กรุงเทพฯ--13 ส.ค.--PRIMEZONE MEDIA NETWORK ประเมินโดยใช้หลักประชากร,ระดับรายได้ และปัจจัยทางการเมือง หลังจากไม่มีกำแพงเบอร์ลินมาเกือบ 15 ปี การศึกษาข้อมูลของด้านเศรษฐกิจของบริษัทไพร์สวอเตอร์เฮาส์ชี้ให้เห็นว่าขนาดของประเทศอาจเป็นปัจจัยที่ทำให้ประเทศที่เคยอยู่ในกลุ่มประเทศโซเวียตชนะและได้เหรียญโอลิมปิกมากขึ้น การวิเคราะห์นี้จะเห็นได้อีกครั้งในการแข่งขันโอลิมปิกหน้าร้อนนี้และยังชี้ให้เห็นถึงความเป็นไปได้ในการพิชิตเหรียญของประเทศเจ้าภาพ ตัวเลขจะเพิ่มขึ้นถึง 2 % จากตัวเลขเศรษฐกิจของประเทศนั้นๆ ซึ่งอาจเป็นเรื่องที่ดีของกรีซ ในโอลิมปิกคราวนี้ จอห์น ฮอกเวอร์ด หัวหน้าหน่วยวิจัยเศรษฐกิจภาพรวมที่ไพร์สวอเตอร์เฮาส์ในอังกฤษให้สัมภาษณ์ว่าการศึกษาคครั้งนี้ปรับปรุงมาจากครั้งที่เคยทำวิจัยเรื่องการได้เหรียญเกี่ยวข้องกับปัจจัยทางเศรษฐกิจและการเมืองหรือไม่เมื่อโอลิมปิกที่ซิดนีย์ บริษัทเก็บข้อมูลต่อเนื่องเพื่อทำการเปรียบเทียบต่อไป ปัจจัยต่อไปนี้คือสิ่งที่ค้นพบว่ามีผลต่อจำนวนเหรียญที่แต่ละประเทศได้ในโอลิมปิก - จำนวนประชากร - รายได้ประชากร (วัดผลจาก GDP ที่ อัตราแลกเปลี่ยน PPPX - ประเทศทั้งที่เคยเป็นของโซเวียต และที่ไม่ใช่ - ประเทศเจ้าภาพ - จำนวนเหรียญที่ได้จากโอลิมปิกคราวที่แล้ว เปรียบเทียบ 30 อันดับแรกที่ได้กับเหรียญจริงเมื่อโอลิมปิก 200 ที่ซิดนีย์ผลนี้อาจไม่ตรงกับการคาดการณ์ในโอลิมปิกที่เอเธนส์ แต่มีความเป็นไปได้สูง สหรัฐรัสเซียจีนและเยอรมนีคาดหวังที่จะเป็นผู้นำอีกครั้งแม้ว่าแบบจำลองนี้จะแนะนำให้ทำให้ดีกว่าเดิมถ้าจะเทียบกับคราวที่แล้ว สำหรับประเทศเจ้าภาพกรีซอนาคตสดใสแน่ขณะที่ออสเตรเลียคาดว่าจะอยู่ท้ายๆ ตารางสำหรับประเทศอื่นแบบจำลองนี้ให้ผลลัพธ์ที่ใกล้เคียงกับความเป็นจริงของผลที่ซิดนีย์แต่ก็มีหลายปัจจัยที่ไม่สามารถให้ผลลัพธ์ที่ตรงกันได้เหมือนกันสำหรับบางประเทศ โดยรวมแล้วความถูกต้องเกือบ 90% ที่เดียวสำหรับแบบจำลองนี้แม้ว่าจะทิ้งปัจจัยบางตัวไป เช่นความสามารถเฉพาะบุคคลหรือทีม ฮออเวิร์ดคิดว่ามีหลายปัจจัยมากกว่าตัวเลขทางเศรษฐกิจหรือทางการเมืองจะเป็นตัวระบุจำนวนของเหรียญในแต่ละประเทศแต่ผลวิจัยของเราก็ให้ภาพรวมที่ชัดเจนสามารถอธิบายตัวเลขของคราวก่อนๆ ได้เหมือนกันคุณอาจคิดว่าประเทศที่ใหญ่และร่ำรวมกว่ามักทำได้ดีกว่าแต่ไม่แน่เสมอไปประเทศเล็กๆ หลายประเทศก็ทำได้ดีซึ่งเรากำลังศึกษาต่อไปถึงประเทศที่เคยอยู่ในกลุ่มโซเวียตการเปลี่ยนแปลงทางการเมืองที่เกิดขึ้นมีผลต่อความสามารถด้านกีฬาหรือไม่ การศึกษาพบว่าจำนวนเหรียญที่ได้มักเป็นสัมพันธ์กันกับจำนวนประชากรและรายได้ถัวเฉลี่ย GDP ที่เพิ่มขึ้น แต่สวนทางกับขนาดและความร่ำรวยที่ประเทศมี งานวิจัยยังแสดงให้เห็นถึงการให้ความสำคัญการสนับสนุนทางการกีฬาของประเทศที่เคยเป็นโซเวียตปัจจัยนี้ยังแสดงผลต่อเนื่องประเทศที่ให้ความสำคัญก็ได้ผลลัพธ์ที่ดีกว่าประเทศที่ไม่สนใจ และการเป็นประเทศเจ้าภาพ ก็เป็นปัจจัยที่ทำให้ได้เหรียญดูจากคราวที่จัดที่ซิดนีย์ออสเตรเลียได้เหรียญเพิ่มขึ้นเช่นเดียวกัน และสุดท้ายแบบจำลองนี้ก็ชี้ให้เห็นว่าการได้เหรียญสำหรับโอลิมปิกครั้งก่อนก็มีผลต่อการได้ในครั้งนี้ข้อมูลอ้างอิง สามารถหาข้อมูลอ้างอิงของโอลิมปิกทั้งสองครั้งเพื่อประกอบการอ่านได้ที่ www.pwc.com ไพร์สวอเตอร์เฮาส์เป็นบริษัทที่สามารถให้บริการด้านการประกัน ภาษี และเป็นที่ปรึกษาทั้งเอกชนและรัฐบาล มากกว่า 139 ประเทศทั่วโลก Model Estimates of Athens Olympics medals totals as compared to Sydney 2000 resultsCountry Model estimate of Medal total in Difference medal total in Sydney 2000 Athens 2004 1.US 70 97 -27 2.Russia 64 88 -24 3.China 50 59 -9 4.Germany 45 57 -12 5.Australia 41 58 -17 6.France 31 38 -7 7.Greece 29 13 +16 8.Italy 28 34 -6 9.Great Britain 25 28 -3 10..Soouth Korea 24 28 -4 11.Cuba 23 29 -6 12.Romania 23 26 -3 13.Ukraine 21 23 -2 14.Netherlands 21 25 -4 15.Japan 20 18 +2 16.Poland 17 14 +3 17.Hunga 17 17 0 18.Belarus 15 17 -2 19.Canada 15 14 +1 20.Brazil 15 12 +3 21.Spain 13 11 +2 22.Bulgaria 13 13 0 23.Sweden 12 12 0 24.Mexico 11 6 +5 25.Indonesia 11 6 +5 26.Switzerland 10 9 +1 27.India 10 1 +9 28.Norway 10 10 0 29.Czech Republic 10 8 +2 30.South Africa 9 5 +4 Top 30 total medals 703 776 -73 Other Countries 226 153 +73 Total medals 929 92 90 Source: PricewaterhouseCoopers model estimatesFOR IMMEDIATE RELEASEContacts:John HawksworthPartner,[email protected]+44 207 213 1650Jon [email protected]+44 207 213 3279Kate AlexanderPorter Novelli for [email protected]+1 (212) 601-8286--จบ----อินโฟเควสท์ (ดพ/กภ)--