และจีน ที่ยังยืดเยื้อและมีแนวโน้มที่จะนาไปสู่การยกระดับมาตรการกีดกันทางการค้าการลงทุนและการแข่งขันทางเทคโนโลยีมากขึ้นจนส่งผลกระทบต่อห่วงโซ่การผลิตโลก รวมถึงความขัดแย้งระหว่างรัสเซียและยูเครนที่ยังมีความยืดเยื้อ และ (4) ปัญหาเพดานหนี้สาธารณะของสหรัฐฯ อาจนาไปสู่การผิดชาระหนี้ของรัฐบาลสหรัฐฯ30 ซึ่งจะส่งผลกระทบต่อความเชื่อมั่นและเศรษฐกิจสหรัฐฯ ในภาพรวม จนอาจส่งผลกระทบต่อเนื่องต่อเศรษฐกิจและตลาดการเงินโลก รวมถึงเสถียรภาพทางเศรษฐกิจของประเทศที่ถือครองพันธบัตรรัฐบาลสหรัฐฯ ในสัดส่วนที่สูง
2) ภาระหนี้สินครัวเร อนและภาคธุรกิจที่อยู่ในระดับสูงท่ามกลางการเพิ่มขึ้นของภาระดอกเบี้ย โดยสัดส่วนหนี้ที่ไม่ก่อให้เกิดรายได้ (Non-Performing Loans: NPLs) และสัดส่วนสินเชื่อจัดชั้นพิเศษ (Special Mention Loans: SMLs) ต่อสินเชื่อรวมของวิสาหกิจ ขนาดกลางและขนาดย่อม (SMEs) ในไตรมาสที่สี่ของปี 2565 ยังคงอยู่ในระดับสูงที่ร้อยละ 7.4 และร้อยละ 12.1 สูงกว่าร้อยละ 4.6 และร้อยละ 3.5 ในไตรมาสเดียวกันของปี 2562 ซึ่งเป็นช่วงก่อนการแพร่ระบาด ตามลาดับ เช่นเดียวกับสัดส่วนหนี้ครัวเรือนต่อ GDP ในไตรมาสที่สี่ของปี 2565 อยู่ที่ ร้อยละ 86.9 ลดลงเล็กน้อยเมื่อเทียบกับร้อยละ 87.0 ในไตรมาสก่อน แต่ยังคงสูงกว่าเมื่อเทียบกับร้อยละ 79.9 ในไตรมาสเดียวกันของปี 2562 ทั้งนี้ ภาระหนี้สินของภาคธุรกิจและภาคครัวเรือนที่อยู่ในระดับสูงจะเป็นข้อจากัดต่อการฟื้นตัวของอุปสงค์ภายในประเทศและความสามารถ ในการชาระหนี้ภายใต้อัตราดอกเบี้ยขาขึ้น โดยเฉพาะอย่างยิ่งธุรกิจ SMEs ครัวเรือนรายได้น้อย รวมทั้งลูกหนี้ภาคเกษตรกรรมที่ได้รับผลกระทบจากมาตรการของภาครัฐที่สิ้นสุดลง31 รวมถึงลูกหนี้กลุ่มเปราะบางของสถาบันการเงินเฉพาะกิจของรัฐและผู้ให้บริการทางการเงินที่ไม่ใช่ สถาบันการเงิน (non- ank) ที่ยังไม่ฟื้นตัวจากผลกระทบโควิด-19
3) ความแปรปรวนของสภาพภูมิอากาศที่อาจส่งผลกระทบต่อผลผลิตภาคเกษตร จากข้อมูลขององค์การบริหารมหาสมุทรและชั้นบรรยากาศแห่งชาติ (National Oceanic and Atmospheric Administration: NOAA) ชี้ให้เห็นว่ามีโอกาสถึงร้อยละ 62 ที่ภูมิภาคเอเชียและแปซิฟิก จะเข้าสู่สภาวะเอลนีโญ (EL Nino) ในช่วงเดือนพฤษภาคม จนถึงธันวาคม 2566 และต่อเนื่องไปถึงเดือนกุมภาพันธ์ 2567 สาหรับประเทศไทยคาดว่าจะทาให้ปริมาณน้าฝนมีแนวโน้มต่ากว่าค่าเฉลี่ยปกติ32 โดยการคาดการณ์ปริมาณน้าฝนของกรมอุตุนิยมวิทยาในไตรมาสที่ 2 ของปี 2566 คาดว่าจะอยู่ที่เฉลี่ย 133.6 มิลลิเมตร น้อยกว่าค่าเฉลี่ยปกติที่ 154.8 มิลลิเมตร เช่นเดียวกับอุณหภูมิเฉลี่ยคาดว่าจะอยู่ที่ 30.3 องศาเซลเซียส สูงกว่าค่าเฉลี่ยปกติที่ 29.1 องศาเซลเซียส ภายใต้แนวโน้มความแปรปรวนของสภาพภูมิอากาศดังกล่าวจึงอาจจะส่งผลกระทบต่อผลผลิต ภาคการเกษตร
4) บรรยากาศทางการเม องและเศรษฐกิจหลังการเล อกตั้ง และความล่าช้าของงบประมาณรายจ่ายประจาปี 2567 แม้ว่าในกรณีฐานจะคาดว่าการเลือกตั้งและการจัดตั้งรัฐบาลจะเป็นไปอย่างราบรื่น แต่เงื่อนไขบรรยากาศทางการเมืองและทิศทางนโยบายภายหลังการเลือกตั้งยังมีความไม่แน่นอน ซึ่งอาจส่งผลกระทบต่อบรรยากาศทางเศรษฐกิจ และความเชื่อมั่นของนักลงทุน รวมถึงกระบวนการจัดทาพระราชบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจาปี 2567 และการอนุมัติโครงการลงทุนใหม่ที่อาจมีความล่าช้ามากกว่าที่คาดการณ์ไว้ โดยในกรณีฐานคาดว่า จะมีความล่าช้าประมาณ 2 - 4 เดือน
30 นางเจเน็ต เยลเลน ( anet Yellen) ได้แถลงเมื่อวันที่ 1 พฤษภาคม 2566 ว่าถ้าไม่มีการเพิ่มเพดานหนี้สาธารณะ จะส่งผลให้ภายในวันที่ 1 มิถุนายน 2566 รัฐบาลสหรัฐฯ ต้องผิดนัดชาระหนี้ และไม่มีเงินคงคลังเพื่อใช้ในการใช้จ่ายสาธารณะ
31 มาตรการพักทรัพย์พักหนี้สิ้นสุดการดาเนินการเมื่อวันที่ 9 เมษายน 2566 ขณะที่โครงการสินเชื่อฟื้นฟูได้รับการขยายการดาเนินการต่อไปอีก 1 ปี โดยจะสิ้นสุดโครงการในวันที่ 9 เมษายน 2567
32 ค่าเฉลี่ยปกติ คือค่าเฉลี่ยอุณหภูมิและปริมาณน้าฝนรายเดือนของประเทศไทย ในคาบ 30 ปี (พ.ศ. 2524 - 2553)
ข้อจากัดและปัจจัยเสี่ยง
กองยุทธศาสตร์และการวางแผนเศรษฐกิจมหภาค 15 พฤษภาคม 2566 36
Economic Outlook NESDC
ความเสี่ยงต่อภาคการเกษตรจากความแปรปรวนของสภาพอากาศ
ข้อมูลจาก National eather Service; Climate Prediction Centre (NOAA) ได้คาดการณ์เกี่ยวกับปรากฏการณ์ ENSO และมีโอกาส
ร้อยละ 62.0 ที่จะเข้าสู่สภาวะเอลนีโญ1 (El Ni?o) ในช่วงเดือนพฤษภาคม 2566 ถึงเดือนกรกฎาคม 2566 ต่อเนื่องไปจนถึงช่วงเดือนธันวาคม
2566 ถึงกุมภาพันธ์ 2567 นอกจากนี้ กรมอุตุนิยมวิทยาคาดว่าประเทศไทยจะมีปริมาณน้าฝนต่ากว่าค่าปกติ2 ประมาณร้อยละ 5 (ค่าปกติ 196.9
มิลลิเมตร) และจะมีอุณหภูมิสูงกว่าค่าปกติ โดยคาดว่าจะมีอุณหภูมิเฉลี่ยอยู่ที่ 25 - 34 องศาเซลเซียส (ค่าปกติ 28.6 องศาเซลเซียส) ในช่วง
เดือนพฤษภาคม 2566 ถึงเดือนกรกฎาคม 2566 อย่างไรก็ดี เมื่อพิจารณาปริมาณน้าในอ่างเก็บน้าขนาดใหญ่ลุ่มแม่น้าเจ้าพระยา3 พบว่า ณ วันที่
10 พฤษภาคม 2566 มีปริมาณน้าใช้การได้จริงรวมอยู่ที่ 6,050 ล้านลูกบาศก์เมตร (คิดเป็นร้อยละ 24.33 ของความจุอ่าง และคิดเป็นร้อยละ
36.12 ของปริมาณน้าใช้การได้ทั่วประเทศ) ซึ่งสูงกว่าระดับ 3,540 ล้านลูกบาศก์เมตร ในช่วงเดียวกันของปีก่อน และสูงกว่าช่วงที่เกิดภาวะภัยแล้ง
ในปี 2558 ที่ระดับ 2,029 ล้านลูกบาศก์เมตร และในปี 2562 ที่ระดับ 3,733 ล้านลูกบาศก์เมตร
ในช่วงที่ผ่านมา ประเทศไทยเคยเผชิญกับปัญหาภัยแล้งเนื่องจากสภาวะเอลนีโญที่รุนแรงในปี 2558 และปี 2562 ที่มีสภาวะเอลนีโญ
ครั้งล่าสุด ซึ่งเป็นช่วงที่ปริมาณฝนสะสมน้อยและอุณหภูมิเฉลี่ยสูงกว่าค่าปกติเกือบทุกเดือน ขณะเดียวกัน ปริมาณน้าใช้ได้จริงของอ่างเก็บน้า
ขนาดใหญ่อยู่ในระดับต่ากว่าค่าเฉลี่ยย้อนหลัง 5 ปี ซึ่งส่งผลกระทบต่อผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศ (GDP) ภาคเกษตรอย่างรุนแรงจนทาให้
ในปี 2558 และ ปี 2562 GDP ภาคเกษตรลดลงร้อยละ 6.5 และร้อยละ 1.0 ตามลาดับ
ดังนั้น ภายใต้การคาดการณ์แนวโน้มการเข้าสู่สภาวะเอลนีโญ (El Ni?o) นั้น ประเทศไทยจึงควรเตรียมความพร้อมโดยการเฝ้าระวัง ติดตาม
และประเมินสถานการณ์อย่างใกล้ชิด เพื่อนาข้อมูลมาวิเคราะห์และดาเนินมาตรการบริหารจัดการเพื่อรองรับสถานการณ์อย่างเหมาะสม
และทันท่วงที โดยเฉพาะแนวทางการจัดสรรทรัพยากรน้าและพื้นที่เพาะปลูกให้สอดคล้องกับปริมาณน้าต้นทุน การหาแหล่งน้าสารอง และ
การเตรียมความพร้อมของเครื่องจักรให้อยู่สภาพพร้อมใช้งาน ควบคู่ไปกับการดูแลผลผลิตภาคเกษตรที่มีแนวโน้มได้รับผลกระทบจาก
ความแปรปรวนของสภาพอากาศซึ่งจะส่งผลกระทบต่อปริมาณผลผลิตและคุณภาพสินค้า จนทาให้รายได้เกษตรลดลง รวมทั้งการให้
ความสาคัญกับปัญหาต้นทุนวัตถุดิบทางการเกษตรที่ยังอยู่ในระดับสูง
20.0
22.0
24.0
26.0
28.0
30.0
32.0
ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค.* มิ.ย.* ก.ค.* ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค.
อุณหภูมิเ ลี่ย
2558 2562 2566 ค่าปกติ
(องศาเซลเซียส)
ที่มา: ศูนย์ภูมิอากาศ กองพันนาอุตุนิยมวิทยา กรมอุตุนิยมวิทยา
0.0
100.0
200.0
300.0
ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค.* มิ.ย.* ก.ค.* ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค.
ปริมาณน้า นเ ลี่ย
2558 2562 2566 ค่าปกติ
(มิลลิเมตร)
ที่มา: ศูนย์ภูมิอากาศ กองพันนาอุตุนิยมวิทยา กรมอุตุนิยมวิทยา
0
5,000
10,000
15,000
20,000
25,000
30,000
35,000
40,000
ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค.
ปริมาณน้าใช้การได้จริง
2558 2562 2566 เฉลี่ยย้อนหลัง 5 ปี
(ล้านลูกบาศก์เมตร)
ที่มา: กรมชลประทาน
1 เอลนีโญ (El Ni?o) เกิดจากกระแสลมมีกาลังอ่อนและเปลี่ยนทิศทางพัดจากด้านตะวันออกของมหาสมุทรแปซิฟิกไปด้านตะวันตกของมหาสมุทรแปซิฟิก ทาให้
กระแสน้าอุ่นไหลไปยังทวีปอเมริกาใต้แทน ด้วยเหตุนี้ภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และออสเตรเลียขาดฝนและเกิดความแห้งแล้ง แต่ชายฝงั่ ของทวีปอเมริกา
ใต้กลับมีฝนตกเพิ่มมากขนึ้
2 ค่าปกติของอุณหภูมิเฉลี่ยและปริมาณน้าฝนเฉลี่ย คือ ค่าเฉลี่ยของอุณภูมิรายเดือนและปริมาณน้าฝนรายเดือนของประเทศไทย ในคาบ 30 ปี (พ.ศ.2534 - 2563)
3 อ่างเก็บน้าขนาดใหญล่ มุ่ แมน่ เจ้าพระยาจานวน 4 แหง่ ประกอบดว้ ย เขอื่ นภมู พิ ล เขอื่ นสริ กิติ์ เขอื่ นแควนอ้ ยบารุงแดน และเขอื่ นปา สกั ชลสทิ ธิ์
หมายเหตุ * เดือน พ.ค. มิ.ย. และก.ค. ปี 2566 คือข้อมูลการพยากรณ์โดยใช้แบบจาลองภูมิอากาศและวิธีทางสถิติ โดยกรมอุตุนิยมวิทยา
21,348 15,516 8,720 14,704 16,249 19,576 32,262 30,838 20,489 33,459
-9.5 -8.4
-6.1
-2.7 -4.2
3.8
1.7 0.2
-2.8
7.2
-20
0
20
5,000
15,000
25,000
35,000
Q1-58 Q2 Q3 Q4 Q1-59 Q2 Q3 Q4 Q1-60 Q2 Q3 Q4 Q1-61 Q2 Q3 Q4 Q1-62 Q2 Q3 Q4 Q1-63 Q2 Q3 Q4 Q1-64 Q2 Q3 Q4 Q1-65 Q2 Q3 Q4 Q1-66
ปริมาณน้าใช้การได้จริง
ปริมาณน้า (ล้านลูกบาศก์เมตร) GDP เกษตร
เอลนีโญ เอลนีโญ
(ล้านลูกบาศก์เมตร) (ร้อยละ)
กองยุทธศาสตร์และการวางแผนเศรษฐกิจมหภาค
15 พฤษภาคม 2566
37
NESDC
Economic Outlook
ข้อสมมติฐานการประมาณการเศรษฐกิจปี 2566
1) เศรษฐกิจโลกและปริมาณการค้าโลกในปี 2566 ขยายตัวร้อยละ 2.7 และร้อยละ 2.1 ชะลอลงจากร้อยละ 3.4 และร้อยละ 5.1 ในปี 2565 ตามลาดับ แต่ปรับขึ้นเล็กน้อยจากร้อยละ 2.6 และร้อยละ 2.0 ในสมมติฐานการประมาณการครั้งก่อน โดยเป็นผลมาจากการปรับเพิ่มสมมติฐานการขยายตัวของเศรษฐกิจสหรัฐฯ และยูโรโซนเป็นร้อยละ 0.9 และร้อยละ 0.5 เทียบกับร้อยละ 0.7 และร้อยละ 0.3 ในสมมติฐานการประมาณการครั้งก่อน ตามข้อมูลเศรษฐกิจในไตรมาสแรกที่สูงกว่าที่คาดการณ์ รวมทั้งปรับเพิ่มสมมติฐานการขยายตัวของเศรษฐกิจจีนเป็นร้อยละ 4.9 จากร้อยละ 4.7 ในการประมาณการครั้งก่อน ตามแนวโน้มการฟื้นตัวของเศรษฐกิจอย่างต่อเนื่องภายหลังจากการยกเลิกมาตรการควบคุม การแพร่ระบาดรวมทั้งการเปิดประเทศ อย่างไรก็ตาม เศรษฐกิจโลกมีแนวโน้มที่จะชะลอลงจากปีก่อนหน้าโดยเป็นผลมาจากการปรับขึ้นอัตราดอกเบี้ยนโยบายของธนาคารกลางสาคัญ ๆ
2) ค่าเงินบาทเ ลี่ยทั้งปี 2566 คาดว่าจะอยู่ในช่วง 32. - 33. บาทต่อดอลลาร์ สรอ. แข็งค่าขึ้นจากเฉลี่ย 35.1 บาทต่อดอลลาร์ สรอ. ในปี 2565 แต่เป็นการปรับให้อ่อนค่าลงจาก เฉลี่ย 32.3 - 33.3 บาทต่อดอลลาร์ สรอ. ในสมมติฐานการประมาณการครั้งก่อนที่ ตามแนวโน้ม การอ่อนค่าของเงินบาทในช่วงเดือนกุมภาพันธ์ถึงเมษายน 2566 ซึ่งอยู่ที่ 34.3 บาทต่อดอลลาร์ สรอ. เทียบกับ 33.23 บาทต่อดอลลาร์ สรอ. ในเดือนมกราคม ตามการแข็งค่าของดอลลาร์ สรอ. อันเนื่องมาจากความกังวลต่อการชะลอตัวของเศรษฐกิจและความไม่แน่นอนของเสถียรภาพ สถาบันการเงิน ส่งผลให้นักลงทุนย้ายเงินลงทุนไปสู่สินทรัพย์ที่มีความเสี่ยงต่ากว่า ประกอบกับการดาเนินนโยบายการเงินแบบเข้มงวด อย่างต่อเนื่องของธนาคารกลางสหรัฐฯ ท่ามกลางแรงกดดันเงินเฟ้อที่ยังสูงกว่าเป้าหมายนโยบายการเงิน อย่างไรก็ตาม ในช่วงที่เหลือของปีคาดว่าค่าเงินบาทมีแนวโน้มที่จะแข็งค่าขึ้นเป็นลาดับ ตามแนวโน้มการฟื้นตัวของภาคการท่องเที่ยวโดยเฉพาะในช่วงครึ่งหลังของปีจากจานวนนักท่องเที่ยวที่จะเร่งตัวขึ้น รวมทั้งการลดลงของต้นทุนการขนส่งทางทะเลซึ่งจะส่งผลให้ดุลบัญชีเดินสะพัดมีแนวโน้มเกินดุลมากขึ้น และแนวโน้มการหยุดการขึ้นอัตราดอกเบี้ยของธนาคารกลางสหรัฐฯ ที่จะส่งผลให้ค่าเงินดอลลาร์ สรอ. ปรับตัวอ่อนค่าลง
3) ราคาน้ามันดิบดูไบเ ลี่ยในปี 2566 อยู่ในช่วง . - . ดอลลาร์ สรอ. ต่อบาร์เรล เท่ากับสมมติฐานการประมาณการครั้งก่อน และลดลงจากเฉลี่ย 96.2 ดอลลาร์ สรอ. ต่อบาร์เรล ในปี 2565 ตามราคาน้ามันที่ปรับตัวลดลงตามการชะลอตัวลงของเศรษฐกิจโลก โดยล่าสุด ณ วันที่ 11 พฤษภาคม 2566 ราคาน้ามันดิบดูไบยังทรงตัวอยู่ที่ระดับ 75.6 ดอลลาร์ สรอ. ต่อบาร์เรล ส่งผลให้ราคาน้ามันดิบดูไบเฉลี่ยในช่วง 1 มกราคม - 11 พฤษภาคม 2566 อยู่ที่ 80.4 ดอลลาร์ สรอ. ต่อบาร์เรล อย่างไรก็ตาม คาดว่าในช่วงที่เหลือของปี ราคาน้ามันดิบมีแนวโน้ม ที่จะปรับตัวสูงขึ้นตามการปรับลดกาลังการผลิตของกลุ่มประเทศผู้ผลิตน้ามันและพันธมิตร (OPEC+)33 ประกอบกับจานวนแท่นขุดเจาะทั่วโลกและปริมาณ น้ามันดิบคงคลังที่ยังอยู่ในระดับต่ากว่าช่วงก่อนการแพร่ระบาด34 ขณะเดียวกัน แนวโน้มการฟื้นตัวของเศรษฐกิจจีนจะส่งผลให้ อุปสงค์การใช้น้ามันเพิ่มสูงขึ้น นอกจากนี้ ยังมีปัจจัยความไม่แน่นอนและความยืดเยื้อของความขัดแย้งระหว่างรัสเซียและยูเครนที่อาจจะส่งผลต่อระดับราคาพลังงาน และปัญหาความมั่นคงทางพลังงานในภูมิภาคยุโรปที่ต้องดาเนินการสารองพลังงานไว้ใช้ในช่วงฤดูหนาวที่จะส่งผลให้ระดับราคาพลังงานเพิ่มสูงขึ้น
33 ผลการประชุมกลุ่มประเทศผู้ผลิตน้ามันและประเทศพันธมิตร (OPEC+) เมื่อวันที่ 3 เมษายน 2566 มีมติที่จะยืนยันการลดกาลังการผลิตลง 2 ล้านบาร์เรลต่อวัน จนกระทั่งสิ้นสุดปี 2566 ตามข้อตกลงของที่ประชุมเมื่อเดือนตุลาคม 2565 ขณะที่ยังมีประเทศสมาชิกที่สมัครใจที่จะปรับลดกาลังการผลิตเพิ่มเติมอีกรวม 1.56 ล้านบาร์เรลต่อวัน ส่งผลให้กลุ่ม OPEC+ จะมีการปรับลดกาลังการผลิตลงรวมทั้งสิ้น 3.66 ล้านบาร์เรลต่อวัน
34 โดยจานวนแท่นขุดเจาะทั่วโลก (operative oil rigs) เฉลี่ยสามเดือนแรกของปี 2566 อยู่ที่ 1,448 แท่น เทียบกับ 1,785 แท่นในปี 2562 ในขณะที่ปริมาณน้ามันดิบ คงคลังของสหรัฐฯ เฉลี่ยสามเดือนแรกในปี 2566 อยู่ที่ 838.3 ล้านบาร์เรล เทียบกับ 1,102.3 ล้านบาร์เรลในปี 2562
ตารางสมมติฐานการประมาณการเศรษฐกิจปี 2566
ข้อมูลจริง
ประมาณการ 2566
2563
2564
2565
ณ 17 ก.พ. 2566
ณ 15 พ.ค. 2566
อัตราการขยายตัวทางเศรษฐกิจโลก (%)1/
-2.8
5.6
3.4
2.6
2.7
สหรัฐอเมริกา
-2.8
5.9
2.1
0.7
0.9
ยูโรโซน
-6.1
5.3
3.5
0.3
0.5
ญี่ปุ่น
-4.3
2.1
1.0
1.5
1.5
จีน
2.2
8.4
3.0
4.7
4.9
อัตราการขยายตัวปริมาณการค้าโลก (%)
-7.8
10.6
5.1
2.0
2.1
อัตราแลกเปลี่ยน (ดอลลาร์ สรอ./บาร์เรล)
31.3
32.0
35.1
32.3 - 33.3
32.8 - 33.8
ราคาน้ามันดิบดูไบ (ดอลลาร์ สรอ. ต่อบาร์เรล)
42.4
69.5
96.2
80.0 - 90.0
80.0 - 90.0
ราคาส่งออก ดอลลาร์ สรอ. (%)
-0.8
3.3
4.2
(-1.5) - (-0.5)
(-1.0) - (0.0)
ราคานาเข้า ดอลลาร์ สรอ. (%)
-3.6
8.3
13.0
(-3.0) - (-2.0)
(-2.0) - (-1.0)
รายรับจากนักท่องเที่ยวต่างชาติ (ล้านล้านบาท)2/
0.42
0.15
0.58
1.31
1.27
จานวนนักท่องเที่ยวต่างชาติ (ล้านคน)
6.7
0.4
11.2
28.0
28.0
หมายเหตุ: 1/ เศรษฐกิจโลกคานวณ Trade weight เฉพาะ 15 เศรษฐกิจคู่ค้าสาคัญ ในปี 2562 2/ ข้อมูลบนฐานดุลการชาระเงินของธนาคารแห่งประเทศไทย ประมาณการโดย สศช.
ที่มา: สานักงานสภาพันนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ณ วันที่ 15 พฤษภาคม 2566
กองยุทธศาสตร์และการวางแผนเศรษฐกิจมหภาค
15 พฤษภาคม 2566
38
NESDC
Economic Outlook
4) ราคาสินค้าส่งออกและราคาสินค้านาเข้าในรูปดอลลาร์ สรอ. ในปี 2566 เพิ่มขึ้นร้อยละ (-1.0) - (0.0) และร้อยละ (-2.0) - (-1.0) ชะลอตัวลงจากร้อยละ 4.2 และร้อยละ 13.0 ในปี 2565 ตามลาดับ โดยเป็นการปรับเพิ่มจากสมมติฐานในการประมาณการครั้งก่อนที่ร้อยละ (-1.5) - (-0.5) และร้อยละ (-3.0) - (-2.0) ตามลาดับ เพื่อให้สอดคล้องกับข้อมูลราคาสินค้าส่งออกและราคาสินค้านาเข้าในไตรมาสที่ 1 ซึ่งขยายตัวร้อยละ 2.0 และร้อยละ 4.8 ตามลาดับ
5) รายรับจากนักท่องเที่ยวต่างประเทศในปี 2566 อยู่ที่ 1.27 ล้านล้านบาท เพิ่มขึ้นจาก 0.58 ล้านล้านบาทในปี 2565 และเป็นการปรับลดลงจากสมมติฐาน 1.31 ล้านล้านบาท ในการประมาณการครั้งก่อนตามข้อมูลค่าใช้จ่ายต่อหัวของนักท่องเที่ยวต่างชาติที่ต่ากว่าประมาณการเดิม เนื่องจากการเพิ่มขึ้นของสัดส่วนนักท่องเที่ยวที่เดินทางจากประเทศระยะใกล้ซึ่งมีค่าใช้จ่ายต่อคนต่อทริปต่ากว่านักท่องเที่ยวระยะไกล ส่งผลให้ค่าใช้จ่ายต่อหัวของนักท่องเที่ยวโดยรวมต่ากว่าในสมมติฐานการประมาณการครั้งก่อน ขณะที่จานวนนักท่องเที่ยวต่างชาติในปี 2566 คาดว่า จะมีจานวนรวมทั้งสิ้น 28.0 ล้านคน เท่ากับประมาณการครั้งก่อน และเพิ่มขึ้นจาก 11.2 ล้านคนในปี 2565 โดยในช่วงไตรมาสแรกของปี 2565 มีจานวนนักท่องเที่ยวต่างชาติเดินทางมายังประเทศไทยทั้งสิ้น 6.5 ล้านคน ใกล้เคียงกับที่คาดการณ์ไว้ โดยคาดว่าในช่วงที่เหลือของปีจะมีนักท่องเที่ยวต่างชาติเดินทางเข้ามาเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง โดยเฉพาะอย่างยิ่งนักท่องเที่ยวจากจีนซึ่งคาดว่าจะเดินทางมาประเทศไทยจานวนประมาณ 4.2 ล้านคน
6) การเบิกจ่ายงบประมาณ ประกอบด้วย (1) อัตราการเบิกจ่ายงบประมาณรายจ่ายประจาปีงบประมาณ 2566 ที่ร้อยละ 92.5 ของงบประมาณทั้งหมด เทียบกับร้อยละ 93.0 ในสมมติฐานการประมาณการครั้งก่อนแบ่งเป็น อัตราการเบิกจ่ายงบประมาณรายจ่ายประจาที่ร้อยละ 97.0 โดยปรับลดลงจากร้อยละ 98.0 ในการประมาณการครั้งก่อน และเทียบกับร้อยละ 99.2 ในปีงบประมาณก่อนหน้า ขณะที่อัตราการเบิกจ่ายรายจ่ายลงทุนคาดว่าจะอยู่ที่ร้อยละ 75.0 เท่ากับการประมาณการครั้งก่อน สาหรับงบประมาณรายจ่ายประจาปี 2567 คาดว่าจะมีความล่าช้าประมาณ 2 - 4 เดือน และจะสามารถเบิกจ่ายได้ภายในไตรมาสที่สองของปีงบประมาณ 2567 (2) อัตราการเบิกจ่ายงบประมาณเหลื่อมปีอยู่ที่ร้อยละ 86.2 เท่ากับสมมติฐานการประมาณการครั้งก่อน และเทียบกับร้อยละ 90.1 ในปีงบประมาณ 2565 โดยแบ่งเป็น อัตราการเบิกจ่ายงบประมาณรายจ่ายประจาและรายจ่ายลงทุนที่ร้อยละ 90.0 และร้อยละ 85.0 เท่ากับการประมาณการครั้งก่อน ตามลาดับ และ (3) อัตราการเบิกจ่ายงบลงทุนรัฐวิสาหกิจร้อยละ 70.0 ของวงเงินงบประมาณเท่ากับสมมติฐานการประมาณการครั้งที่ผ่านมา คิดเป็นวงเงินลงทุนประมาณ 3.45 แสนล้านบาท
ประมาณการเศรษฐกิจปี 2566
เศรษฐกิจไทยในปี 2566 มีแนวโน้มที่จะขยายตัวร้อยละ 2.7 - 3.7 (ค่ากลางการประมาณการร้อยละ 3.2) ปรับตัวดีขึ้นจากการขยายตัวร้อยละ 2.6 ในปี 2565 อัตราเงินเฟ้อคาดว่าจะอยู่ในช่วงร้อยละ 2.5 - 3.5 และบัญชีเดินสะพัดเกินดุลร้อยละ 1.4 ของ GDP เทียบกับ การขาดดุลร้อยละ 3.5 ของ GDP ในปี 2565
ในการแถลงข่าววันที่ 15 พฤษภาคม 2566 สานักงานสภาพันนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ (สศช.) คาดว่าเศรษฐกิจไทยในปี 2566 จะขยายตัวร้อยละ 2.7 - 3.7 โดยมีค่ากลางการประมาณการร้อยละ 3.2 เท่ากับการประมาณการครั้งก่อนในการแถลงข่าวเมื่อวันที่ 17 กุมภาพันธ์ 2566 อย่างไรก็ดี มีการปรับองค์ประกอบการขยายตัวทางเศรษฐกิจให้สอดคล้องกับการปรับสมมติฐานการประมาณการและข้อมูลจริงในไตรมาสแรกของปี 2566 ดังนี้
1) การปรับเพิ่มประมาณการอัตราการขยายตัวของการอุปโภคบริโภคภายในประเทศ ซึ่งเป็นการปรับให้สอดคล้องกับข้อมูลการขยายตัวของการอุปโภคบริโภคภาคเอกชนในไตรมาสแรกของปี 2566 ที่ขยายตัวร้อยละ 5.4 สูงกว่าที่ประมาณการไว้ โดยเฉพาะการกลับมาขยายตัวของการใช้จ่ายในหมวดสินค้าคงทนประเภทยานพาหนะ ส่งผลให้ในการประมาณการครั้งนี้ คาดว่าการอุปโภคบริโภคภาคเอกชนในปี 2566 มีแนวโน้มขยายตัวร้อยละ 3.7 เทียบกับร้อยละ 3.2 ในการประมาณการครั้งก่อน
2) การปรับลดประมาณการการอุปโภคภาครัฐบาล เพื่อให้สอดคล้องกับการปรับลดสมมติฐานการเบิกจ่ายรายจ่ายประจา สาหรับงบประมาณรายจ่ายประจาปี 2566 โดยคาดว่าอัตราการเบิกจ่าย ณ สิ้นปีงบประมาณ 2566 จะอยู่ที่ร้อยละ 97.0 ของวงเงินงบประมาณทั้งหมด เป็นการปรับลดลงจากร้อยละ 98.0 ในการประมาณการครั้งก่อน ทาให้คาดว่าการอุปโภคภาครัฐบาลจะลดลงร้อยละ 2.6 ปรับลดจาก ที่คาดว่าจะลดลงร้อยละ 1.5 ในการประมาณการครั้งก่อน
3) การปรับลดประมาณการการลงทุนภาคเอกชน ตามข้อมูลการขยายตัวของการลงทุนภาคเอกชนในไตรมาสแรกของปี 2566 ที่ขยายตัวร้อยละ 2.6 ต่ากว่าที่คาดการณ์ และสอดคล้องกับข้อมูลการลดลงของการส่งออกและการนาเข้าสินค้าโดยเฉพาะสินค้าวัตถุดิบและสินค้าขั้นกลางที่ยังคงปรับตัวลดลง ประกอบกับอัตราการใช้กาลังการผลิตในไตรมาสแรกที่ยังอยู่ในระดับต่าที่ร้อยละ 63.7 เทียบกับร้อยละ 66.8 ในช่วงเดียวกันของปีก่อน ทาให้คาดว่าการลงทุนภาคเอกชนจะขยายตัวร้อยละ 1.9 ปรับลดจากที่คาดว่าจะขยายตัวร้อยละ 2.1 ในการประมาณการครั้งก่อน
กองยุทธศาสตร์และการวางแผนเศรษฐกิจมหภาค
15 พฤษภาคม 2566
39
NESDC
Economic Outlook
องค์ประกอบของการขยายตัวทางเศรษฐกิจ
1) การใช้จ่ายเพ่อการอุปโภคบริโภค (1) การใช้จ่ายเพ่อการอุปโภคบริโภคภาคเอกชน คาดว่าจะขยายตัวร้อยละ 3.7 ต่อเนื่องจากร้อยละ 6.3 ในปี 2565 และเป็นการปรับเพิ่มจากการขยายตัวร้อยละ 3.2 ในการประมาณการครั้งก่อน โดยได้รับปัจจัยสนับสนุนจากการขยายตัวของฐานรายได้ในระบบเศรษฐกิจตามการปรับตัวดีขึ้นของรายได้จากภาคการท่องเที่ยวและภาคเกษตร รวมทั้งตลาดแรงงานที่มีแนวโน้มฟื้นตัวได้อย่างต่อเนื่อง และ (2) การใช้จ่ายเพ่อการอุปโภคภาครัฐบาล คาดว่าจะลดลงร้อยละ 2.6 เทียบกับการขยายตัวร้อยละ 0.2 ในปี 2565 ซึ่งเป็นการปรับลดลงจากร้อยละ 1.5 ในการประมาณการครั้งที่ผ่านมา สอดคล้องกับการปรับลดสมมติฐานการเบิกจ่ายงบประมาณรายจ่ายประจาภายใต้งบประมาณรายจ่ายประจาปี 2566 และการปรับลดกรอบงบประมาณรายจ่ายประจาภายหลังการโอนเปลี่ยนแปลงงบประมาณรายจ่ายประจาปี 2566
2) การลงทุนรวม คาดว่าจะขยายตัวร้อยละ 2.1 ต่อเนื่องจากร้อยละ 2.3 ในปี 2565 โดย (1) การลงทุนภาคเอกชน คาดว่าจะขยายตัวร้อยละ 1.9 เทียบกับร้อยละ 5.1 ในปี 2565 ซึ่งเป็นการปรับลดลงจากร้อยละ 2.1 ในการประมาณการครั้งก่อนสอดคล้องกับแนวโน้มการลดลงของ การส่งออกและนาเข้าสินค้า และ (2) การลงทุนภาครัฐ คาดว่าจะขยายตัวร้อยละ 2.7 เท่ากับการประมาณการครั้งก่อน เทียบกับการลดลง ร้อยละ 4.9 ในปี 2565 สอดคล้องกับการเพิ่มขึ้นของกรอบงบประมาณรายจ่ายลงทุนภายใต้งบประมาณรายจ่ายประจาปี 2566 วงเงิน 655,183 ล้านบาท เพิ่มขึ้นร้อยละ 16.1 จากวงเงิน 564,318.5 ล้านบาท ในปีงบประมาณ 2565 รวมทั้งสอดคล้องกับความคืบหน้าในการดาเนินการโครงการลงทุนทางด้านโครงสร้างพื้นฐานที่สาคัญของรัฐวิสาหกิจ
3) มูลค่าการส่งออกสินค้าในรูปเงินดอลลาร์ สรอ. คาดว่าจะลดลงร้อยละ 1.6 เท่ากับการประมาณการครั้งก่อนเทียบกับการขยายตัวร้อยละ 5.5 ในปี 2565 โดยคาดว่าปริมาณการส่งออกในปี 2566 จะลดลงร้อยละ 1.1 เทียบกับการลดลงร้อยละ 0.6 ในการประมาณการครั้งก่อน ซึ่งเป็นการปรับลดประมาณการให้สอดคล้องกับการลดลงของปริมาณการส่งออกในไตรมาสแรกร้อยละ 6.4 ในขณะที่มีการปรับสมมุติฐานราคาส่งออกจากร้อยละ (-1.5) - (-0.5) เป็นร้อยละ (-1.0) - (0.0) เพื่อให้สอดคล้องกับข้อมูลราคาสินค้าส่งออกในไตรมาสที่ 1 คาดว่าปริมาณการส่งออกสินค้าและบริการในปี 2566 จะขยายตัวร้อยละ 6.9 เทียบกับร้อยละ 7.4 ในการประมาณการครั้งก่อน และร้อยละ 6.8 ในปี 2565
4) มูลค่าการนาเข้าสินค้าในรูปเงินดอลลาร์ สรอ. คาดว่าจะลดลงร้อยละ 1.9 เทียบกับการขยายตัวร้อยละ 15.3 ในปี 2565 และเทียบกับ การลดลงร้อยละ 2.1 ในการประมาณการครั้งก่อน โดยคาดว่าปริมาณการนาเข้าส่งจะลดลงร้อยละ 0.4 เทียบกับการขยายตัวร้อยละ 0.4 ในการประมาณการครั้งก่อน ตามแนวโน้มการลดลงของการส่งออกและการลงทุนภาคเอกชน ในขณะที่มีการปรับสมมุติฐานราคานาเข้าจาก ร้อยละ (-3.0) - (-2.0) เป็นร้อยละ (-2.0) - (-1.0) เพื่อให้สอดคล้องกับข้อมูลราคาสินค้านาเข้าในไตรมาสที่ 1 ทาให้คาดว่าปริมาณการนาเข้าสินค้าและบริการในปี 2566จะขยายตัวร้อยละ 1.6 ลดลงจากร้อยละ 2.6 ในการประมาณการครั้งก่อน และร้อยละ 4.1 ในปี 2565
5) ดุลการค้า คาดว่าจะเกินดุล 1.14 หมื่นล้านดอลลาร์ สรอ. เทียบกับการเกินดุล 1.08 หมื่นล้านดอลลาร์ สรอ. ในปี 2565 และลดลงจาก 1.21 หมื่นล้านดอลลาร์ สรอ. ในการประมาณการครั้งก่อน สอดคล้องกับการปรับเพิ่มประมาณการมูลค่าการนาเข้าสินค้า เมื่อรวมกับ ดุลบริการที่กลับมาเกินดุลตามการเพิ่มขึ้นของรายได้จากนักท่องเที่ยวต่างชาติ คาดว่าดุลบัญชีเดินสะพัดในปี 2566 จะเกินดุล 7.9 พันล้านดอลลาร์ สรอ. หรือคิดเป็นร้อยละ 1.4 ของ GDP เทียบกับการขาดดุล 1.72 หมื่นล้านดอลลาร์ สรอ. หรือคิดเป็นการขาดดุลร้อยละ 3.5 ของ GDP ในปี 2565
6) เสถียรภาพทางเศรษฐกิจ อัตราเงินเฟ้อทั่วไปเฉลี่ยทั้งปี 2566 คาดว่าจะอยู่ในช่วงร้อยละ 2.5 - 3.5 เท่ากับการประมาณการครั้งก่อน และต่ากว่าร้อยละ 6.1 ในปี 2565
กองยุทธศาสตร์และการวางแผนเศรษฐกิจมหภาค
15 พฤษภาคม 2566
40
NESDC
Economic Outlook
การบริหารนโยบายเศรษฐกิจมหภาคในช่วงที่เหลือของปี 2566 ควรให้ความสาคัญกับ
1) การขับเคล่อนภาคการส่งออกสินค้า โดยให้ความสาคัญกับ (1) การเร่งรัดการส่งออกสินค้าไปยังตลาดที่ยังมีแนวโน้มการขยายตัวทางเศรษฐกิจในเกณฑ์ดี และการสร้างตลาดใหม่ที่มีกาลังซื้อสูง โดยเฉพาะตลาดตะวันออกกลาง เอเชียใต้ และอาเซียน รวมทั้งการแก้ไขปัญหาการค้าชายแดนเพื่อเชื่อมโยงกลุ่มประเทศ CLMV (2) การติดตาม เฝ้าระวัง และประเมินสถานการณ์ความผันผวนของเศรษฐกิจและการเงินโลก อันเนื่องมาจากปัญหาความขัดแย้งเชิงภูมิรัฐศาสตร์ที่ยังคงยืดเยื้อ และปัญหาเสถียรภาพทางการเงินของสถาบันการเงินของประเทศเศรษฐกิจหลักท่ามกลางแนวโน้มการเพิ่มขึ้นของอัตราดอกเบี้ยในตลาดการเงินโลก (3) การส่งเสริมให้ภาคธุรกิจบริหารจัดการความเสี่ยงอย่างเหมาะสมเพื่อรองรับความผันผวนของอัตราแลกเปลี่ยน (4) การอานวยความสะดวกและลดต้นทุนที่เกี่ยวข้องกับการส่งออก (5) การใช้ประโยชน์จากกรอบความตกลงหุ้นส่วนทางเศรษฐกิจระดับภูมิภาค (RCEP) พร้อมทั้งการเร่งรัดการเจรจาความตกลงการค้าเสรีที่กาลังอยู่ในขั้นตอนของ การเจรจา และเตรียมศึกษาเพื่อเจรจากับประเทศคู่ค้าสาคัญใหม่ ๆ ควบคู่ไปกับการศึกษามาตรการกีดกันทางการค้าทั้งมาตรการภาษีและมาตรการที่ไม่ใช่มาตรการทางภาษีของตลาดคู่ค้าสาคัญ ๆ โดยเฉพาะมาตรการที่เกี่ยวข้องทางด้านสิ่งแวดล้อม สุขอนามัย รวมถึงทรัพย์สินทางปัญญา เพื่อเตรียมการและนาไปสู่การหาแนวทางเจรจาต่อรองต่อไป และ (6) การยกระดับขีดความสามารถในการแข่งขันของภาคการส่งออก โดยมุ่งเน้นการพันนาสินค้าเกษตร อาหาร และสินค้าอุตสาหกรรม ให้มีคุณภาพและมาตรฐานตรงตามความต้องการและข้อกาหนดของประเทศผู้นาเข้า ควบคู่ไปกับการปรับโครงสร้างอุตสาหกรรมการผลิตโดยใช้นวัตกรรมและเทคโนโลยีขั้นสูงเพื่อยกระดับผลิตภาพการผลิตมากขึ้น
2) การส่งเสริมการลงทุนภาคเอกชน โดยให้ความสาคัญกับ (1) การเร่งรัดให้ผู้ประกอบการที่ได้รับอนุมัติและออกบัตรส่งเสริมการลงทุนในช่วงปี 2563 - 2565 ให้เกิดการลงทุนจริง โดยเฉพาะอย่างยิ่งโครงการลงทุนที่อยู่ในกลุ่มอุตสาหกรรมเป้าหมาย (2) การแก้ไขปัญหาที่ นักลงทุนและผู้ประกอบการต่างประเทศเห็นว่าเป็นอุปสรรคต่อการลงทุนและการประกอบธุรกิจ รวมทั้งปัญหาการขาดแคลนแรงงาน ในภาคการผลิต (3) การดาเนินมาตรการส่งเสริมการลงทุนเชิงรุกและอานวยความสะดวกเพื่อดึงดูดนักลงทุนในกลุ่มอุตสาหกรรมและบริการเป้าหมายให้เข้ามาลงทุนในไทยมากขึ้น ควบคู่ไปกับการดึงดูดนักลงทุนจากกลุ่มประเทศใหม่ ๆ ที่มีศักยภาพ (4) การส่งเสริม การลงทุนในเขตพันนาพิเศษภาคตะวันออก (EEC) เขตพันนาเศรษฐกิจพิเศษต่าง ๆ ที่ได้ดาเนินการไปแล้ว และการขับเคลื่อนพื้นที่ ระเบียงเศรษฐกิจพิเศษในแต่ละภูมิภาค (5) การขับเคลื่อนการลงทุนพันนาพื้นที่เศรษฐกิจและโครงสร้างพื้นฐานด้านคมนาคมขนส่งที่สาคัญ ๆ ให้เป็นไปตามแผนที่กาหนดไว้ และ (6) การพันนากาลังแรงงานที่มีทักษะสูงเพื่อรองรับกับอุตสาหกรรมที่เน้นเทคโนโลยีและนวัตกรรมเข้มข้น โดยเฉพาะกลุ่มอุตสาหกรรมเป้าหมายใหม่
3) การสนับสนุนการฟื้นตัวของการท่องเที่ยวและบริการเกี่ยวเน่อง โดยให้ความสาคัญกับ (1) การแก้ไขปัญหาและเตรียมความพร้อมสาหรับปัจจัยสนับสนุนที่เกี่ยวข้องกับการให้บริการด้านการท่องเที่ยวให้เหมาะสมและเพียงพอเพื่อรองรับการกลับมาของนักท่องเที่ยวต่างชาติ โดยเฉพาะ การพิจารณาความเพียงพอของเที่ยวบิน การเตรียมความพร้อมด้านแรงงาน รวมทั้งการพิจารณามาตรการ เพื่ออานวยความสะดวกให้ผู้ประกอบการในภาคการท่องเที่ยวและบริการที่เกี่ยวเนื่อง โดยเฉพาะผู้ประกอบการรายย่อย ให้สามารถกลับมาประกอบธุรกิจได้ (2) การส่งเสริมการพันนาการท่องเที่ยวคุณภาพสูง และยกระดับศักยภาพและฟื้นฟูภาคการท่องเที่ยวให้มีคุณภาพและยั่งยืน โดยเฉพาะการให้ความสาคัญกับความพร้อมของโครงสร้างพื้นฐานและสิ่งอานวยความสะดวก การบริหารจัดการพื้นที่และสิ่งแวดล้อม รวมทั้งการรักษามาตรฐานความปลอดภัยทั้งชีวิตและทรัพย์สินของนักท่องเที่ยว (3) การจัดกิจกรรมส่งเสริมการท่องเที่ยวและกิจกรรมที่เกี่ยวเนื่อง เพื่อดึงดูดนักท่องเที่ยวที่มีศักยภาพและมีกาลังซื้อสูง โดยเฉพาะกลุ่มพานักระยะยาว และ (4) การส่งเสริมการท่องเที่ยวภายในประเทศ รวมถึงการรณรงค์ให้นักท่องเที่ยวชาวไทย ที่นิยมเดินทางไปท่องเที่ยวต่างประเทศกลับมาท่องเที่ยวในประเทศไทยมากขึ้น
4) การดูแลการผลิตภาคเกษตรและรายได้เกษตรกร โดยให้ความสาคัญกับการเตรียมมาตรการรองรับผลผลิตสินค้าเกษตรที่จะออกสู่ตลาดในช่วงฤดูเพาะปลูก 2566/2567 ควบคู่ไปกับการเตรียมความพร้อมเพื่อรองรับและแก้ไขปัญหาที่อาจเกิดขึ้นจากความแปรปรวนของสภาพภูมิอากาศ รวมทั้งการบรรเทาผลกระทบจากปัญหาต้นทุนวัตถุดิบทางการเกษตรที่ยังอยู่ในระดับสูง โดยเฉพาะการส่งเสริมให้เกษตรกรและวิสาหกิจชุมชนสามารถผลิตปุ๋ยอินทรีย์และปุ๋ยชีวภาพได้ด้วยตนเองและลดการพึ่งพิงการนาเข้าปุ๋ยจากต่างประเทศ
5) การรักษาบรรยากาศทางเศรษฐกิจและการเม องภายในประเทศในช่วงหลังการเล อกตั้ง เพื่อรักษาความเชื่อมั่นของผู้บริโภคและภาคธุรกิจ และการเร่งรัดกระบวนการงบประมาณประจาปี 2567
6. ประเด็นการบริหารนโยบายเศรษฐกิจมหภาค
กองยุทธศาสตร์และการวางแผนเศรษฐกิจมหภาค
15 พฤษภาคม 2566
41
NESDC
Economic Outlook
กองยุทธศาสตร์และการวางแผนเศรษฐกิจมหภาค
15 พฤษภาคม 2566
42
NESDC
Economic Outlook
กองยุทธศาสตร์และการวางแผนเศรษฐกิจมหภาค
15 พฤษภาคม 2566
43
NESDC
Economic Outlook
กองยุทธศาสตร์และการวางแผนเศรษฐกิจมหภาค
15 พฤษภาคม 2566
44
NESDC
Economic Outlook
รายละเอียดเพิ่มเติมกรุณาติดต่อ Email : mspo-center@nesdc.go.th หรือ โทร. 0-2280-4085 ต่อ 6504 และ 6459
. s . o.
ประมาณการเศรษฐกิจ ปี 25661/
ข้อมูลจริง
ประมาณการปี 2566
2563
2564
2565
ณ 17 ก.พ. 66
ณ 15 พ.ค. 66
GDP (ณ ราคาประจาปี: พันล้านบาท)
15,661.1
16,166.6
17,370.2
18,444.1
18,395.1
รายได้ต่อหัว (บาทต่อคนต่อปี)
225,311.4
231,986.1
248,677.2
263,332.9
262,633.3
GDP (ณ ราคาประจาปี: พันล้านดอลลาร์ สรอ.)
500.5
505.5
495.3
562.3
552.4
รายได้ต่อหัว (ดอลลาร์ สรอ. ต่อหัวต่อปี)
7,200.7
7,254.1
7,090.9
8,028.4
7,886.9
อัตราการขยายตัวของ GDP (CVM, %)
-6.1
1.5
2.6
2.7 - 3.7
2.7 - 3.7
การลงทุนรวม (CVM, %)2/
-4.8
3.1
2.3
2.2
2.1
ภาคเอกชน (CVM, %)
-8.1
3.0
5.1
2.1
1.9
ภาครัฐ (CVM, %)
5.1
3.4
-4.9
2.7
2.7
การบริโภคภาคเอกชน (CVM, %)
-0.8
0.6
6.3
3.2
3.7
การอุปโภคภาครัฐบาล (CVM, %)
1.4
3.7
0.2
-1.5
-2.6
ปริมาณการส่งออกสินค้าและบริการ (ปริมาณ, %)
-19.7
11.1
6.8
7.4
6.9
มูลค่าการส่งออกสินค้า (พันล้านดอลลาร์ สรอ.)3/
227.0
270.6
285.4
280.9
280.8
อัตราการขยายตัว (มูลค่า, %)3/
-6.5
19.2
5.5
-1.6
-1.6
อัตราการขยายตัว (ปริมาณ, %)3/
-5.8
15.5
1.3
-0.6
-1.1
ปริมาณการนาเข้าสินค้าและบริการ (ปริมาณ, %)
-13.9
17.8
4.1
2.6
1.6
มูลค่าการนาเข้าสินค้า (พันล้านดอลลาร์ สรอ.)3/
186.6
238.2
274.6
268.8
269.4
อัตราการขยายตัว (มูลค่า, %)3/
-13.6
27.7
15.3
-2.1
-1.9
อัตราการขยายตัว (ปริมาณ, %)3/
-10.5
17.9
2.0
0.4
-0.4
ดุลการค้า (พันล้านดอลลาร์ สรอ.)
40.4
32.4
10.8
12.1
11.4
ดุลบัญชีเดินสะพัด (พันล้านดอลลาร์ สรอ.)
20.9
-10.6
-17.2
8.6
7.9
ดุลบัญชีเดินสะพัดต่อ GDP (%)
4.2
-2.1
-3.5
1.5
1.4
เงินเฟ้อ (%)
ดัชนีราคาผู้บริโภค
-0.8
1.2
6.1
2.5 - 3.5
2.5 - 3.5
GDP Deflator
-1.3
1.7
4.7
2.5 - 3.5
2.2 - 3.2
ที่มา: สานักงานสภาพันนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ณ วันที่ 15 พฤษภาคม 2566
หมายเหตุ: 1/ เป็นข้อมูลที่คานวณบนฐานบัญชีประชาชาติอนุกรมใหม่ ซึ่ง สศช. เผยแพร่ทาง www.nesdc.go.th
2/ การลงทุนรวม หมายถึง การสะสมทุนถาวรเบื้องต้น
3/ ตัวเลขการส่งออกและการนาเข้าเป็นไปตามฐานของธนาคารแห่งประเทศไทย






          ที่มา: สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ

เว็บไซต์นี้มีการใช้งานคุกกี้ ศึกษารายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และ ข้อตกลงการใช้บริการ รับทราบ