กรีนพีซ ขอเชิญสื่อมวลชนร่วมงานสัมมนา “ความรับผิดชอบที่เพิ่มขึ้นของผู้ผลิต - เปลี่ยนอุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์ให้เป็นสีเขียว”

ข่าวทั่วไป Friday June 17, 2005 15:22 —ThaiPR.net

กรุงเทพฯ--17 มิ.ย.--กรีนพีซ เนื่องจากปริมาณขยะอิเล็กทรอนิกส์ซึ่งนับวันยิ่งเพิ่มจำนวนมากขึ้น และ ภูมิภาคเอเชีย ก็ยิ่งนับวันกลายเป็นแหล่งทิ้งขยะอิเล็กทรอนิกส์แหล่งใหญ่ที่สุดของโลกเข้าไปทุกขณะ จึงเป็นความจำเป็นเร่งด่วนที่รัฐบาลต้องกำหนดมาตรการเพื่อแก้ปัญหานี้อย่างยั่งยืน กรีนพีซนำเสนอนโยบายการจัดการขยะ “ความรับผิดชอบที่เพิ่มขึ้นของผู้ผลิต” (Extended Producer Responsibility, EPR) ซึ่งริเริ่มในทวีปยุโรปมาประยุกต์ใช้ เพื่อสนับสนุนให้ผู้ผลิตป้องกันมลพิษ และลดการใช้ทรัพยากรในแต่ละช่วงอายุของสินค้า ตั้งแต่ขั้นตอนการผลิต การใช้ ตลอดจนเมื่อสินค้าหมดอายุการใช้งานแล้ว โดยการเปลี่ยนแปลงการออกแบบสินค้าและเทคโนโลยีในการผลิต สร้างความเข้าใจต่อนโยบาย EPR ส่งเสริมให้มีการนำนโยบาย EPRมาประยุกต์ใช้ในประเทศไทย ความคิดเห็นของผู้ทรงคุณวุฒิจากหน่วยงานภาครัฐ องค์กรพัฒนาเอกชน นักวิชาการ ตัวแทนบริษัทผู้ผลิตสินค้าอิเล็กทรอนิกส์ และผู้เกี่ยวข้องกับการจัดการขยะอิเล็กทรอนิกส์ต่างๆ มากกว่า ๅ30 คน ที่ตอบรับเข้าร่วมการสัมมนา วันเสาร์ที่ 18 มิถุนายน 2548 เวลา 8.30 - 17.00 น. ณ ห้องประชุม สถาบันระหว่างประเทศเพื่อการค้าและการพัฒนา (ITD) ชั้น 8 อาคารวิทยพัฒนา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (ติดกับศศินทร์) (กรุณาพิจารณากำหนดการที่แนบมาพร้อมกันนี้ การสัมมนามีล่ามแปลพร้อมหูฟังตลอดรายการ) AGENDA Forum on “Extended Producer Responsibility: Greening the Electronics Sector” 18 June 2005, Conference Room, 8th Floor, Vidhayabhathana Building,The International Institute for Trade and Development, Chulalongkorn UniversityModerator: Kittikhun Kittiaram, Toxics Campaigner, Greenpeace Southeast Asia8.30 - 9.00 REGISTRATION9.00 - 9.10 Welcome and Introduction to the Skill-shareSanae Shida - Executive Director, Greenpeace Southeast Asia9.10 - 9.50 Why EPR? What should EPR achieve? EPR as the Solution to the E-Waste crisisIza Kruzweska - Toxics Campaigner, Greenpeace Internationalplus Q&A for clarifications9.50 - 10.30 Experiences with European Regulations on waste prevention and howl the WEEE Directive will drive the Electronics industry to implement product take-back schemesEco Matser - Toxics Team Leader, Greenpeace Netherlandsplus Q&A10.30 - 10.40 BREAK10.40 - 11.20 Current programs and future plans on E-waste managementKhun Adisak Thongkaimook, Deputy Director General, Pollution Control Departmentplus Q&A11.20 - 12.00 Global Electronics. What is the problem?- toxic electronic scrap and companies responsibilitiesZeina Alhajj - Electronics Project Team Leader, Greenpeace Internationalplus Q&A12.00 - 13.00 LUNCH13.10 - 13.50 Assessment of E-waste in Thailand-Khun Suradej Boonyawatana, Deputy Secretary General of F.T.I., The Research & Development for Industry Institute (RDI), The Federation of Thai Industries (F.T.I.)plus Q&A13.50 - 14.30 Case Study: Samsung’s move towards becoming a green electronics company by phasing out toxics chemicals from consumer productsMr. Hyung Whan Kim - General Manager, Thai Samsung Electronics Co., Ltd. (TBC)plus Q&A14.30 - 14.40 BREAK14.40 - 16.30 Panel Discussion: “Way forward in Thailand” - Dr. Chirapat Popuang, Director, Information & Technical Service Department, Electrical and Electronics Institute - Khun Sunee Piyapanpong, Director, Hazardous Waste Section, Pollution Control Department - Khun Teerasak Pongpanakrai, Director, Industrial Waste Management Bureau, Industrial Works Department - Khun Suphajee Suthumpun, Country General Manager, IBM(Thailand) Co., Ltd. (TBC)plus Q&A16.30 - 16.40 Wrap up and Thank you noteZeina al-Hajj - ElectronicsProject Team Leader, Greenpeace International ข้อมูลเพิ่มเติม กรุณาติดต่อ เอื้อพันธ์ ชำนาญเอื้อ เจ้าหน้าที่ประสานงานสื่อมวลชนโทร. 01 928 2426--จบ--

เว็บไซต์นี้มีการใช้งานคุกกี้ ศึกษารายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และ ข้อตกลงการใช้บริการ รับทราบ