กรุงเทพฯ--21 มี.ค.--www.smartlifecenter.com
เจาะลึก UCP600 & Letter of Credit(L/C)
Letter of Credit เป็นเครื่องมือที่นิยมใช้เป็นเครื่องมือในการชำระค่าสินค้าของผู้ซื้อ ขณะเดียวกันผู้ขายก็พึงพอใจถ้าได้รับการชำระเงินด้วย L/C ที่ผู้ซื้อเปิดมาให้ เพราะผู้ขายทราบดีว่า ถ้าผู้ขายส่งสินค้าออกแล้วได้จัดทำเอกสารตามเงื่อนไขของ L/C นั้น ได้ถูกต้องครบถ้วน ผู้ขายย่อมได้รับการชำระเงินแน่นอนจากธนาคารผู้เปิด Letter of Credit แม้ว่าผู้ซื้อจะไม่ชำระก็ตาม
ผู้ซื้อ ผู้ขาย ธนาคารผู้เปิด L/C ธนาคารผู้รับซื้อเอกสารจากผู้ขาย ต้องเข้าใจเงื่อนไขใน L/C อย่างชัดเจน แน่นอน เงื่อนไขใน L/C แต่ละฉบับมีความยุ่งยาก ยาก ง่าย ไม่เหมือนกัน L/C บางฉบับใช้ศัพท์โดยเฉพาะแต่คำเหล่านั้นได้มีการระบุไว้ในมาตราต่างๆ ของ UCP 600 จึงมีความจำเป็นอย่างสูงยิ่ง ที่ผู้เกี่ยวข้องใน L/C อาทิเช่น ธนาคารผู้เปิด L/C ผู้ขอเปิด L/C ผู้รับประโยชน์ตาม L/C (ผู้ขาย) และธนาคารผู้รับซื้อเอกสารภายใต้เงื่อนไข L/C ต้องเข้าใจเงื่อนไขทุกๆเงื่อนไขใน L/C ผู้ขายก็จะทำเอกสารได้ถูกต้อง เอกสารใดสามารถออกเองได้หรือต้องจัดหาที่ไหน อย่างไร
หลักสูตรนี้จึงได้นำเงื่อนไขของ L/C มาวิเคราะห์เพื่อให้ทราบ ว่าวิธีปฏิบัติควรทำอย่างไร โดยนำเอามาตราต่างๆ ทั้ง 39 มาตรา ของ UPC 600 มาทำความเข้าใจโดยละเอียดเพื่อเป็นพื้นฐานในการจัดทำเอกสาร ในการตรวจเอกสาร เพื่อลดข้อขัดแย้งในเรื่องการชำระเงินระหว่างประเทศ
วิทยากร
อ.วัชระ ปิยะพงษ์
วิทยากรผู้เชี่ยวชาญด้านธุรกิจระหว่างประเทศ
อดีต ผู้จัดการศูนย์ธุรกิจต่างประเทศ ธ.กรุงเทพ จำกัด(มหาชน)
เนื้อหาหลักสูตร
1.วิเคราะห์ Letter of Credit
- อย่างไรเรียกว่า Standby L/C ใช้ประโยชน์อย่างไรในการค้า
- เงื่อนไขใน L/C ที่แสดงว่าเป็น “Restricted L/C”
2. การใช้ UCP 600 ทั้ง 39 มาตราในการจัดทำเอกสาร
2.1 UCP 600 ได้ให้ความของ Shipment term ว่านับอย่างไร ถ้า L/C ระบุ
- On or about
- First Half, Second Half
- Beginning, Middle, End
2.2 UCP 600 จะระบุหน้าที่ความรับผิดชอบของธนาคาร (Issuing Bank, Confirming Bank )
- มาตรฐานในการตรวจเอกสารตามมาตราที่ 14 ที่จะต้องปฏิบัติ
3. การปฏิเสธเอกสารที่มีข้อผิดพลาด (Discrepancy) ของการใช้มาตราที่ 16 ต้องปฏิบัติอย่างไร
4. การขอใบตราส่งให้สอดคล้องใน L/C (ใช้มาตราที่ 19 ถึง 25)
5. ความหมายของคำว่า “CLEAN” ตามาตราที่ 27
6. การจัดหา Insurance Policy/Certificate ตามมาตราที่ 28
7. ถ้าวันหมดอายุของ L/C ตรงกับวันหยุดทำอย่างไร(มาตราที่ 29)
8. ความหมายของคำว่า “ABOUT” ตามมาตราที่ 30
9. การใช้ “PARTIAL SHIPMENT” ตามมาตราที่ 31
10. การส่งสินค้าเป็นงวด ๆ ตามาตราที่ 32
11. การยื่นเอกสารนอกเวลาทำการของธนาคาร ตามมาตราที่ 33
12. เอกสารที่ปลอมแปลงใครรับผิดชอบ มาตราที่ 34
13. เอกสารสูญหายล่าช้าใครรับผิดชอบ มาตราที่ 35
14. เหตุสุดวิสัย ตามาตราที่ 36
15. ผู้ซื้อจะต้องรับผิดต่อการเปิด L/C มาตราที่ 37
16. ผู้ขายต้องการโอน L/C ให้กับผู้อื่น ต้องทำอย่างไร มาตราที่ 38
- จะโอนบางส่วนได้ ต้องทำอย่างไร
- ผู้รับโอนมาแล้วจะโอนต่อทำอย่างไร
17. ผู้รับประโยชน์ตาม L/C จะหา Supplier ได้อย่างไร มาตราที่ 39
18. ถาม-ตอบ
อัตราค่าสัมมนา
Early bird 3,000 บาท (TAX 3% = 90 ฿ ชำระสุทธิเพียง 2,910 ฿)
สำหรับผู้ที่สมัครและชำระเงินภายใน วันที่ 12 มิถุนายน 2555 เท่านั้น
Normal 3,800 บาท ( TAX 3% = 114 ฿ ชำระ 3,686 ฿ )
วันที่และสถานที่จัดสัมมนา
วันพุธ ที่ 20 มิถุนายน 2555 (เวลา 08.30 — 16.00 น.)
โรงแรมเวโรนิก้า เรสซิเด้นท์(ถ.รัชดาภิเษก : MRT สถานีสุทธิสาร ทางออก 1)
ติดต่อสอบถาม และสำรองที่นั่ง
ติดต่อคุณนิ่ม
โทร: 08 5823 8624, 0 2920 6958
แฟกซ์: 0 2920 7946
อีเมลล์:
[email protected]