การค้าระหว่างประเทศของไทยเดือนตุลาคม 2555

ข่าวทั่วไป Monday December 3, 2012 14:42 —กรมเจรจาการค้าระหว่างประเทศ

การค้าระหว่างประเทศของไทยเดือนตุลาคม 2555 และระยะ 10 เดือนของปี 2555 (ม.ค.- ต.ค.) สรุปได้ดังนี้
  • เดือนตุลาคม 2555 มีมูลค่า 19,524.3 ล้านเหรียญสหรัฐฯ เพิ่มขึ้นร้อยละ 15.57 ในรูปเงินบาท มีมูลค่า 597,479.3 ล้านบาท เพิ่มขึ้นร้อยละ 16.87
  • ระยะ 10 เดือนของปี 2555 (ม.ค.- ต.ค.) มีมูลค่า 191,861.5 ล้านเหรียญสหรัฐฯ เพิ่มขึ้นร้อยละ 0.34 ในรูปเงินบาท มีมูลค่า 5,943,966.2 ล้านบาท เพิ่มขึ้นร้อยละ 3.47
  • ปัจจัยที่ส่งผลต่อการส่งออก ปัจจัยบวก อาทิ การฟื้นตัวของอุตสาหกรรมส่งออกที่ได้รับผลกระทบจากมหาอุทกภัยเมื่อปลายปี 2554 การฟื้นตัวของเศรษฐกิจสหรัฐและการขยายการส่งออกที่เพิ่มขึ้นในตลาดใหม่ที่มีศักยภาพ ปัจจัยลบ อาทิ การลุกลามของปัญหาเศรษฐกิจยุโรปและการชะลอตัวของเศรษฐกิจญี่ปุ่นส่งผลกระทบต่อการนาเข้าสินค้าของไทยในประเทศคู่ค้าเช่น จีน สหภาพยุโรป
  • การส่งออกสินค้าในเดือนตุลาคม 2555 เพิ่มขึ้นในหมวดสินค้าอุตสาหกรรมสาคัญ และหมวดสินค้าอื่นๆ โดย
  • หมวดสินค้าเกษตร/อุตสาหกรรมเกษตร ภาพรวมลดลง 9.0 % โดย สินค้าส่งออกลดลง ได้แก่ ยางพารา (-40.1%) กุ้งแช่แข็งและแปรรูป (-24.5%) ผักและผลไม้ (-29.1%) น้าตาล (-12.3%) สินค้าส่งออกที่เพิ่มขึ้น ได้แก่ ข้าว (+29.2%) ผลิตภัณฑ์มันสาปะหลัง (+34.7%) อาหารทะเลแช่แข็ง กระป๋องและแปรรูป (ไม่รวมกุ้ง) (+11.9%) ไก่สดแช่แข็งและแปรรูป (+15.3%)
  • หมวดสินค้าอุตสาหกรรมสาคัญ ภาพรวมเพิ่มขึ้น 24.3% โดย สินค้าส่งออกที่เพิ่มขึ้น ได้แก่ เครื่องอิเล็กทรอนิกส์ (+23.0%) เครื่องใช้ไฟฟ้า (+25.2%) ยานยนต์อุปกรณ์และส่วนประกอบ (+53.4%) เม็ดและผลิตภัณฑ์พลาสติก (+10.5%) วัสดุก่อสร้าง (+74.5%) อัญมณีและเครื่องประดับ (+3.9%) ผลิตภัณฑ์ยาง (+2.1%) สิ่งพิมพ์กระดาษและบรรจุภัณฑ์ (+18.0%) เฟอร์นิเจอร์และชิ้นส่วน (+9.9%) สินค้าส่งออกที่ลดลง ได้แก่ สิ่งทอ (-3.2%) เครื่องเดินทาง เครื่องหนังและรองเท้า (-3.4%) เครื่องสาอาง สบู่ และผลิตภัณฑ์ (-2.2%)
  • หมวดสินค้าอื่นๆ ภาพรวมเพิ่มขึ้น 16.3%
  • การส่งออกระยะ 10 เดือนของปี 2555 (ม.ค.- ต.ค.) เพิ่มขึ้นในหมวดสินค้าอุตสาหกรรมสาคัญ และหมวดสินค้าอื่นๆโดย
  • หมวดสินค้าเกษตร/อุตสาหกรรมเกษตร ภาพรวมลดลง 11.3% โดย สินค้าส่งออกที่ลดลง ได้แก่ ข้าว (-31.2%) ยางพารา (-32.2%) กุ้งแช่แข็งและแปรรูป (-17.0%) สินค้าที่ส่งออกที่เพิ่มขึ้น ได้แก่ ผลิตภัณฑ์มันสาปะหลัง (+8.1%) อาหารทะเลแช่แข็ง กระป๋องและแปรรูป (ไม่รวมกุ้ง) (+12.1%) ไก่สดแช่แข็งและแปรรูป (+10.1%) น้าตาล (+13.5%)
  • หมวดสินค้าอุตสาหกรรมสาคัญ ภาพรวมเพิ่มขึ้น 2.4% โดย สินค้าที่ส่งออกที่เพิ่มขึ้น ได้แก่ ยานยนต์ อุปกรณ์และส่วนประกอบ (+18.8%) วัสดุก่อสร้าง (+14.8%) อัญมณีและเครื่องประดับ (+10.1%) ผลิตภัณฑ์ยาง (+0.6%) สิ่งพิมพ์ กระดาษและบรรจุภัณฑ์ (+8.1%) เครื่องสาอาง สบู่ และผลิตภัณฑ์ (+6.6%) อาหารสัตว์เลี้ยง (+17.2%) สินค้าส่งออกที่ลดลง ได้แก่ เครื่องอิเล็กทรอนิกส์ (-4.5%) เครื่องใช้ไฟฟ้า (-1.2%) เม็ดและผลิตภัณฑ์พลาสติก (-2.6%) สิ่งทอ (-14.6%) เครื่องเดินทาง เครื่องหนังและรองเท้า (-9.2%) เฟอร์นิเจอร์และชิ้นส่วน (-3.7%)
  • หมวดสินค้าอื่นๆ เพิ่มขึ้น 5.5%
  • การส่งออกเป็นรายตลาด
  • เดือนตุลาคม 2555 ส่งออกขยายตัวเพิ่มขึ้นได้ดีในทุกตลาด โดย
  • ตลาดหลัก ภาพรวมเพิ่มขึ้น 12.3% โดย ญี่ปุ่น (+10.2%) สหรัฐอเมริกา (+17.0%) สหภาพยุโรปสมาชิกเดิม 15 ประเทศ (+9.6%)
  • ตลาดศักยภาพสูง ภาพรวมเพิ่มขึ้น 11.9 % โดย ตลาดที่เพิ่มขึ้น ได้แก่ อาเซียน(9) (+14.0%) เอเชียใต้ (8) (+19.2%) อินเดีย (+37.7%) ฮ่องกง (+55.9%) เกาหลีใต้ (+15.2%) ไต้หวัน (+14.6%) ตลาดที่ลดลงได้แก่ จีน (-7.7%)
  • ตลาดศักยภาพระดับรอง ภาพรวมเพิ่มขึ้น 31.4 % โดย ตลาดที่เพิ่มขึ้น ได้แก่ ทวีปออสเตรเลีย (+46.7%) ตะวันออกกลาง (+37.7%) ทวีปแอฟริกา (+36.4%) ลาตินอเมริกา (+11.3%) รัสเซียและCIS (+72.0%) แคนาดา (+10.0%) ตลาดที่ลดลงได้แก่ สหภาพยุโรปสมาชิกใหม่ 12 ประเทศ (-2.8%)
  • ตลาดอื่น ๆ ภาพรวมเพิ่มขึ้น 12.0 % โดยสวิตเซอร์แลนด์ (+16.6%)
  • ระยะ 10 เดือนของปี 2555 (ม.ค.- ต.ค.) ส่งออกขยายตัวเพิ่มขึ้นในตลาดศักยภาพสูง ตลาดศักยภาพระดับรอง และตลาดอื่นๆ โดย
  • ตลาดหลัก ภาพรวมลดลง 4.3% โดย ญี่ปุ่น (-3.3%) สหภาพยุโรปสมาชิกเดิม 15 ประเทศ (-12.8%) ในขณะที่สหรัฐอเมริกา เพิ่มขึ้น (+3.1%)
  • ตลาดศักยภาพสูง ภาพรวมเพิ่มขึ้น 0.8 % โดย ตลาดที่เพิ่มขึ้น ได้แก่ อาเซียน(9) (+3.0) อินโดจีนและพม่า (+12.0%) อินเดีย (+4.1%) ฮ่องกง (+2.5%) เกาหลีใต้ (+1.5%) ตลาดที่ลดลง ได้แก่ จีน (-0.6 %) ไต้หวัน (-14.0%)
  • ตลาดศักยภาพระดับรอง ภาพรวมเพิ่มขึ้น 5.4% โดย ตลาดที่เพิ่มขึ้นได้แก่ ทวีปออสเตรเลีย (+15.0%) ตะวันออกกลาง (+2.6%) ทวีปแอฟริกา (+3.0%) ลาตินอเมริกา (+14.6%) ตลาดที่ลดลง ได้แก่ สหภาพยุโรปสมาชิกใหม่ 12 ประเทศ (-17.9%) รัสเซียและ CIS (-5.2%) แคนาดา (-9.3%)
  • ตลาดอื่น ๆ ภาพรวมเพิ่มขึ้น 10.0% โดยสวิตเซอร์แลนด์ (+15.1%)
2. การนาเข้า
  • เดือนตุลาคม 2555 มีมูลค่า 21,993.6 ล้านเหรียญสหรัฐฯ เพิ่มขึ้นร้อยละ 21.61 ในรูปเงินบาท มีมูลค่า 681,356.6 ล้านบาท เพิ่มขึ้นร้อยละ 22.96
  • ระยะ 10 เดือนของปี 2555 (ม.ค.- ต.ค.) มีมูลค่า 206,113.2 ล้านเหรียญสหรัฐฯ เพิ่มขึ้น ร้อยละ 7.15 เมื่อเทียบกับระยะเดียวกันของปีที่ผ่านมา ในรูปเงินบาท มีมูลค่า 6,459,024.2 ล้านบาท เพิ่มขึ้นร้อยละ 10.41
  • การนาเข้าในเดือนตุลาคม 2555 เป็นการเพิ่มขึ้นในเกือบทุกหมวดสินค้า โดยหมวดเชื้อเพลิง (+35.6%) (ประเภทน้ามันดิบ (+43.3%) น้ามันสาเร็จรูป (-6.6%)) หมวดสินค้าทุน (+48.3%) (ประเภทเครื่องจักรใช้ในอุตสาหกรรม (+54.6%) เครื่องจักรไฟฟ้า (+86.2%)) หมวดวัตถุดิบ/กึ่งสาเร็จรูป (-3.7%) (ประเภทอุปกรณ์ ส่วนประกอบเครื่องใช้ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ (+20.3%) เคมีภัณฑ์ (+6.7%) เหล็ก เหล็กกล้าและผลิตภัณฑ์ (+4.1%)) หมวดอุปโภค/บริโภค (+29.1%) (ประเภทเครื่องใช้ไฟฟ้าในบ้าน (+23.7%))หมวดยานพาหนะและอุปกรณ์การขนส่ง (+70.1%) (ประเภทส่วนประกอบและอุปกรณ์ยานยนต์ (+61.2%) รถยนต์นั่ง (+75.5%) และรถยนต์โดยสารและรถบรรทุก (+153.8%))
  • ปัจจัยที่มีผลต่อการนาเข้า ภาคการผลิตและภาคขนส่งมีความต้องการใช้น้ามันมากขึ้นและราคาน้ามันในตลาดโลกเพิ่มสูงขึ้น มีการนาเข้าเพิ่มขึ้นในสินค้าเครื่องจักรที่มีเทคโนโลยีขั้นสูง สินค้าวัตถุดิบและกึ่งสาเร็จรูป และยานยนต์และอุปกรณ์ที่ไม่สามารถผลิตได้ หรือ ผลิตได้ไม่เพียงพอสาหรับการใช้ในประเทศ รวมทั้งนาเข้าสินค้าสาหรับช่วงเทศกาลคริสต์มาสและปีใหม่
3. ดุลการค้า
  • เดือนตุลาคม 2555 ขาดดุลการค้า 2,469.3 ล้านเหรียญสหรัฐฯ ในรูปเงินบาทมีมูลค่า 83,877.3 ล้านบาท
  • ระยะ 10 เดือนของปี 2555 (ม.ค.- ต.ค.) ขาดดุลการค้ามูลค่า 14,251.7 ล้านเหรียญสหรัฐฯ ในรูปเงินบาท ขาดดุลการค้ามูลค่า 515,058.0 ล้านบาท
4. การค้า/การใช้สิทธิพิเศษจากความตกลง FTA (8 ประเทศ/กลุ่มประเทศ คือ อาฟต้า ญี่ปุ่น อินเดีย จีน ออสเตรเลีย นิวซีแลนด์ เกาหลีใต้ และเปรู)
  • ต.ค. 55 ไทยขาดดุล FTA มูลค่า 2,270.4 ล้านเหรียญสหรัฐฯ โดย ส่งออก มีมูลค่า 10,949.6 ล้านเหรียญสหรัฐฯ เพิ่มขึ้นจาก ต.ค. 54 11.3% เป็นการใช้สิทธิภายใต้ FTA มูลค่า 3,964.0 ล้านเหรียญสหรัฐฯ เพิ่มขึ้น 27.6% คิดเป็นสัดส่วนการใช้สิทธิ 36.2% ของการส่งออกรวมภายใต้ FTA นาเข้า มีมูลค่า 13,220.0 ล้านเหรียญสหรัฐฯ เพิ่มขึ้นจากต.ค.54 26.4% เป็นการใช้สิทธิภายใต้ FTA มูลค่า 2,747.0 ล้านเหรียญสหรัฐฯเพิ่มขึ้น 50.7 % คิดเป็นสัดส่วนการใช้สิทธิ 20.8% ของการนาเข้ารวมภายใต้ FTA
  • ระยะ 10 เดือนของปี 2555 (ม.ค.-ต.ค.) ไทยขาดดุล FTA มูลค่า 13,598.1 ล้านเหรียญสหรัฐฯ โดยขาดดุลกับญี่ปุ่น จีน เกาหลีใต้ เปรู และได้ดุลกับอาฟต้า อินเดีย ออสเตรเลีย นิวซีแลนด์ ส่งออก มีมูลค่า 107,085.9 ล้านเหรียญสหรัฐฯ เพิ่มขึ้น 8.3% เป็นการส่งออกโดยใช้สิทธิภายใต้ FTA มูลค่า 34,237.3 ล้านเหรียญสหรัฐฯ เพิ่มขึ้น 1.16% และเป็นสัดส่วนการใช้สิทธิ 32.0% ของการส่งออกรวมภายใต้ FTA นาเข้า มีมูลค่า 120,684.0 ล้านเหรียญสหรัฐฯ เพิ่มขึ้น 26.4% เป็นการนาเข้าโดยใช้สิทธิพิเศษภายใต้ FTA มูลค่า 23,820.6 ล้านเหรียญสหรัฐฯ เพิ่มขึ้น 29.8% และเป็นสัดส่วนการใช้สิทธิ 19.7% ของการนาเข้ารวมภายใต้ FTA
5. การค้าชายแดน (มาเลเซีย เมียนมาร์ สปป. ลาว กัมพูชา)

ระยะ 10 เดือนแรกของปี 2555 ไทยยังคงได้ดุลการค้า และได้ดุลการค้ากับมาเลเซียมากเป็นอันดับหนึ่ง โดยมีรายละเอียดดังนี้

  • เดือนตุลาคม 2555

การค้ารวม มีมูลค่า 76,468.0 ล้านบาท (-5.0%) เมื่อเทียบกับระยะเดียวกันของปีที่ผ่านมา โดยค้ากับมาเลเซียสูงสุด เป็นมูลค่า 42,982.4 ล้านบาท (คิดเป็นร้อยละ 56.2 ของการค้ารวม 4 ประเทศ)

การส่งออก มีมูลค่า 46,034.1 ล้านบาท (+3.3%)

การนาเข้า มีมูลค่า 30,433.9 ล้านบาท (+7.5%)

ดุลการค้า ไทยได้ดุลการค้าชายแดน คิดเป็นมูลค่า 15,600.2 ล้านบาท โดยได้ดุลการค้ากับ สปป.ลาวสูงสุด รองลงมาคือกัมพูชาและมาเลเซีย และขาดดุลกับเมียนมาร์

  • ระยะ 10 เดือนของปี 2555 (ม.ค. — ต.ค.)

การค้ารวม มีมูลค่า 759,140.3 ล้านบาท (+1.7%) เมื่อเทียบกับระยะเดียวกันของปี ที่ผ่านมา โดยค้ากับมาเลเซียสูงสุดเป็นมูลค่า 436,670.3 ล้านบาท (คิดเป็น ร้อยละ 57.5 ของการค้ารวม 4 ประเทศ)

การส่งออก มีมูลค่า 467,277.2 ล้านบาท (-4.1%)

การนาเข้า มีมูลค่า 291,863.2 ล้านบาท (+12.7%)

ดุลการค้า ไทยได้ดุลการค้าชายแดน คิดเป็นมูลค่า 175,414.0 ล้านบาท โดยได้ดุลการค้ากับมาเลเซียสูงสุด และขาดดุลการค้ากับเมียนมาร์

กรมเจรจาการค้าระหว่างประเทศ กระทรวงพาณิชย์ เลขที่ 44/100 ถ.นนทบุรี1 ต. บางกระสอ อ. เมือง จ. นนทบุรี 11000 โทรศัพท์ (66) 2507-7444 แฟกซ์ (66) 2547-5630


เว็บไซต์นี้มีการใช้งานคุกกี้ ศึกษารายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และ ข้อตกลงการใช้บริการ รับทราบ