กรุงเทพฯ--25 ก.พ.--วาโซ่ เทรนนิ่ง ขอเชิญร่วมอบรมและสัมมนาเรื่อง จะต้องทำอะไร-อย่างไร เมื่อจะฟ้อง หรือถูกฟ้องในคดีแรงงาน (Processes and Techniques to Handle the Labor Case Act) ในวันพฤหัสบดีที่ 28 กุมภาพันธ์ 2551 เวลา 09.00-16.00 น. ณ โรงแรมโนโวเทลบางนา ถนนศรีนครินทร์ ความสำคัญ: ปรากฎอยู่บ่อยครั้งว่า เมื่อฝ่ายนายจ้างถูกฟ้องในคดีแรงงานทั้งๆ ที่ฝ่ายนายจ้างมั่นใจว่าเป็นฝ่ายที่ทำถูกต้อง แต่ฝ่ายลูกจ้างนำเรื่องที่ไม่เป็นจริงมาฟ้องร้องต่อศาลแรงงาน เหตุใดผู้พิพากษาท่านจึงมักขอให้ฝ่ายนายจ้างจ่ายเงินให้แก่ลูกจ้างที่เป็นฝ่ายผิดเสมอ ซึ่งการกระทำดังกล่าวย่อมต้องมีเหตุผลแน่นอน แต่เป็นเหตุผลอะไรก็คงต้องฟังจากวิทยากรผู้มีประสบการณ์ในการมีส่วนร่วมพิจารณาพิพากษาคดีแรงงานและเคยวิเคราะห์คำพิพากษาฎีกาในคดีแรงงานมาเป็นจำนวนมาก จึงจะเกิดความเข้าใจที่ถูกต้องได้ นอกจากนั้น ก็เป็นสิ่งจำเป็นที่ต้องเข้าใจในหลักการสำคัญของการมีศาลแรงงาน ซึ่งเป็นศาลพิเศษ และเมื่อใดก็ตามที่ถูกฟ้องร้องดำเนินคดี ฝ่ายนายจ้างหรือฝ่ายบริหารของฝ่ายนายจ้างก็ควรจะเข้าใจ ในหลักการของการทำคำให้การ ทำคำร้อง ทำคำขอต่างๆ จากศาลแรงงาน ทั้งหลักในการพิมพ์คำให้การ การแก้ไข การเพิ่มเติมคำให้การ รวมทั้งหลักในการเรียบเรียงถ้อยคำ รวมทั้งควรได้ทราบถึงหลักการรับหมายเรียก หลักในการมอบอำนาจให้ผู้อื่นไปทำการแทน หลักในการอ่านคำฟ้อง หลักในการศึกษาข้อเท็จจริง ข้อกฎหมาย และศึกษาจากคำพิพากษาฎีกา หลักในการโต้แย้งคำฟ้อง และการให้ความจริงทดแทนหลักในการตัดสินใจสู้คดี หรือไม่สู้คดี หากจะสู้คดี จะสู้ในข้อเท็จจริง และ/หรือ ในข้อกฎหมายอย่างไร เป็นต้น เป็นสิ่งที่ฝ่ายบริหารของทุกกิจการ ควรจะมาทำความเข้าใจในหลักการ เทคนิคในการดำเนินการเมื่อถูกฟ้องร้องดำเนินคดีในศาลแรงงานกำหนดการ08.30-09.00 น. ลงทะเบียน09.00-16.00 น1. หลักการสำคัญของการมีศาลแรงงาน มีอย่างไร2. หลักในการทำคำให้การต่อสู้ ทำคำร้อง คำขอต่างๆ จากศาลแรงงาน2.1 หลักในการพิมพ์ การแก้ไข การเพิ่มเติมคำให้การ คำร้อง ฯลฯ2.2 หลักการใช้ภาษาเขียนในการทำคำให้การและ จำนวนสำเนานำส่ง2.3 หลักในการเรียบเรียงถ้อยคำและ ตัวอย่างการเรียบเรียงโดยย่อ3. สิ่งที่ต้องดำเนินการเมื่อถูกฟ้องในคดีแรงงาน3.1 หลักในการรับหมายเรียก3.2 หลักในการมอบอำนาจให้ผู้อื่นไปกระทำการแทน3.3 หลักในการอ่านคำฟ้อง3.4 หลักในการศึกษาข้อเท็จจริง ข้อกฎหมาย และคำพิพากษาฎีกาที่เกี่ยวข้อง3.5 หลักในการโต้แย้งคำฟ้อง โดยให้ความจริงทดแทน3.6 หลักในการตัดสินใจสู้คดี หรือไม่สู้คดี3.7 ถ้าตัดสินใจสู้คดี จะต้องทำอะไร อย่างไร3.7.1 หลักในการทำคำให้การต่อสู้ในปัญหาข้อเท็จจริง3.7.2 หลักในการทำคำให้การต่อสู้ในปัญหาข้อกฎหมาย3.7.3 หลักในการขอเพิ่มเติมคำให้การ3.8 ถ้าตัดสินใจไม่สู้คดี จะต้องทำอะไร อย่างไร3.9 ควรทำอย่างไรในวันนัดพิจารณาคดีของศาลแรงงาน4. สิ่งที่ต้องทราบเกี่ยวกับการพิจารณาคดีของศาลแรงงาน4.1 หลักการจำหน่ายคดีของโจทก์และ การขอให้พิจารณาคดีใหม่4.2 หลักการสั่งขาดนัดของจำเลยและ การขอให้พิจารณาคดีใหม่4.3 การไกล่เกลี่ย และการประนีประนอมยอมความ4.4 เทคนิคการยื่นคำให้การต่อสู้คดีแรงงาน4.5 เทคนิคการยื่นบัญชีพยานและ หลักการทำบัญชีพยาน4.6 หลักการขอยื่นบัญชีพยานเพิ่มเติม4.7 เทคนิคและ หลักการนำพยาน เข้าสืบในศาลแรงงาน4.7.1 หลักในการนำพยานบุคคลเข้าสืบ4.7.2 หลักในการนำพยานเอกสารเข้าสืบ4.8 หลักในการฟังคำพิพากษาของศาลแรงงาน4.9 หลักในการขอคัดคำพิพากษาศาลแรงงาน5. การยื่นคำอุทธรณ์5.1 ต้องอุทธรณ์เฉพาะข้อกฎหมายเท่านั้น5.2 อุทธรณ์ในสิ่งที่ปรากฎอยู่ในคำให้การแต่ต้นเท่านั้น5.3 ต้องอุทธรณ์ในสิ่งที่เป็นสาระสำคัญแห่งคดีเท่านั้น5.4 ต้องอุทธรณ์ไปที่ศาลฎีกา แผนกคดีแรงงาน5.5 ต้องยื่นที่ศาลแรงงานที่ตัดสินคดีเรื่องนั้นๆ5.6 ต้องอุทธรณ์ภายใน 15 วัน5.7 วิธีนับวันที่ถูกต้องในการอุทธรณ์คดีแรงงาน6. หลักในการแก้อุทธรณ์ของฝ่ายตรงข้าม7. แนวทางในการพิจารณาพิพากษาของศาลฎีกา8. การฟังคำพิพากษาศาลฎีกา9. ถาม-ตอบ ปัญหาข้อสงสัยวิทยากรอ.รุ่งเรือง บุตรประคนธ์- ผู้เชี่ยวชาญพิเศษด้านกฎหมายแรงงาน- อาจารย์สอนปริญญาโทในวิชากฎหมายแรงงาน และคำพิพากษาฎีกาคดีแรงงาน- ผู้ศึกษาค้นคว้าคำพิพากษาฎีกาคดีแรงงานมามากกว่า 44,000 คดี- ที่ปรึกษาด้านทรัพยากรบุคคลและกฎหมายแรงงานให้แก่กิจการภาคเอกชนค่าใช้จ่ายในการลงทะเบียนต่อหลักสูตร ต่อท่านท่านละ3,200 บาท + ภาษี 7 % = 3,424 บาทกรณีหัก ณ ที่จ่าย 3% เลขประจำตัวผู้เสียภาษีอากร 3030704238บริษัท วาโซ่ จำกัด 79/68 ซอย.สามวา 29 แขวงบางชัน เขตคลองสามวา กรุงเทพ ฯ 10510วิธีการสำรองที่นั่ง- โทรสำรองที่นั่ง ที่ โทร.0-29062211-2- แฟกซ์ใบสมัครมาที่ 0-29062127,02906223วิธีการชำระเงินเช็คสั่งจ่าย บริษัท วาโซ่ จำกัด หรือ WASO LTD. หรือโอนเงินเข้าบัญชีกระแสรายวัน ธนาคารไทยพาณิชย์ จำกัด (มหาชน) สาขา รามอินทรา กม.10เลขที่บัญชี 142-3-00534-2 แฟ็กซ์ใบ Pay in ระบุชื่อคอร์ส และชื่อบริษัทไปที่ 0-29062231, 0-29062127 (ผู้เข้าอบรมเป็นผู้รับผิดชอบค่าธรรมเนียมการโอนกรณีโอนเงินจากต่างจังหวัด)การแจ้งยกเลิกการอบรมในกรณีที่ท่านสำรองที่นั่งไว้แล้วแต่ไม่สามารถเข้าร่วมสัมมนาได้ เนื่องจากเหตุจำเป็นกรุณาแจ้งยกเลิกก่อนวันงานอย่างน้อย 3 วัน หากไม่แจ้งตามกำหนดท่านจะต้องชำระค่าธรรมเนียมเอกสาร เป็นจำนวน40% ของ อัตราค่าลงทะเบียน