1
http://www.thaigov.go.th
(โปรดตรวจสอบมติคณะรัฐมนตรีที่เป็นทางการจากสานักเลขาธิการคณะรัฐมนตรีอีกครั้ง)
วันนี้ 11 มีนาคม 2568 เวลา 10.00 น. นางสาวแพทองธาร ชินวัตร นายกรัฐมนตรี เป็นประธานการประชุมคณะรัฐมนตรี ณ ห้องประชุม 501 ตึกบัญชาการ 1 ทาเนียบรัฐบาล ซึ่งสรุปสาระสาคัญดังนี้
กฎหมาย
1. เรื่อง ร่างพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี พ.ศ. .... และร่าง พระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล (ฉบับที่ ..) พ.ศ. .... รวม 2 ฉบับ 2. เรื่อง ร่างพระราชบัญญัติเวนคืนอสังหาริมทรัพย์ เพื่อสร้างกิจการรถไฟฟ้า โครงการ รถไฟฟ้ามหานครสายนัคราพิพัฒน์ ในท้องที่เขตวังทองหลาง เขตบางกะปิ เขตสวนหลวง เขตประเวศ เขตบางนา กรุงเทพมหานคร และอาเภอบางพลี อาเภอเมืองสมุทรปราการ จังหวัดสมุทรปราการ พ.ศ. .... 3. เรื่อง ร่างกฎกระทรวงการขออนุญาตและการอนุญาตให้นาเข้า ส่งออก นาผ่าน เพาะเลี้ยง หรือมีไว้ในครอบครองซึ่งสัตว์น้าบางชนิด พ.ศ. .... 4. เรื่อง ร่างกฎกระทรวงกาหนดค่าธรรมเนียมการใช้ยานยนตร์บนทางหลวงพิเศษ หมายเลข 5 สายทางยกระดับอุตราภิมุข (อนุสรณ์สถาน-บางปะอิน) พ.ศ. .... 5. เรื่อง ร่างกฎกระทรวงกาหนดให้ผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมเข็มพืดเหล็กกล้ารีดร้อน ต้องเป็นไปตามมาตรฐาน พ.ศ. .... 6. เรื่อง ร่างระเบียบสานักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยบาเหน็จความชอบสาหรับเจ้าที่ ผู้ปฏิบัติงานในจังหวัดชายแดนใต้ (ฉบับที่ ..) พ.ศ. .... 7. เรื่อง ขอถอนร่างประกาศกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เรื่อง กาหนด เขตพื้นที่และมาตรการคุ้มครองสิ่งแวดล้อม ในบริเวณพื้นที่ตาบลปากคลอง ตาบล ชุมโค ตาบลบางสน และตาบลสะพลี อาเภอปะทิว จังหวัดชุมพร พ.ศ. .... 8. เรื่อง ร่างประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่อง การให้ใช้บังคับผังเมืองรวมชุมชน พยัคฆภูมิพิสัย จังหวัดมหาสารคาม พ.ศ. .... 9. เรื่อง ร่างประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่อง การให้ใช้บังคับผังเมืองรวมชุมชนโคกตูม จังหวัดลพบุรี พ.ศ. ....
เศรษฐกิจ-สังคม
10. เรื่อง รายงานปัญหาการนาเข้ากุ้งจากต่างประเทศ ตามข้อสั่งการนายกรัฐมนตรี 11. เรื่อง ปรับปรุงมติคณะรัฐมนตรีเมื่อวันที่ 10 กุมภาพันธ์ 2552 เกี่ยวกับหลักเกณฑ์การ ก่อหนี้ผูกพันข้ามปีงบประมาณ และมาตรการอื่นที่เกี่ยวข้อง
12. เรื่อง ขอความเห็นชอบการจาหน่ายอสังหาริมทรัพย์ขององค์การเภสัชกรรมให้กับ มหาวิทยาลัยมหิดล (คณะแพทยศาสตร์ โรงพยาบาลรามาธิบดี) เป็นการจาหน่าย ด้วยวิธีการโอนให้แก่มูลนิธิรามาธิบดี ในพระราชูปถัมภ์ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี 13. เรื่อง การแก้ไขปัญหาเชิงโครงสร้างพื้นฐาน (แม่น้าปิง และแม่น้ากก) ระยะเร่งด่วน
14. เรื่อง ขออนุมัติขยายระยะเวลาดาเนินโครงการชลประทานขนาดใหญ่ จานวน 4 โครงการ
2
15. เรื่อง การกาหนดราคาอ้อยขั้นสุดท้ายและผลตอบแทนการผลิตและจาหน่าย น้าตาลทรายขั้นสุดท้ายฤดูการผลิตปี 2566/2567 16. เรื่อง การช่วยเหลือโรงเรียนเอกชนที่ประสบภัยพิบัติ กรณีสถานการณ์อุทกภัยและโกดัง เก็บสินค้าดอกไม้เพลิงระเบิด
17. เรื่อง มาตรการลดภาระค่าใช้จ่ายด้านไฟฟ้าให้แก่ประชาชน 18. เรื่อง สรุปมติการประชุมคณะกรรมการนโยบายยางธรรมชาติ ครั้งที่ 2/2567
19. เรื่อง รายงานความคืบหน้าการแก้ไขปัญหาสินค้าและธุรกิจต่างประเทศที่ฝ่าฝืนกฎหมาย
ต่างประเทศ
20. เรื่อง การจัดทาความตกลงระหว่างรัฐบาลแห่งราชอาณาจักรไทยกับรัฐบาลแห่ง สาธารณรัฐสโลวีเนียว่าด้วยการยกเว้นการตรวจลงตราสาหรับการพานักระยะสั้น สาหรับผู้ถือหนังสือเดินทางทูตและราชการ
21. เรื่อง ขอความเห็นชอบท่าทีไทยสาหรับการประชุมกรอบความร่วมมือเพื่อเสริมสร้าง ความสัมพันธ์ทางเศรษฐกิจระหว่างไทยและสิงคโปร์ (STEER) ครั้งที่ 7
22. เรื่อง ร่างแถลงการณ์แสดงเจตจานงร่วมในการจัดตั้งเวทีหารือด้านพลังงาน ระหว่าง กระทรวงพลังงานแห่งราชอาณาจักรไทย และกระทรวงเศรษฐกิจและ การดาเนินการด้านสภาพภูมิอากาศแห่งสหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมนี 23. เรื่อง ผลการประชุมระดับสูงในห้วงสัปดาห์การประชุมผู้นาเขตเศรษฐกิจเอเปค ประจาปี 2567
24. เรื่อง ผลการประชุมผู้นายุทธศาสตร์ความร่วมมือทางเศรษฐกิจอิรวดี ? เจ้าพระยา ? แม่โขง ครั้งที่ 10 25. เรื่อง แนวทางการดาเนินการสืบเนื่องจากผลการประชุมคณะกรรมการระหว่างรัฐ เฉพาะกิจเพื่อจัดทาอนุสัญญาระหว่างประเทศอย่างครอบคลุมว่าด้วยการต่อต้าน การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อวัตถุประสงค์ทางอาชญากรรม 26. เรื่อง รายงานผลการจัดประชุมนานาชาติระดับรัฐมนตรี ว่าด้วยการจัดการทรัพยากรดิน และน้าเพื่อความมั่นคงทางอาหารอย่างยั่งยืน (The International Soil and Water Forum 2024) 27. เรื่อง รายงานผลการเดินทางเยือนประเทศญี่ปุ่นของรัฐมนตรีว่าการกระทรวงพาณิชย์ (นายพิชัย นริพทะพันธุ์)
แต่งตั้ง
28. เรื่อง การแต่งตั้งข้าราชการพลเรือนสามัญให้ดารงตาแหน่งประเภทบริหารระดับสูง (กระทรวงวัฒนธรรม)
29. เรื่อง การแต่งตั้งกรรมการอื่นในคณะกรรมการธนาคารเพื่อการส่งออกและนาเข้าแห่ง ประเทศไทย (กระทรวงการคลัง)
30. เรื่อง แต่งตั้งกรรมการอื่น (ผู้ทรงคุณวุฒิ) ในคณะกรรมการกากับสานักงานการบิน พลเรือนแห่งประเทศไทย (กระทรวงคมนาคม)
31. เรื่อง การแต่งตั้งกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิในคณะกรรมการสถาบันการบินพลเรือน (กระทรวงคมนาคม)
32. เรื่อง การแต่งตั้งกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิในคณะกรรมการพัฒนาการบริหารงานยุติธรรม แห่งชาติ (กระทรวงยุติธรรม)
33. เรื่อง การแต่งตั้งกรรมการอื่นในคณะกรรมการองค์การเภสัชกรรม แทนกรรมการอื่นที่ พ้นจากตาแหน่งก่อนครบวาระ (กระทรวงสาธารณสุข)
3
34. เรื่อง การแต่งตั้งคณะกรรมการจัดหาระบบคอมพิวเตอร์ของรัฐ (กระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม)
35. เรื่อง การแต่งตั้งข้าราชการพลเรือนสามัญให้ดารงตาแหน่งประเภทวิชาการระดับ ทรงคุณวุฒิ (กระทรวงสาธารณสุข)
4 กฎหมาย 1. เรื่อง ร่างพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี พ.ศ. .... และร่างพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล (ฉบับที่ ..) พ.ศ. .... รวม 2 ฉบับ คณะรัฐมนตรีมีมติเห็นชอบร่างพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี พ.ศ. .... และเห็นชอบร่างพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล (ฉบับที่ ..) พ.ศ. .... ที่สานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา (สคก.) ตรวจพิจารณาแล้ว รวมทั้ง รับทราบแผนในการจัดทากฎหมายลาดับรอง กรอบระยะเวลา และกรอบสาระสาคัญของกฎหมายลาดับรองที่ออกตามร่างพระราชบัญญัติดังกล่าวตามที่ กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) เสนอ สาระสาคัญของเรื่อง ร่างพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี พ.ศ. .... และร่างพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล (ฉบับที่ ..) พ.ศ. .... รวมทั้ง 2 ฉบับ ที่กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรมเสนอ สานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาได้ตรวจพิจารณาเสร็จแล้ว มีสาระสาคัญเป็นการปรับปรุงการบริหารมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรีซึ่งจัดตั้งโดยพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล พ.ศ. 2548 โดยเปลี่ยนระบบโครงสร้างการบริหารงานและสถานะของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรีจากเดิม ที่เป็นมหาวิทยาลัยของรัฐซึ่งเป็นส่วนราชการภายใต้มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลให้เป็นมหาวิทยาลัยที่ไม่เป็นส่วนราชการ แต่มีฐานะเป็นหน่วยงานและอยู่ในกากับดูแลของรัฐ (สถาบันอุดมศึกษาในกากับของรัฐ) โดยกาหนดกลไกการบริหารมหาวิทยาลัยให้สอดคล้องกับการปรับเปลี่ยนดังกล่าว เช่น กาหนดหน้าที่และอานาจของมหาวิทยาลัยในเรื่องต่าง ๆ ให้มีความชัดเจน เพื่อเป็นกรอบให้มหาวิทยาลัยดาเนินการตามวัตถุประสงค์ได้อย่างคล่องตัว แก้ไขเพิ่มเติมเกี่ยวกับรายได้ของมหาวิทยาลัย การจัดตั้งและยุบเลิกส่วนงานภายในมหาวิทยาลัยเพื่อให้มหาวิทยาลัยสามารถดาเนินการได้เอง การกาหนดหน้าที่ของรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรมในการกากับมหาวิทยาลัย เป็นต้น รวมทั้งกาหนดมาตรการต่าง ๆ ให้สอดคล้องกับกฎหมายว่าด้วยการอุดมศึกษา เช่น การกาหนดให้มีการประเมินคุณภาพการศึกษาและการประเมินผลการปฏิบัติงานของมหาวิทยาลัย เป็นต้น รวมถึงกาหนดเพิ่มเติมหลักเกณฑ์เกี่ยวกับการบัญชีและการตรวจสอบ เพื่อให้มหาวิทยาลัย มีการวางและรักษาระบบบัญชีตามส่วนงานอย่างมีประสิทธิภาพและสอดคล้องกับกฎหมาย ว่าด้วยวินัยการเงินการคลังของรัฐ ซึ่งการเปลี่ยนสถานะจากสถาบันอุดมศึกษาที่เป็นส่วนราชการมาเป็นสถาบันอุดมศึกษาในกากับของรัฐ จะทาให้การบริหารจัดการการศึกษาของมหาวิทยาลัย มีความเป็นอิสระ มีประสิทธิภาพและคล่องตัวมากขึ้นสอดคล้องกับการปฏิรูปการอุดมศึกษา อันจะส่งผลให้การจัดการศึกษา การสร้างความชานาญในการพัฒนาเทคโนโลยีและนวัตกรรม การประยุกต์และพัฒนาวิชาการและทักษะวิชาชีพ รวมถึงการดาเนินภารกิจด้านการให้บริการทางวิชาการ การผลิตนวัตกรรม และการทะนุบารุงศิลปะและวัฒนธรรม สามารถดาเนินการได้อย่างมีคุณภาพ มีประสิทธิภาพ เหมาะสมกับการเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจ สังคมและตอบสนองความต้องการของประเทศ กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรมได้จัดให้มีการรับฟังความคิดเห็นเกี่ยวกับร่างพระราชบัญญัติทั้ง 2 ฉบับแล้ว และได้จัดทาสรุปผลการรับฟังความคิดเห็นและรายงานการวิเคราะห์ผลกระทบที่อาจเกิดขึ้นจากกฎหมายตามมาตรา 77 ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย และพระราชบัญญัติหลักเกณฑ์การจัดทาร่างกฎหมายและการประเมินผลสัมฤทธิ์ของกฎหมาย พ.ศ. 2562 แล้ว รวมทั้งได้จัดทาแผนการจัดทากฎหมายลาดับรอง กรอบระยะเวลา และกรอบสาระสาคัญของกฎหมายลาดับรอง ที่ออกตามร่างพระราชบัญญัติดังกล่าว จานวน 52 ฉบับด้วยแล้ว 2. เรื่อง ร่างพระราชบัญญัติเวนคืนอสังหาริมทรัพย์ เพื่อสร้างกิจการรถไฟฟ้า โครงการรถไฟฟ้ามหานครสายนัคราพิพัฒน์ ในท้องที่เขตวังทองหลาง เขตบางกะปิ เขตสวนหลวง เขตประเวศ เขตบางนา กรุงเทพมหานคร และอาเภอบางพลี อาเภอเมืองสมุทรปราการ จังหวัดสมุทรปราการ พ.ศ. .... คณะรัฐมนตรีมีมติเห็นชอบร่างพระราชบัญญัติเวนคืนอสังหาริมทรัพย์ เพื่อสร้างกิจการรถไฟฟ้า โครงการรถไฟฟ้ามหานครสายนัคราพิพัฒน์ ในท้องที่เขตวังทองหลาง เขตบางกะปิ เขตสวนหลวง เขตประเวศ เขต 5 บางนา กรุงเทพมหานคร และอาเภอบางพลี อาเภอเมืองสมุทรปราการ จังหวัดสมุทรปราการ พ.ศ. .... ที่สานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา (สคก.) ตรวจพิจารณาแล้ว ตามที่กระทรวงคมนาคม (คค.) เสนอ สาระสาคัญของเรื่อง ร่างพระราชบัญญัติเวนคืนอสังหาริมทรัพย์ เพื่อสร้างกิจการรถไฟฟ้า โครงการรถไฟฟ้ามหานครสายนัคราพิพัฒน์ ในท้องที่เขตวังทองหลาง เขตบางกะปิ เขตสวนหลวง เขตประเวศ เขตบางนา กรุงเทพมหานคร และอาเภอบางพลี อาเภอเมืองสมุทรปราการ จังหวัดสมุทรปราการ พ.ศ. .... ที่กระทรวงคมนาคมเสนอ คณะรัฐมนตรีได้เคยมีมติอนุมัติหลักการและสานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาได้ตรวจพิจารณาแล้ว โดยมีการแก้ไขโครงการในร่างพระราชบัญญัตินี้ จาก ?โครงการรถไฟฟ้าสายสีเหลืองช่วงลาดพร้าว ? สาโรง? เป็น ?โครงการรถไฟฟ้ามหานคร สายนัคราพิพัฒน์? เพื่อให้สอดคล้องกับชื่อเส้นทางที่ได้รับพระราชทานว่า ?นัคราพิพัฒน์? โดยมีสาระสาคัญเป็นการเวนคืนอสังหาริมทรัพย์เพื่อสร้างกิจการรถไฟฟ้า โครงการรถไฟฟ้ามหานคร สายนัคราพิพัฒน์ ในท้องที่เขตวังทองหลาง เขตบางกะปิ เขตสวนหลวง เขตประเวศ เขตบางนา กรุงเทพมหานคร และอาเภอเมืองสมุทรปราการ จังหวัดสมุทรปราการ โดยให้ผู้ว่าการการรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนแห่งประเทศไทยเป็นเจ้าหน้าที่เวนคืนตามพระราชบัญญัตินี้ และให้เจ้าหน้าที่เวนคืนเข้าใช้อสังหาริมทรัพย์ที่ถูกเวนคืนภายในระยะเวลา 4 ปี ทั้งนี้ แม้การรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนแห่งประเทศไทยได้ส่งมอบที่ดินที่ถูกเขตทางทั้งหมดในโครงการรถไฟฟ้าสายสีเหลืองฯ เพื่อใช้ในการก่อสร้างเรียบร้อยแล้ว แต่มีเจ้าของที่ดิน จานวน 27 แปลง (จาก 290 แปลง) ไม่ตกลงซื้อขาย การรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนแห่งประเทศไทยจึงวางเงินทดแทนให้กับเจ้าของที่ดินดังกล่าวแต่กรรมสิทธิ์ในที่ดินยังเป็นของเจ้าของที่ดิน โดยจะตกเป็นกรรมสิทธิ์ของการรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนแห่งประเทศไทยก็ต่อเมื่อได้มีการตราพระราชบัญญัติเวนคืนอสังหาริมทรัพย์และพระราชบัญญัติมีผลใช้บังคับ การรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนแห่งประเทศไทย จึงมีความจาเป็นต้องตราพระราชบัญญัติเวนคืนอสังหาริมทรัพย์ตามมาตรา 28 แห่งพระราชบัญญัติว่าด้วยการเวนคืนและการได้มาซึ่งอสังหาริมทรัพย์ พ.ศ. 2562 เพื่อให้กรรมสิทธิ์ตกเป็นของการรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนแห่งประเทศไทยโดยเร็วต่อไป 3. เรื่อง ร่างกฎกระทรวงการขออนุญาตและการอนุญาตให้นาเข้า ส่งออก นาผ่าน เพาะเลี้ยง หรือมีไว้ในครอบครองซึ่งสัตว์น้าบางชนิด พ.ศ. .... คณะรัฐมนตรีมีมติอนุมัติหลักการร่างกฎกระทรวงการขออนุญาตและการอนุญาตให้นาเข้า ส่งออก นาผ่าน เพาะเลี้ยง หรือมีไว้ในครอบครองซึ่งสัตว์น้าบางชนิด พ.ศ. .... ตามที่กระทรวงเกษตรและสหกรณ์เสนอ และส่งให้สานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาตรวจพิจารณาโดยให้รับความเห็นของกระทรวงสาธารณสุขไปประกอบการพิจารณา แล้วดาเนินการต่อไปได้ รวมทั้งให้กระทรวงเกษตรและสหกรณ์รับความเห็นของสานักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติไปพิจารณาดาเนินการต่อไปด้วย สาระสาคัญของเรื่อง 1.ปัจจุบันได้มีการแก้ไขเพิ่มเติมมาตรา 65 วรรคหนึ่ง แห่งพระราชกาหนดการประมง พ.ศ. 2558 จาก ?เพื่อประโยชน์ในการคุ้มครองพันธุ์สัตว์น้าที่หายาก หรือป้องกันอันตรายจากโรคระบาด รัฐมนตรีมีอานาจประกาศกาหนดห้ามการนาเข้า ส่งออก นาผ่าน เพาะเลี้ยง หรือมีไว้ในครอบครองซึ่งสัตว์น้าบางชนิดได้? เป็น ?เพื่อประโยชน์ในการคุ้มครองพันธุ์สัตว์น้าที่หายากหรือป้องกันอันตรายมิให้เกิดแก่สัตว์น้าและระบบนิเวศ รัฐมนตรีมีอานาจประกาศกาหนด ห้ามการนาเข้า ส่งออก นาผ่าน เพาะเลี้ยง หรือมีไว้ในครอบครองซึ่งสัตว์น้าบางชนิดได้? ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติม โดยพระราชกาหนดการประมง (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2560 และมีประกาศกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เรื่อง กาหนดชนิดสัตว์น้าที่ห้ามนาเข้า ส่งออก หรือนาผ่านราชอาณาจักร พ.ศ. 2564 ได้แก่ 1.1 ชนิดสัตว์น้าที่ห้ามนาเข้า 1) จาพวกปลา เช่น ปลาฉลามวาฬ ปลากระเบน 2) จาพวกสาหร่าย เช่น สาหร่ายสีเขียว สาหร่ายสีแดง 3) จาพวกสัตว์เลื้อยคลาน เช่น เต่า งู จระเข้ 4) จาพวกสัตว์สะเทินน้าสะเทินบก เช่น จิ้งจกน้า กบ เขียด 5) จาพวกสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม เช่น โลมา วาฬ พะยูน 1.2 ชนิดสัตว์น้าที่ห้ามส่งออก 1) จาพวกปลาทะเลมีชีวิต เช่น ปลาขี้ตัง ปลาบู่ ปลานกขุนทอง ปลาการ์ตูน 6 2) จาพวกปลาน้าจืดมีชีวิต เช่น ปลากระเบน ปลาหมู ปลากระโห้ 3) จาพวกสัตว์น้าอื่น ๆ เช่น หอยกาบน้าจืด ซึ่งออกตามความมาตรา 65 วรรคหนึ่ง แห่งพระราชกาหนดการประมง พ.ศ. 2558 ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดย พระราชกาหนดการประมง (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2560 จึงทาให้กฎกระทรวงการขออนุญาตและการอนุญาตให้นาเข้า ส่งออก นาผ่าน เพาะเลี้ยง หรือมีไว้ในครอบครองซึ่งสัตว์น้าบางชนิด พ.ศ. 2559 ที่ออกตามความในมาตรา 65 วรรคหนึ่ง แห่งพระราชกาหนดการประมง พ.ศ. 2558 ไม่เป็นไปตามเจตนารมณ์ของกฎหมายปัจจุบัน 2. กระทรวงเกษตรและสหกรณ์จึงได้เสนอร่างกฎกระทรวงการขออนุญาตและการอนุญาตให้นาเข้า ส่งออก นาผ่าน เพาะเลี้ยง หรือมีไว้ในครอบครองซึ่งสัตว์น้าบางชนิด พ.ศ. .... มาเพื่อดาเนินการ ซึ่งมีสาระสาคัญเป็นการยกเลิกกฎกระทรวงการขออนุญาตและการขออนุญาตให้นาเข้า ส่งออก นาผ่าน เพาะเลี้ยง หรือมีไว้ในครอบครองซึ่งสัตว์น้าบางชนิด พ.ศ. 2559 และปรับปรุงกฎกระทรวงใหม่ ดังนี้ 2.1 กาหนดหลักเกณฑ์ในการขออนุญาตและการอนุญาตให้นาเข้า ส่งออก นาผ่าน เพาะเลี้ยง หรือมีไว้ในครอบครองซึ่งสัตว์น้าบางชนิด โดยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกส์เป็นหลัก ผ่านระบบเชื่อมโยงคาขอกลางของกรมประมง 2.2 ปรับปรุงหลักเกณฑ์และเงื่อนไขการพิจารณาอนุญาต เช่น การนาเข้าสัตว์น้าดัดแปลงพันธุกรรม หรือสัตว์น้าต่างถิ่นที่มิได้กาเนิดในประเทศไทย ที่อาจก่อให้เกิดอันตรายต่อสัตว์น้าพื้นเมืองและระบบนิเวศ ต้องมีเอกสารแสดงความรับผิดชอบของคณะกรรมการด้านความหลากหลายและด้านความปลอดภัยทางชีวภาพของกรมประมง ส่วนการนาเข้าสัตว์น้า ที่ห้ามทาการเพาะเลี้ยงหรือมีไว้ในครอบครอง ผู้นาเข้าจะต้องแสดงใบอนุญาตให้ทาการเพาะเลี้ยงหรือมีไว้ในครอบครองด้วย และการส่งออกพันธุ์สัตว์น้าชนิดหายากต้องมีหนังสือรับรองว่าได้จากการเพาะเลี้ยง 2.3 กาหนดหลักเกณฑ์และเงื่อนไขที่ผู้ได้รับใบอนุญาตต้องปฏิบัติ เช่น ผู้ได้รับใบอนุญาตให้นาเข้า ส่งออก หรือนาผ่านต้องแสดงใบอนุญาตต่อพนักงานเจ้าหน้าที่เว้นแต่มีเหตุจาเป็นให้แจ้งเป็นหนังสือ ยกเลิกการยื่นสาเนาหนังสือรับรองสุขภาพสัตว์หรือหนังสือรับรองสุขศาสตร์ซากสัตว์ ผู้ได้รับใบอนุญาตนาเข้า นาผ่าน ต้องไม่เปิดหรือเปลี่ยนถ่ายภาชนะบรรจุสัตว์น้ายกเว้นเกิดเหตุจาเป็น และต้องดาเนินการภายใต้การควบคุมอย่างใกล้ชิด และต้องแจ้งเจ้าหน้าที่ภายใน 24 ชั่วโมงทันทีนับจากที่รู้ว่ามีสัตว์น้าหลุดรอดออกไป 2.4 เพิ่มแบบบันทึกการตรวจสอบคาขอรับใบอนุญาต (เดิม มีแบบคาขอรับใบอนุญาต ใบอนุญาต และคาขอรับใบแทนใบอนุญาต) และคาขอรับใบอนุญาตที่อยู่ระหว่างการพิจารณา ให้ถือเป็นคาขอตามร่างกฎกระทรวงนี้ ทั้งนี้ เพื่อประโยชน์ในการคุ้มครองพันธุ์สัตว์น้าหายาก หรือป้องกันอันตรายมิให้เกิดแก่สัตว์น้าและระบบนิเวศ และเพื่อให้เจ้าหน้าที่ได้มีขั้นตอนในการปฏิบัติงาน รวมทั้งเป็นการอานวยความสะดวกแก่ประชาชนในการขออนุญาตนาเข้า ส่งออก นาผ่าน เพาะเลี้ยง หรือมีไว้ในครอบครอง 4. เรื่อง ร่างกฎกระทรวงกาหนดค่าธรรมเนียมการใช้ยานยนตร์บนทางหลวงพิเศษหมายเลข 5 สายทางยกระดับอุตราภิมุข (อนุสรณ์สถาน-บางปะอิน) พ.ศ. .... คณะรัฐมนตรีมีมติเห็นชอบร่างกฎกระทรวงกาหนดค่าธรรมเนียมการใช้ยานยนตร์บนทางหลวงพิเศษหมายเลข 5 สายทางยกระดับอุตราภิมุข (อนุสรณ์สถาน-บางปะอิน) พ.ศ. .... ตามที่กระทรวงคมนาคม (คค.)เสนอ ซึ่งสานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาตรวจพิจารณาแล้ว และให้ดาเนินการต่อไปได้ รวมทั้ง ให้กระทรวงคมนาคมรับความเห็นของสานักงบประมาณและสานักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติไปพิจารณาดาเนินการต่อไปด้วย สาระสาคัญของเรื่อง คค. (กรมทางหลวง) ได้ดาเนินการตามคาสั่งรองนายกรัฐมนตรี (นายสุริยะ จึงรุ่งเรืองกิจ) รับร่างกฎกระทรวงกาหนดค่าธรรมเนียมการใช้ยานยนตร์บนทางหลวงพิเศษหมายเลข 5 สายทางยกระดับอุตราภิมุข (อนุสรณ์สถาน-บางปะอิน) พ.ศ. .... ไปปรับปรุงแก้ไขเสร็จเรียบร้อยแล้ว โดยปรับปรุงแก้ไขจากร่างกฎกระทรวงที่ 7 สคก. ตรวจพิจารณาล่วงหน้า เพื่อให้สอดคล้องกับการเปลี่ยนประเภททางหลวงจากทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 38 ทางยกระดับอนุสรณ์สถาน - รังสิต ให้เป็นทางหลวงพิเศษหมายเลข 5 สายทางยกระดับอุตราภิมุข (อนุสรณ์สถาน - บางปะอิน) ทั้งนี้ โครงการทางหลวงพิเศษระหว่างเมืองหมายเลข 5 ซึ่งเดิมเป็นสายทางยกระดับอุตราภิมุข ช่วงรังสิต - บางปะอิน มีขอบเขตการให้เอกชนร่วมลงทุน โดยดาเนินการก่อสร้างทางยกระดับตลอดเส้นทางขนาด 6 ช่องจราจร ระยะทาง 22 กิโลเมตร มีจุดเริ่มต้นอยู่ปลายทางยกระดับอุตราภิมุข บริเวณ กม. 33+924 ของถนนพหลโยธิน และมีจุดสิ้นสุดทางหลักโครงการฯ ที่ประมาณ กม. 51+924 ของถนนพหลโยธินบริเวณทางแยกต่างระดับบางปะอิน และพร้อมทั้งให้เอกชนร่วมลงทุนดาเนินงานและบารุงรักษา (O & M) ตลอดระยะเวลา 30 ปี บนทางยกระดับอุตราภิมุข (อนุสรณ์สถาน -บางปะอิน) รวมถึงการพัฒนาและบริหารจัดการจุดพักรถ (Rest Stop) ด้วย (ตามมติคณะรัฐมนตรีเมื่อวันที่ 24 ธันวาคม 2567) การออกกฎกระทรวงกาหนดค่าธรรมเนียมการใช้ยานยนตร์บนทางหลวงพิเศษหมายเลข 5 สายทางยกระดับอุตราภิมุข (อนุสรณ์สถาน - บางปะอิน) พ.ศ. .... ระยะเวลา 30 ปี เป็นการออกกฎกระทรวงเพื่อจัดเก็บค่าธรรมเนียมผ่านทางในช่วงรังสิต - บางปะอิน ระยะทาง 22 กิโลเมตรเท่านั้น ซึ่งจะไม่มีการเก็บค่าธรรมเนียมผ่านทางบนทางยกระดับอุตราภิมุข ช่วงอนุสรณ์สถาน -รังสิต ดังนั้น จึงไม่ส่งผลกระทบต่อสัญญาสัมปทานในทางหลวงสัมปทานหมายเลข 5 ทางยกระดับอุตราภิมุข (ดินแดง - อนุสรณ์สถาน) (ทางหลวงสัมปทานหมายเลข 31 สายทางยกระดับดินแดง - อนุสรณ์สถาน เดิม) ตามบันทึกข้อตกลงแก้ไขเปลี่ยนแปลงสัญญาสัมปทานทางหลวงในทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 31 ถนนวิภาวดีรังสิต ตอน ดินแดง - ดอนเมือง ฉบับที่ 3/2550 ลงวันที่ 12 กันยายน 2550 ข้อ 8 (กรมทางหลวงตกลงจะไม่เก็บเงินค่าผ่านทางบนทางยกระดับช่วงอนุสรณ์สถาน - รังสิต ขาเข้าและขาออก ตลอดอายุสัมปทาน) 2. คค. (กรมทางหลวง) ได้ดาเนินการศึกษาและวิเคราะห์รูปแบบการร่วมลงทุนที่เหมาะสมของโครงการฯ ตามพระราชบัญญัติการร่วมลงทุนระหว่างรัฐและเอกชน พ.ศ. 2562 โดยอัตราค่าธรรมเนียมผ่านทางที่เหมาะสม คิดอัตราค่าธรรมเนียมผ่านทางคงที่ (Flat Toll) และกาหนดโครงสร้างอัตราค่าผ่านทางแยกตามประเภทยานพาหนะ ได้แก่ ยานพาหนะ 4 ล้อ และยานพาหนะมากกว่า 4 ล้อ ทั้งนี้ เพื่อให้สะท้อนถึงต้นทุนความเสียหาย แก่ถนน แยกตามประเภทยานพาหนะ โดยวิเคราะห์รายได้รวมตลอดระยะเวลา 30 ปี ให้เพียงพอต่อค่าใช้จ่ายในการบริหารโครงการ โดยมีสมมติฐานการปรับขึ้นอัตราค่าธรรมเนียมผ่านทางทุก 5 ปี (อ้างอิงจากแนวทางปฏิบัติการปรับขึ้นอัตราค่าใช้บริการของโครงการทางด่วนและรถไฟฟ้า) ในอัตราร้อยละ 2.5 ต่อปี (อ้างอิงจากการเปลี่ยนแปลงอัตราดัชนีราคาผู้บริโภคทั่วไปย้อนหลัง) และทาการตรวจสอบความคุ้มค่าด้านเศรษฐศาสตร์ (EIRR มากกว่าร้อยละ 12) ภายใต้กรณีทดสอบต่าง ๆ พบว่า โครงสร้างและอัตราค่าธรรมเนียมผ่านทางที่เหมาะสมสาหรับโครงการทางหลวงพิเศษระหว่างเมืองหมายเลข 5 สายทางยกระดับอุตราภิมุข ช่วงรังสิต - บางปะอิน ซึ่งเป็นทางหลวงในเขตเมือง ควรกาหนดให้มีอัตราค่าธรรมเนียมผ่านทางแบบคงที่ 2 อัตรา ที่สอดคล้องกับระยะทางการเดินทาง โดยเก็บค่าธรรมเนียมผ่านทางบริเวณทางขึ้นหรือทางขาเข้าใช้โครงการจาแนกตามประเภทของยานพาหนะ เพื่อสะท้อนภาระต้นทุนการดาเนินงานและบารุงรักษาที่แตกต่างกัน โดยคานวณอัตราค่าธรรมเนียมผ่านทางตามระยะทาง ถ้ามีเศษของค่าธรรมเนียมไม่เกิน 5 บาท ให้ปัดเศษนั้นลง และถ้ามีเศษของค่าธรรมเนียมเกิน 5 บาท แต่ไม่ถึง 10 บาทให้เรียกเก็บเศษนั้นเพียง 5 บาท ซึ่งมีจุดเก็บค่าธรรมเนียมทั้งหมด 7 ด่าน (ขาออกจากกรุงเทพมหานคร 4 จุด และขาเข้ากรุงเทพมหานคร 3 จุด) โดยแต่ละด่านมีอัตราค่าธรรมเนียมแตกต่างกันตามประเภทของรถยนต์ และจุดที่ขึ้น เช่น ปีที่ 1-5 รถยนต์ 4 ล้อที่ขึ้นจากจุดด่านเก็บเงินวไลยอลงกรณ์ เสียค่าธรรมเนียม 20 บาท แต่ถ้าขึ้นที่จุดด่านเก็บเงินรังสิต 1 เสียค่าธรรมเนียม 40 บาท รถยนต์มากกว่า 4 ล้อขึ้นไป ที่ขึ้นจากจุดด่านเก็บเงินวไลยอลงกรณ์ เสียค่าธรรมเนียม 30 บาท แต่ถ้าขึ้นที่จุดด่านเก็บเงินรังสิต 1 เสียค่าธรรมเนียม 65 บาท ฯลฯ โดยมีรายละเอียดดังนี้ อัตราค่าธรรมเนียมการใช้ยานยนตร์บนทางหลวงพิเศษระหว่างเมืองหมายเลข 5 สายทางยกระดับอุตราภิมุข (อนุสรณ์สถาน - บางปะอิน) (ขาออกกรุงเทพมหานครฯ สาหรับปีที่เปิดให้บริการ) ปีที่ ประเภท ตาแหน่ง รังสิต 1 (จุดที่ 1) ตาแหน่ง รังสิต 2 (จุดที่ 2) ตาแหน่ง ม.ธรรมศาสตร์ (จุดที่ 3) ตาแหน่ง วไลยอลงกรณ์ (จุดที่ 4) 1-5 รถยนต์ 4 ล้อ 40 40 40 20 8 รถยนต์มากกว่า 4 ล้อขึ้นไป 65 65 65 30 6-10 รถยนต์ 4 ล้อ 40 40 40 20 รถยนต์มากกว่า 4 ล้อขึ้นไป 70 70 70 30 11-15 รถยนต์ 4 ล้อ 45 45 45 20 รถยนต์มากกว่า 4 ล้อขึ้นไป 80 80 80 35 16-20 รถยนต์ 4 ล้อ 55 55 55 25 รถยนต์มากกว่า 4 ล้อขึ้นไป 90 90 90 40 21-25 รถยนต์ 4 ล้อ 60 60 60 30 รถยนต์มากกว่า 4 ล้อขึ้นไป 100 100 100 45 26-30 รถยนต์ 4 ล้อ 70 70 70 35 รถยนต์มากกว่า 4 ล้อขึ้นไป 115 115 115 50 31 เป็นต้นไป รถยนต์ 4 ล้อ 80 80 80 40 รถยนต์มากกว่า 4 ล้อขึ้นไป 130 130 130 60 หมายเหตุ: อัตราค่าธรรมเนียมผ่านทางมีการปรับขึ้นร้อยละ 2.5 ต่อปี โดยปรับขึ้นทุก ๆ 5 ปี อัตราค่าธรรมเนียมการใช้ยานยนตร์บนทางหลวงพิเศษระหว่างเมืองหมายเลข 5 สายทางยกระดับอุตราภิมุข (อนุสรณ์สถาน - บางปะอิน) (ขาเข้ากรุงเทพมหานครฯ สาหรับปีที่เปิดให้บริการ) ปีที่ ประเภท ตาแหน่ง ประตูน้าพระอินทร์ (จุดที่ 1) ตาแหน่ง นวนคร (จุดที่ 2) ตาแหน่ง คลองหลวง (จุดที่ 3) 1-5 รถยนต์ 4 ล้อ 40 40 20 รถยนต์มากกว่า 4 ล้อขึ้นไป 65 65 30 6-10 รถยนต์ 4 ล้อ 40 40 20 รถยนต์มากกว่า 4 ล้อขึ้นไป 70 70 30 11-15 รถยนต์ 4 ล้อ 45 45 20 รถยนต์มากกว่า 4 ล้อขึ้นไป 80 80 35 16-20 รถยนต์ 4 ล้อ 55 55 25 รถยนต์มากกว่า 4 ล้อขึ้นไป 90 90 40 21-25 รถยนต์ 4 ล้อ 60 60 30 รถยนต์มากกว่า 4 ล้อขึ้นไป 100 100 45 26-30 รถยนต์ 4 ล้อ 70 70 35 รถยนต์มากกว่า 4 ล้อขึ้นไป 115 115 50 31 เป็นต้นไป รถยนต์ 4 ล้อ 80 80 40 รถยนต์มากกว่า 4 ล้อขึ้นไป 130 130 60 หมายเหตุ: อัตราค่าธรรมเนียมผ่านทางมีการปรับขึ้นร้อยละ 2.5 ต่อปี โดยปรับขึ้นทุก ๆ 5 ปี 9 3. ร่างกฎกระทรวงในเรื่องนี้ มีสาระสาคัญเป็นการกาหนดให้ทางหลวงพิเศษหมายเลข 5 สายทางยกระดับอุตราภิมุข ช่วงอนุสรณ์สถาน - บางปะอิน เป็นทางหลวงที่ต้องเสียค่าธรรมเนียมการใช้ยานยนตร์บนทางหลวง ตามประเภทของยานยนตร์ในอัตราค่าธรรมเนียมที่กาหนดไว้ในบัญชีท้ายกฎกระทรวงนี้ โดยกาหนดให้เก็บค่าธรรมเนียมแรกเข้าและค่าธรรมเนียมตามระยะทางที่ใช้จริง ตามประเภทของยานยนตร์ และกาหนดให้มีการปรับเพิ่มขึ้นทุก 5 ปี ทั้งนี้ คค. ได้จัดให้มีการรับฟังความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับร่างกฎกระทรวงในเรื่องนี้แล้ว 5. เรื่อง ร่างกฎกระทรวงกาหนดให้ผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมเข็มพืดเหล็กกล้ารีดร้อนต้องเป็นไปตามมาตรฐาน พ.ศ. .... คณะรัฐมนตรีมีมติเห็นชอบร่างกฎกระทรวงกาหนดให้ผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมเข็มพืดเหล็กกล้ารีดร้อนต้องเป็นไปตามมาตรฐาน พ.ศ. .... ตามที่กระทรวงอุตสาหกรรม (อก.) เสนอ ซึ่งสานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาตรวจพิจารณาแล้วและให้ดาเนินการต่อไป สาระสาคัญของเรื่อง ร่างกฎกระทรวงกาหนดให้ผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมเข็มพืดเหล็กกล้ารดร้อนฯ มีสาระสาคัญเป็นการปรับปรุงมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมเข็มพืดเหล็กกล้ารีดร้อนตามมาตรฐานเลขที่ มอก. 1390 - 2560 ตามกฎกระทรวงกาหนดให้ผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมเข็มพืดเหล็กกล้ารีดร้อนต้องเป็นไปตามมาตรฐาน พ.ศ. 2563 โดยเป็นการยกเลิกมาตรฐานเดิมและกาหนดมาตรฐานใหม่ให้เป็นไป ตามมาตรฐานเลขที่ มอก. 1390 - 2566 ตามประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม เรื่อง กาหนดมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมเข็มพืดเหล็กกล้ารีดร้อน พ.ศ. 2567 เนื่องจากเอกสารที่ใช้อ้างอิง มีการแก้ไขปรับปรุงเป็นฉบับใหม่ โดยมีขอบข่ายและรายละเอียดข้อกาหนดอันเป็นสาระสาคัญต่าง ๆ ประกอบกับปัจจุบันการใช้งานมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมเข็มพืดเหล็กกล้ารีดร้อน ยังไม่ครอบคลุม ถึงเหล็กรูปตัวแซด (Z shape) ที่มีมุมระหว่างด้านไม่เป็นมุมฉาก ซึ่งมีส่วนช่วยในเรื่องการออกแบบในการรับแรงของโครงสร้างที่ดียิ่งขึ้น และยังสามารถย่นระยะเวลาในการก่อสร้างให้แล้วเสร็จยิ่งขึ้น จึงได้แก้ไขปรับปรุงเพื่อให้ผู้ใช้งานสามารถเลือกใช้งานได้ตรงกับความต้องการ ทั้งนี้ ผู้ทาหรือผู้นาเข้าผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมเข็มพืดเหล็กกล้ารีดร้อน จะต้องขอรับใบอนุญาตทาหรือนาเข้าผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมดังกล่าว และผู้จาหน่ายผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมเข็มพืดเหล็กกล้ารีดร้อนจะต้องจาหน่ายผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมดังกล่าวที่ได้รับใบอนุญาตและเป็นไปตามมาตรฐาน โดยร่างกฎกระทรวงดังกล่าวมีผลใช้บังคับเมื่อพ้นกาหนด 180 วันนับแต่วันประกาศในราชกิจจานุเบกษา 6. เรื่อง ร่างระเบียบสานักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยบาเหน็จความชอบสาหรับเจ้าที่ผู้ปฏิบัติงานในจังหวัดชายแดนใต้ (ฉบับที่ ..) พ.ศ. .... คณะรัฐมนตรีมีมติเห็นชอบในหลักการร่างระเบียบสานักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยบาเหน็จความชอบสาหรับเจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงานในจังหวัดชายแดนใต้ (ฉบับที่ ....) พ.ศ. .... ตามที่สานักงานปลัดสานักนายกรัฐมนตรีเสนอและส่งให้คณะกรรมการตรวจสอบร่างกฎหมายและร่างอนุบัญญัติที่เสนอคณะรัฐมนตรีตรวจพิจารณา แล้วดาเนินการต่อไปได้ สาระสาคัญของเรื่อง 1. ร่างระเบียบสานักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยบาเหน็จความชอบสาหรับเจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงาน ในจังหวัดชายแดนใต้ (ฉบับที่ ..) พ.ศ. .... ที่สานักงานปลัดสานักนายกรัฐมนตรีเสนอ เป็นการแก้ไขเพิ่มเติมระเบียบสานักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยบาเหน็จความชอบสาหรับเจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงานในจังหวัดชายแดนภาคใต้* พ.ศ. 2550 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ซึ่งได้มีการแก้ไขเพิ่มเติมใน 4 ประเด็นหลัก ได้แก่ 1.1 การปรับองค์ประกอบของคณะกรรมการพิจารณาบาเหน็จความชอบสาหรับเจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงานในจังหวัดชายแดนภาคใต้ (ก.บ.จ.ต.) โดยการปรับปรุงชื่อส่วนราชการที่มีผู้แทนร่วมเป็นกรรมการให้เป็นปัจจุบัน ตัดองค์ประกอบในส่วนของปลัดกระทรวงกลาโหม ปลัดกระทรวงมหาดไทย และผู้แทนกองบัญชาการผสมพลเรือน ตารวจ ทหาร ออกและเพิ่มผู้แทนกรมการปกครองเข้าเป็นองค์ประกอบของ ก.บ.จ.ต. (เจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงานในจังหวัดชายแดนภาคใต้มีแพทย์ประจาตาบล กานัน ผู้ใหญ่บ้าน ผู้ช่วยผู้ใหญ่บ้าน 10 และสมาชิกกองอาสารักษาดินแดน ซึ่งเจ้าหน้าที่ดังกล่าวอยู่ภายใต้กากับดูแลของกรมการปกครอง) รวมทั้งกาหนดให้ผู้ช่วยเลขานุการ ก.บ.จ.ต. ทั้ง 2 คนเป็นข้าราชการสังกัดสานักงานปลัดสานักนายกรัฐมนตรี 1.2 การกาหนดประธานในที่ประชุมของ ก.บ.จ.ต. กรณีประธานไม่อยู่ในที่ประชุมหรือไม่สามารถปฏิบัติหน้าที่ได้ โดยกาหนดให้ถ้าประธานกรรมการไม่อยู่ในที่ประชุมหรือไม่สามารถปฏิบัติหน้าที่ได้ ให้กรรมการที่มาประชุมเลือกกรรมการคนหนึ่งเป็นประธานในที่ประชุม 1.3 การปรับถ้อยคาในการเสนอขอพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ โดยการตัดคาว่า ?เป็นกรณีพิเศษ? ออกจากบทบัญญัติ เนื่องจากระเบียบสานักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการขอพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นที่เชิดชูยิ่งช้างเผือกและเครื่องราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติยศยิ่งมงกุฎไทย พ.ศ. 2536 (ระเบียบเดิม) มิได้กาหนดหลักเกณฑ์การพิจารณาการเสนอขอพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ให้แก่เจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงานในจังหวัดชายแดนภาคใต้ไว้เป็นการเฉพาะ การพิจารณาเสนอขอพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ให้แก่เจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงานดังกล่าวจะใช้การพิจารณาเสนอขอเป็นกรณีพิเศษ ซึ่งปัจจุบันได้มีระเบียบสานักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยการขอพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นที่เชิดชูยิ่งช้างเผือกและเครื่องราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติยศยิ่งมงกุฎไทย พ.ศ. 2564 โดยได้กาหนดหลักเกณฑ์และเงื่อนไขการพิจารณาการเสนอขอพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ให้แก่ผู้ปฏิบัติงานโดยใช้กับเจ้าหน้าที่ประเภทอื่นที่มีความดีความชอบอย่างยิ่งด้วยอยู่แล้ว จึงไม่จาเป็นต้องมีคาว่า ?เป็นกรณีพิเศษ? 1.4 การเพิ่มข้อกาหนดเกี่ยวกับการนับระยะเวลาทวีคูณ โดยการเพิ่มข้อกาหนดเพื่อยกเว้นการนับเวลาทวีคูณสาหรับข้าราชการทหารและตารวจ เพื่อให้สอดคล้องกับพระราชบัญญัติตารวจแห่งชาติ พ.ศ. 2565 และระเบียบกระทรวงกลาโหมว่าด้วยการแต่งตั้งยศและการเลื่อนยศของข้าราชการทหาร พ.ศ. 2541 ที่บัญญัติไม่ให้นับระยะเวลาทวีคูณ ในการแต่งตั้งข้าราชการตารวจให้ดารงตาแหน่งโดยกาหนดเป็นระยะเวลาการดารงตาแหน่งไว้ และการบรรจุหรือแต่งตั้งยศ หรือการเลื่อนยศของข้าราชการทหาร ทั้งนี้ เพื่อให้การพิจารณาบาเหน็จความชอบสาหรับเจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงานในจังหวัดชายแดนภาคใต้เป็นไปด้วยความเรียบร้อย สอดคล้องและเหมาะสมกับกฎหมาย ระเบียบ และสภาวการณ์ปัจจุบันประกอบกับ ก.บ.จ.ต. ในคราวประชุมครั้งที่ 2/2567 เมื่อวันที่ 12 กันยายน 2567 พิจารณาแล้วเห็นชอบด้วยแล้ว โดยหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ได้แก่ กระทรวงกลาโหม สานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สานักงาน ก.พ. สานักงานตารวจแห่งชาติ และศูนย์อานวยการบริหารหวัดชายแดนภาคใต้ พิจารณาแล้ว ไม่ขัดข้อง/เห็นชอบด้วยในหลักการของร่างระเบียบดังกล่าว *จังหวัดชายแดนภาคใต้ ตามความหมายของร่างระเบียบฉบับนี้ ได้แก่ จังหวัดนราธิวาส จังหวัดปัตตานี จังหวัดยะลา จังหวัดสตูล จังหวัดสงขลา เฉพาะพื้นที่อาเภอเทพา อาเภอสะบ้าย้อย อาเภอนาทวี และอาเภอจะนะ และท้องที่อื่นที่คณะรัฐมนตรีกาหนดให้เป็นจังหวัดชายแดนภาคใต้ 7. เรื่อง ขอถอนร่างประกาศกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เรื่อง กาหนดเขตพื้นที่และมาตรการคุ้มครองสิ่งแวดล้อม ในบริเวณพื้นที่ตาบลปากคลอง ตาบลชุมโค ตาบลบางสน และตาบลสะพลี อาเภอปะทิว จังหวัดชุมพร พ.ศ. .... คณะรัฐมนตรีมีมติอนุมัติให้กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมถอนร่างประกาศกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เรื่อง กาหนดเขตพื้นที่และมาตรการคุ้มครองสิ่งแวดล้อม ในบริเวณพื้นที่ตาบลปากคลอง ตาบลชุมโค ตาบลบางสน และตาบลสะพลี อาเภอปะทิว จังหวัดชุมพร พ.ศ. .... ตามที่เสนอได้ สาระสาคัญของเรื่อง ร่างประกาศกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เรื่อง กาหนดเขตพื้นที่และมาตรการคุ้มครองสิ่งแวดล้อม ในบริเวณพื้นที่ตาบลปากคลอง ตาบลชุมโค ตาบลบางสน และตาบลสะพลี อาเภอปะทิว จังหวัดชุมพร พ.ศ. .... ที่กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมเสนอ คณะรัฐมนตรีได้มีมติ (25 ตุลาคม 2565) เห็นชอบร่างประกาศดังกล่าว ที่สานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาตรวจพิจารณาแล้ว และอยู่ระหว่างรัฐมนตรีว่าการกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมพิจารณาลงนาม เพื่อลงประกาศในราชกิจจานุเบกษาต่อไปแต่โดยที่ 11 สมาคมประมงปะทิวคลองบางสน สมาคมการประมงแห่งประเทศไทย เครือข่ายธรรมาภิบาลไทยและภาคประชาชนบางส่วน คัดค้านการออกประกาศดังกล่าว เนื่องจากกระทบต่อการประกอบอาชีพและวิถีชีวิต รวมถึงซ้าซ้อนกับกฎหมายอื่นที่เกี่ยวข้อง กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมจึงเห็นว่าเพื่อให้ร่างประกาศดังกล่าวเป็นไปด้วยความเหมาะสม ชัดเจน มีประสิทธิภาพ และเป็นไปตามเจตนารมณ์แห่งพระราชบัญญัติส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อม พ.ศ. 2535 และกฎหมายอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง จึงขอถอนร่างประกาศดังกล่าวกลับมาทบทวนอีกครั้งและ เมื่อมีการทบทวนร่างประกาศดังกล่าวเสร็จสิ้นแล้ว จะได้เสนอไปตามขั้นตอนการเสนอกฎหมายต่อไป 8. เรื่อง ร่างประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่อง การให้ใช้บังคับผังเมืองรวมชุมชนพยัคฆภูมิพิสัย จังหวัดมหาสารคาม พ.ศ. .... คณะรัฐมนตรีมีมติเห็นชอบร่างประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่อง การให้ใช้บังคับผังเมืองรวมชุมชนพยัคฆภูมิพิสัย จังหวัดมหาสารคาม พ.ศ. .... ตามที่กระทรวงมหาดไทย (มท.) เสนอ และให้ดาเนินการต่อไปได้ รวมทั้งให้กระทรวงมหาดไทยรับความเห็นของกระทรวงคมนาคม กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม กระทรวงสาธารณสุข และกระทรวงอุตสาหกรรม ไปพิจารณาดาเนินการต่อไปด้วย สาระสาคัญของเรื่อง 1. ร่างประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่อง การให้ใช้บังคับผังเมืองรวมชุมชนพยัคฆภูมิพิสัย จังหวัดมหาสารคาม พ.ศ. .... เป็นการกาหนดให้ใช้บังคับผังเมืองรวมในท้องที่ตาบลลานสะแก ตาบลก้ามปู ตาบลปะหลานและตาบลเมืองเสือ อาเภอพยัคฆภูมิพิสัย จังหวัดมหาสารคาม ซึ่งมีพื้นที่วางผังประมาณ 29.86 ตารางกิโลเมตร หรือประมาณ 18,662.50 ไร่ เพื่อใช้เป็นแนวทางในการพัฒนาและการดารงรักษาเมืองและบริเวณที่เกี่ยวข้องหรือชนบท ในด้านการใช้ประโยชน์ในทรัพย์สินการคมนาคมและการขนส่ง การสาธารณูปโภค บริการสาธารณะ และสภาพแวดล้อม โดยส่งเสริมและพัฒนาเศรษฐกิจชุมชนพยัคฆภูมิพิสัยให้เป็นศูนย์กลางบริหาร การปกครอง การเศรษฐกิจ การบริหารสังคม และการคมนาคมขนส่ง ส่งเสริม สนับสนุน และอนุรักษ์เกษตรกรรมบริเวณทุ่งกุลาร้องไห้ เพื่อเป็นแหล่งปลูกข้าวหอมมะลิ อนุรักษ์พื้นที่ที่มีคุณค่าทางประวัติศาสตร์และเอกลักษณ์วัฒนธรรม และส่งเสริมให้มีการอนุรักษ์พื้นที่โล่งริมแหล่งน้าและคูเมืองโบราณที่สาคัญของเมือง ทั้งนี้ เพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์ของการผังเมือง โดยได้มีการกาหนดแผนผังและการใช้ประโยชน์ที่ดินภายในเขตผังเมืองรวมจาแนกออกเป็น 11 ประเภท ซึ่งแต่ละประเภทจะกาหนดลักษณะกิจการที่ให้ดาเนินการตามวัตถุประสงค์การใช้ประโยชน์ที่ดินแต่ละประเภทนั้น ๆ รวมทั้งกาหนดประเภทหรือชนิดของโรงงานที่ให้ดาเนินการในที่ดินแต่ละประเภท รวมทั้งกาหนดการใช้ประโยชน์ที่ดินตามแผนผังโครงการคมนาคมและขนส่ง ซึ่งกระทรวงมหาดไทยได้ดาเนินการตามขั้นตอนที่กาหนดไว้ในพระราชบัญญัติการผังเมือง พ.ศ. 2562 แล้ว และคณะกรรมการผังเมืองได้มีมติเห็นชอบด้วยแล้ว 2. กาหนดประเภทการใช้ประโยชน์ที่ดินออกเป็น 11 ประเภท ประเภท วัตถุประสงค์ 1.ที่ดินประเภทอนุรักษ์เพื่อการอยู่อาศัย (สีเหลืองมีเส้นทแยงสีขาว) 2.ที่ดินประเภทที่อยู่อาศัยหนาแน่นน้อย (สีเหลือง) - มีวัตถุประสงค์เพื่อการอนุรักษ์ศิลปวัฒนธรรมท้องถิ่น การอยู่อาศัย สถาบันราชการ การสาธารณูปโภค และการสาธารณูปการเป็นส่วนใหญ่ ห้ามการใช้ประโยชน์ที่ดินที่เป็นอุปสรรคต่อการอนุรักษ์เพื่อการอยู่อาศัย เช่น คลังน้ามัน จัดสรรที่ดินเพื่อการอยู่อาศัย คลังสินค้า สถานสงเคราะห์หรือรับเลี้ยงสัตว์ เป็นต้น - มีวัตถุประสงค์เพื่อรองรับการอยู่อาศัยและการขยายตัว ของที่อยู่อาศัยในย่านศูนย์กลางชุมชน ห้ามการใช้ประโยชน์ที่ดินที่เป็นอุปสรรคต่อการอยู่อาศัย เช่น การเลี้ยงสัตว์เพื่อการค้า คลังน้ามัน โรงมหรสพ กาจัดมูลฝอยหรือสิ่งปฏิกูล โรงงานอุตสาหกรรมที่สามารถประกอบกิจการได้ 12 3.ที่ดินประเภทพาณิชยกรรมและที่อยู่อาศัยหนา แน่นมาก (สีแดง) 4. ที่ดินประเภทชนบทและเกษตรกรรม (สีเขียว) 5. ที่ดินประเภทอนุรักษ์ชนบทและเกษตรกรรม (สีขาวมีกรอบและเส้นทแยงสีเขียว) 6.ที่ดินประเภทที่โล่งเพื่อนันทนาการและการรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อม (สีเขียวอ่อน) 7.ที่ดินประเภทสถาบันการศึกษา (สีเขียวมะกอก) เช่น การเพาะเชื้อเห็ด กล้วยไม้ หรือถั่วงอก การฟักไข่โดยใช้ตู้อบ เป็นต้น - มีวัตถุประสงค์เพื่อรองรับการค้า การบริการ และ การอยู่อาศัยในระดับชุมชน ห้ามการใช้ประโยชน์ที่ดิน ที่เป็นอุปสรรคต่อการอยู่อาศัย เช่น การเลี้ยงสัตว์เพื่อการค้า จัดสรรที่ดินเพื่อประกอบอุตสาหกรรมโรงฆ่าสัตว์ โรงงานอุตสาหกรรมที่สามารถประกอบกิจการได้ เช่น การทาเครื่องประดับโดยใช้เพชร พลอย ไข่มุก ทองคา ทองขาว เงิน นาค หรืออัญมณี โรงงานซ่อมเครื่องมือไฟฟ้า หรือเครื่องใช้ไฟฟ้าสาหรับใช้ในงานหรือใช้ประจาตัว เป็นต้น - มีวัตถุประสงค์เพื่อเป็นพื้นที่เกษตรกรรม การรักษาสภาพธรรมชาติของพื้นที่ชนบท และส่งเสริมเศรษฐกิจการเกษตร ห้ามการใช้ประโยชน์ที่ดินที่เป็นอุปสรรคต่อการทาเกษตรกรรม เช่น คลังน้ามัน จัดสรรที่ดินเพื่อประกอบอุตสาหกรรม การซื้อขายหรือเก็บเศษวัสดุ โรงงานอุตสาหกรรมที่สามารถประกอบกิจการได้ เช่น การต้ม นึ่ง หรืออบพืชหรือเมล็ดพืช การทานมสด ให้ไร้เชื้อหรือ ฆ่าเชื้อ โดยวิธีการใดวิธีการหนึ่ง เป็นต้น - มีวัตถุประสงค์เพื่อใช้ประโยชน์ที่ดินเพื่อเกษตรกรรม การสาธารณูปโภคและสาธารณูปการ การอนุรักษ์และรักษาสิ่งแวดล้อมเป็นส่วนใหญ่ สามารถใช้ประโยชน์ที่ดินริมทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 219 ให้มีที่ว่างตามแนวขนานริมเขตทางไม่น้อยว่า 6 เมตรและห้ามการใช้ประโยชน์ที่ดินที่เป็นอุปสรรคต่อสภาพแวดล้อม ได้แก่ สถานสงเคราะห์หรือ รับเลี้ยงสัตว์ กาจัดมูลฝอยหรือสิ่งปฏิกูล ซื้อขายหรือเก็บเศษวัสดุ เป็นต้น - มีวัตถุประสงค์เพื่อการสงวนรักษาสภาพแวดล้อม ทางธรรมชาติของพื้นที่ สามารถใช้ประโยชน์ที่ดินเพื่อกิจการใด ๆ ให้ดาเนินการหรือประกอบกิจการได้ในอาคารที่มีความสูงไม่เกิน 9 เมตร และห้ามการใช้ประโยชน์ที่ดินที่เป็นอุปสรรคต่อสภาพแวดล้อม ได้แก่ การเลี้ยงสัตว์เพื่อการค้า และการกาจัดมูลฝอยหรือสิ่งปฏิกูล - มีวัตถุประสงค์เพื่อสงวนไว้สาหรับเป็นสถาบัน การศึกษาหรือเกี่ยวข้องกับการศึกษา สถาบันราชการ หรือสาธารณประโยชน์ เช่น โรงเรียนพยัคฆ 13 8.ที่ดินประเภทที่โล่งเพื่อการรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อม (สีฟ้า) 9. ที่ดินประเภทอนุรักษ์เพื่อส่งเสริมเอกลักษณ์ศิลปวัฒนธรรมไทย (สีน้าตาลอ่อน) 10.ที่ดินประเภทสถาบันศาสนา (สีเทาอ่อน) 11. ที่ดินประเภทสถาบันราชการ การสาธารณูปโภคและสาธารณูปการ (สีน้าเงิน) ภูมิพิสัย โรงเรียนพยัคฆภูมิพิสัยวิทยาคาร โรงเรียนบ้านดง โรงเรียนบ้านหนองแคน เป็นต้น - มีวัตถุประสงค์เพื่อใช้ประโยชน์ที่ดินเพื่อการรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อม การท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ การอนุรักษ์พันธุ์สัตว์น้าจืด หรือการประมงพื้นบ้านเท่านั้น เช่น สระบัว สระหว้า หนองอ่างเกลือ สระสี่เหลี่ยม หนองไผ่ เป็นต้น - มีวัตถุประสงค์เพื่อใช้ประโยชน์ที่ดินเพื่อส่งเสริมเอกลักษณ์ศิลปวัฒนธรรมและสถาปัตยกรรมท้องถิ่นการอนุรักษ์โบราณสถาน โบราณคดีประวัติศาสตร์และพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ หรือสาธารณประโยชน์เท่านั้น ได้แก่ บริเวณคูเมืองโบราณบ้านเมืองเจีย บริเวณคูเมืองโบราณโนนตะคร้อ บริเวณคูเมืองโบราณบ้านเมืองแล้ง - มีวัตถุประสงค์เพื่อสงวนไว้สาหรับการศาสนา หรือเกี่ยวข้องกับการศาสนา การศึกษา สถาบันราชการหรือสาธารณประโยชน์ เช่น วัดทองนพคุณ วัดโพธิชัยนิมิตร วัดพยัคฆภูมิวนาราม ศาลหลักเมืองอาเภอพยัคฆภูมิพิสัย เป็นต้น - มีวัตถุประสงค์เพื่อสงวนไว้สาหรับเป็นสถาบัน ราชการเพื่อประโยชน์แก่กิจการของรัฐ กิจการเกี่ยวกับการสาธารณูปโภคและสาธารณูปการ หรือสาธารณประโยชน์ เช่น การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค สาขาพยัคภูมิพิสัย สถานีขนส่งอาเภอพยัคภูมิพิสัย สานักงานเทศบาล ตาบลพยัคภูมิพิสัย โรงพยาบาลพยัคภูมิพิสัย เป็นต้น 9. เรื่อง ร่างประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่อง การให้ใช้บังคับผังเมืองรวมชุมชนโคกตูม จังหวัดลพบุรี พ.ศ. .... คณะรัฐมนตรีมีมติเห็นชอบร่างประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่อง การให้ใช้บังคับผังเมืองรวมชุมชนโคกตูม จังหวัดลพบุรี พ.ศ. .... ตามที่กระทรวงมหาดไทย (มท.) เสนอ และให้ดาเนินการต่อไปได้ รวมทั้งให้กระทรวงมหาดไทยรับความเห็นของกระทรวงคมนาคม กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม กระทรวงสาธารณสุข และกระทรวงอุตสาหกรรม ไปพิจารณาดาเนินการต่อไปด้วย สาระสาคัญของเรื่อง 1. ร่างประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่อง การให้ใช้บังคับผังเมืองรวมชุมชนโคกตูม จังหวัดลพบุรี พ.ศ. .... เป็นการกาหนดให้ใช้บังคับผังเมือง ในท้องที่ตาบลโคกตูม และตาบลนิคมสร้างตนเอง อาเภอเมืองลพบุรี จังหวัดลพบุรี โดยเป็นผังพื้นที่เปิดใหม่ ซึ่งมีพื้นที่วางผังประมาณ 219 ตารางกิโลเมตร (ประมาณ 136,875 ไร่) เพื่อใช้เป็นแนวทางในการพัฒนาและการดารงรักษาเมืองและบริเวณที่เกี่ยวข้องหรือชนบท ในด้านการใช้ประโยชน์ในที่ดิน การคมนาคมและการขนส่ง การสาธารณูปโภค บริการสาธารณะ และสภาพแวดล้อม ให้สอดคล้องกับการพัฒนาระบบเศรษฐกิจและสังคมของประเทศตามแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ซึ่งมีนโยบายและมาตรการในการส่งเสริมและพัฒนาชุมชนให้เป็นศูนย์กลางการบริหาร การปกครอง การพาณิชยกรรมและการบริการในระดับ 14 ตาบล การส่งเสริมและพัฒนาด้านที่อยู่อาศัย พาณิชยกรรม และอุตสาหกรรม ให้สอดคล้องกับการขยายตัวของชุมชนและระบบเศรษฐกิจในอนาคต โดยได้มีการกาหนดแผนผังและการใช้ประโยชน์ที่ดินภายในเขตผังเมืองรวมจาแนกออกเป็น 11 ประเภท ซึ่งแต่ละประเภทจะกาหนดลักษณะกิจการที่ให้ดาเนินการตามวัตถุประสงค์การใช้ประโยชน์ที่ดินแต่ละประเภทนั้น ๆ รวมทั้งกาหนดประเภทหรือชนิดของโรงงานที่ให้ดาเนินการในที่ดินแต่ละประเภท รวมทั้งกาหนดการใช้ประโยชน์ที่ดินตามแผนผังโครงการคมนาคมและขนส่ง ซึ่งกระทรวงมหาดไทยได้ดาเนินการตามขั้นตอนที่กาหนดไว้ในพระราชบัญญัติการผังเมือง พ.ศ. 2562 แล้ว และคณะกรรมการผังเมืองได้มีมติเห็นชอบด้วยแล้ว 2. กาหนดประเภทการใช้ประโยชน์ที่ดินออกเป็น 11 ประเภท ดังนี้ ประเภท วัตถุประสงค์ 1. ที่ดินประเภทที่อยู่อาศัยหนาแน่นน้อย (สีเหลือง) 2. ที่ดินประเภทที่อยู่อาศัยหนาแน่นปานกลาง (สีส้ม) 3. ที่ดินประเภทพาณิชยกรรมและที่อยู่อาศัยหนาแน่นมาก (สีแดง) 4. ที่ดินประเภทอุตสาหกรรมและคลังสินค้า (สีม่วง) 5. ที่ดินประเภทชนบทและเกษตรกรรม (สีเขียว) 6. ที่ดินประเภทที่โล่งเพื่อนันทนาการและการรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อม (สีเขียวอ่อน) - เป็นพื้นที่ชุมชนหลัก มีวัตถุประสงค์เป็นที่อยู่อาศัยที่เบาบางที่มีสภาพแวดล้อมที่ดี รวมทั้งรองรับการขยายตัวด้านการอยู่อาศัยในอนาคตที่มีการก่อสร้างอาคารอยู่อาศัย เช่น บ้านเดี่ยว บ้านแฝด ห้องแถว ตึกแถว บ้านแถว โดยมีข้อจากัดเรื่องขนาดพื้นที่อาคารอยู่อาศัยหรือประกอบพาณิชยกรรมต้องไม่ใช่อาคารขนาดใหญ่ - เป็นพื้นที่ชุมชนหลักบริเวณต่อเนื่องพื้นที่พาณิชยกรรมและที่อยู่อาศัยหนาแน่นมาก มีวัตถุประสงค์เป็นที่อยู่อาศัยหนาแน่นปานกลางในการรองรับการอยู่อาศัยที่ต่อเนื่องจากศูนย์กลางพาณิชยกรรม ซึ่งมีการก่อสร้างที่อยู่อาศัยได้ทุกประเภท เช่น บ้านเดี่ยว บ้านแฝด ห้องแถว ตึกแถว บ้านแถว อาคารชุด หอพักอาคารอยู่อาศัยรวม - เป็นพื้นที่ศูนย์กลางพาณิชยกรรมของชุมชนโคกตูม มีวัตถุประสงค์เป็นศูนย์กลางพาณิชยกรรมและบริการของชุมชน เพื่อรองรับการประกอบกิจกรรมทางธุรกิจ การค้า การบริการที่ให้บริการประชาชน ประกอบด้วย ตลาด ร้านค้า โรงแรม รวมทั้งกาหนดให้เป็นที่อยู่อาศัยหนาแน่นมากเพื่อรองรับการประกอบกิจการดังกล่าว - มีวัตถุประสงค์เป็นพื้นที่ประกอบอุตสาหกรรมและคลังสินค้า และรองรับอุตสาหกรรมที่ได้รับประทานบัตรเหมืองแร่ และห้ามมิให้ใช้ประโยชน์ที่ดินที่ไม่เหมาะสมกับพื้นที่ เช่น จัดสรรที่ดินเพื่อการอยู่อาศัย - มีวัตถุประสงค์เป็นพื้นที่เกษตรกรรม เช่น การทานา ทาไร่ เลี้ยงสัตว์ การสงวนรักษาพื้นที่เกษตรกรรมซึ่งห้ามมิให้ใช้ประโยชน์ที่ดินที่ไม่เหมาะสมกับพื้นที่ เช่น จัดสรรที่ดินเพื่อการอยู่อาศัยหรือประกอบอุตสาหกรรม - เป็นพื้นที่โล่งและพื้นที่ธรรมชาติ มีวัตถุประสงค์เพื่อสงวนไว้เป็นที่โล่งสาหรับนันทนาการ การรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อม และสาธารณประโยชน์เท่านั้น กรณีที่ดินซึ่ง 15 7. ที่ดินประเภทสถาบันการศึกษา (สีเขียวมะกอก) 8. ที่ดินประเภทที่โล่งเพื่อการรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อม (สีฟ้า) 9. ที่ดินประเภทอนุรักษ์เพื่อส่งเสริมเอกลักษณ์ศิลปวัฒนธรรมไทย (สีน้าตาลอ่อน) 10. ที่ดินประเภทสถาบันศาสนา (สีเทาอ่อน) 11. ที่ดินประเภทสถาบันราชการ การสาธารณูปโภคและสาธารณูปการ (สีน้าเงิน) เอกชนเป็นเจ้าของหรือผู้ครอบครองโดยชอบด้วยกฎหมายได้กาหนดการใช้ประโยชน์ที่ดินให้สอดคล้องกับพื้นที่ และมีข้อจากัดเรื่องขนาดของอาคารต้องไม่ใช่อาคารขนาดใหญ่ - มีวัตถุประสงค์เพื่อเป็นพื้นที่สถาบันการศึกษา ซึ่งเป็นสถาบันการศึกษาตามการใช้ประโยชน์ที่ดินปัจจุบัน เช่น โรงเรียนเทศบาล 1 โรงเรียนโคกตูมวิทยา โรงเรียนพิบูลสงเคราะห์ 1 - มีวัตถุประสงค์เป็นพื้นที่ให้ใช้ประโยชน์ที่ดินเพื่อรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อม การท่องเที่ยว การประมง เช่น พื้นที่บริเวณอ่างเก็บน้าห้วยส้ม อ่างเก็บน้าห้วยซับเหล็ก และอ่างเก็บน้าซอย 5 - มีวัตถุประสงค์เพื่อส่งเสริมเอกลักษณ์ศิลปวัฒนธรรมไทยและสถาปัตยกรรมท้องถิ่น การอนุรักษ์โบราณสถาน โบราณคดีประวัติศาสตร์ โบราณวัตถุ ศิลปวัตถุ พิพิธภัณฑ์และสถานแห่งชาติ เช่น พลับพลาสมเด็จพระนารายณ์มหาราช - มีวัตถุประสงค์เพื่อเป็นพื้นที่สถาบันศาสนา ซึ่งเป็นสถาบันศาสนาตามการใช้ประโยชน์ที่ดินปัจจุบัน เช่น วัดราษฎร์ศรัทธาธรรม วัดโคกตูม วัดวงษ์เพชร - มีวัตถุประสงค์เพื่อการใช้ประโยชน์ที่ดินเกี่ยวกับ กิจการต่าง ๆ ของรัฐบาล เพื่อการสาธารณูปโภคและสาธารณูปการ เช่น โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ ชุมชนบ้านห้วยจันทร์ สานักงานเทศบาลตาบลโคกตูม ศูนย์เมล็ดพันธุ์ข้าวลพบุรี เศรษฐกิจ-สังคม 10. เรื่อง รายงานปัญหาการนาเข้ากุ้งจากต่างประเทศ ตามข้อสั่งการนายกรัฐมนตรี คณะรัฐมนตรีรับทราบข้อเท็จจริงเกี่ยวกับสถานการณ์กุ้งของประเทศไทย ประเด็นการนาเข้ากุ้งจากต่างประเทศ รวมถึงมาตรการในการแก้ไขปัญหากุ้งทะเลของประเทศไทย และเห็นชอบในหลักการการจัดทาโครงการเพื่อแก้ไขปัญหากุ้งทะเลของประเทศไทย และมอบหมายให้กรมประมงและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องจัดทาโครงการเสนอขอใช้งบประมาณในลาดับต่อไป [โดยจะขอใช้งบประมาณจาก 2 แหล่ง ได้แก่ งบประมาณรายจ่ายประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2567 งบกลาง รายการเงินสารองจ่ายเพื่อกรณีฉุกเฉินหรือจาเป็น (งบกลางฯ) วงเงินรวม 1,644 16 ล้านบาท และกองทุนรวมเพื่อช่วยเหลือเกษตรกร กระทรวงพาณิชย์ (พณ.) วงเงินรวม 210 ล้านบาท] ตามที่กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ (กษ.) เสนอ สาระสาคัญของเรื่อง 1. กุ้งทะเลเป็นสัตว์น้าเศรษฐกิจที่เคยสร้างรายได้เข้าสู่ประเทศไทยปีละมากกว่าแสนล้านบาท ซึ่งในอดีตประเทศไทยเป็นประเทศผู้นาด้านการผลิตและการส่งออกกุ้งทะเล โดยมีผลผลิตสูงสุดเกือบ 600,000 ตัน ในปี 2552 แต่จากวิกฤตการณ์โรคระบาดครั้งใหญ่จากโรคตายด่วนในกุ้ง ที่ทาให้กุ้งตายอย่างรวดเร็วในช่วงปี 2555-2557 ทาให้ผลผลิตกุ้งทะเลของประเทศไทยลดลงอย่างมาก จนเหลือประมาณ 300,000 ตันต่อปี ส่งผลให้กุ้งทะเลของไทยออกสู่ตลาดน้อยลง ซึ่งประเทศคู่แข่งที่สาคัญของประเทศไทย ได้แก่ สาธารณรัฐเอกวาดอร์ (เอกวาดอร์) สาธารณรัฐอินเดีย (อินเดีย) ที่ไม่มีรายงานการเกิดโรคระบาดสามารถผลิตกุ้งทะเลเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็วในช่วง 10 ปี ที่ผ่านมา จนขึ้นมาเป็นผู้นาตลาดส่งออกแทนประเทศไทย ส่งผลให้ผลผลิตกุ้งโลกเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว จากการรายงานของบริษัท Rabobank พบว่า ผลผลิตกุ้งโลกในปี 2566 มีประมาณ 5.60 ล้านตัน และในปี 2567 คาดว่าผลผลิตกุ้งจะเพิ่มขึ้นร้อยละ 4.80 อยู่ที่ประมาณ 5.88 ล้านตัน อีกทั้งตลาดสหรัฐอเมริกา ซึ่งเป็นตลาดส่งออกที่สาคัญของประเทศไทยมีการนาเข้ากุ้งทะเลจากเอกวาดอร์ อินเดีย และสาธารณรัฐอินโดนีเซียที่มีราคาต่ากว่าประเทศไทย ส่งผลให้ความสามารถในการแข่งขันด้านการตลาดของกุ้งทะเลจากประเทศไทยลดลงต่อเนื่อง และเกษตรกรที่มีต้นทุนทุนการผลิตสูงมีความเสี่ยงต่อการขาดทุน 2. มาตรการป้องกันลักลอบการนาเข้ากุ้งทะเลจากต่างประเทศ โดยกรมประมงได้ยกระดับมาตรฐานการควบคุมการนาเข้าสินค้าสัตว์น้า ดังนี้ 1) เพิ่มประสิทธิภาพการตรวจสอบสินค้าประมง ดังนี้ (1) การตรวจสอบตู้คอนเทนเนอร์ร้อยละ 100 โดยตรวจสอบ เอกสาร หมายเลขซีล สินค้าประมงนาเข้า และติดซีลที่คอนเทนเนอร์เพื่อป้องกันการสับเปลี่ยนหรือเปลี่ยนถ่ายสินค้าระหว่างการขนส่ง (2) ตรวจสอบชนิดและปริมาณสัตว์น้านาเข้า การขนถ่ายสัตว์น้าขึ้นท่าของเรือประมงต่างประเทศให้เป็นไปตามที่ได้รับอนุญาต และตามมาตรการรัฐเจ้าของท่า (PSM) 2) ออกประกาศกรมประมง เรื่อง กาหนดหลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขในการขออนุญาตและการอนุญาตนาเข้าสัตว์น้าหรือผลิตภัณฑ์สัตว์น้า (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2567 ลงวันที่ 7 พฤษภาคม 2567 กาหนดเอกสารประกอบการนาเข้าที่ชัดเจนมากขึ้นต้องมีบัญชีรายละเอียดภาชนะบรรจุ (Packing list) และกาหนดให้ระบุสถานที่จัดเก็บสินค้า 3) ขอความอนุเคราะห์ให้จังหวัดประจวบคีรีขันธ์และจังหวัดกาญจนบุรี พิจารณากาหนดหลักเกณฑ์เงื่อนไขการนาเข้า เพื่อควบคุมสินค้าสัตว์น้านาเข้าที่ส่งผลกระทบต่อความมั่นคงทางด้านเศรษฐกิจ และการค้าของประชาชนภายในประเทศ 4) จัดตั้งศูนย์ปฏิบัติการต่อต้านการนาเข้าส่งออกสินค้าประมงผิดกฎหมาย เพื่อกาหนดแนวทางในการดาเนินคดีตามกฎหมายอย่างมีประสิทธิภาพโดยมีการดาเนินคดีไปแล้ว จานวน 330 คดี และแต่งตั้งคณะทางานชุดเฉพาะกิจ ตรวจสอบ ควบคุม ป้องกัน การลักลอบนาเข้าสินค้าประมงผิดกฎหมายเข้าประเทศตามแนวชายแดน เพื่อประสานความร่วมมือการดาเนินการกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง 5) จัดเก็บข้อมูลสถิติการนาเข้าสัตว์น้าและผลิตภัณฑ์ผ่านระบบการขออนุญาตในระบบเชื่อมโยงคาขอกลาง และระบบสนับสนุนใบอนุญาตและใบรับรองผ่านอินเทอร์เน็ต กรมประมง (FSW) ซึ่งสามารถเรียกข้อมูลการนาเข้าในแต่ละชนิดสัตว์น้า 6) ควบคุมการส่งออกสัตว์น้าและผลิตภัณฑ์สัตว์น้า โดยให้ผู้ประกอบการส่งออกแสดงแหล่งที่มาของสัตว์น้า ซึ่งต้องมาจากการทาประมงโดยชอบด้วยกฎหมาย และสามารถตรวจสอบย้อนกลับได้ ทั้งนี้ เนื่องด้วยประเทศไทยและประเทศผู้ผลิตกุ้งทะเลเป็นสมาชิกองค์การการค้าโลก (World Trade Organization : WTO) ซึ่งจะต้องปฏิบัติตามความตกลงภายใต้ WTO การกาหนดมาตรการต้องไม่ก่อให้เกิดอุปสรรคทางการค้า หรือข้อกีดกันทางการค้าของประเทศสมาชิก ดังนั้น กรมประมงจะประกาศงดการออกหนังสืออนุญาตนาเข้ากุ้งทะเลจากต่างประเทศในกรณีฉุกเฉินและมีเหตุอันควรโดยจะใช้ชั่วคราวเท่านั้น เช่น การตรวจพบโรคระบาด หรือการตรวจพบสารตกค้าง เป็นต้น 3. การยกระดับมาตรการในการแก้ไขปัญหากุ้งทะเล โดยกรมประมงได้จัดทาโครงการแก้ไขปัญหาด้านกุ้งทะเลเพื่อช่วยเหลือเกษตรกรทั้งระบบ โดยการลดต้นทุน การผลิตด้านอาหาร ด้านพลังงาน และ 17 ด้านโรคซึ่งเป็นต้นทุนแฝงของเกษตรกร รวมถึงการเชื่อมโยงการตลาดเพื่อจาหน่ายผลผลิตให้กับเกษตรกร โดยแบ่งการดาเนินงานออกเป็น 2 ระยะ ดังนี้ โครงการ เป้าหมาย งบประมาณ (ล้านบาท) โครงการระยะสั้น (1) โครงการสนับสนุนอาหารกุ้งทะเลที่มีระดับโปรตีนที่เหมาะสมเพื่อลดต้นทุนการผลิตของเกษตรกรผู้เลี้ยงกุ้งขาวแวนนาไม ปี 2567/68 (เริ่มดาเนินโครงการนับจากวันที่คณะรัฐมนตรีมีมติอนุมัติงบประมาณ เป็นระยะเวลา 1 ปี) เพื่อสนับสนุนอาหารเม็ดสาเร็จรูปที่ระดับโปรตีนร้อยละ 32 และร้อยละ 35 ให้กับเกษตรกรที่มีพื้นที่เลี้ยงไม่เกิน 40 ไร่ จานวน 8,961 ราย 352 (เสนอของบกลางฯ) (2) โครงการพลังงานทางเลือก ลดต้นทุนและสนับสนุนการผลิต กุ้งทะเลที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม (ลดต้นทุนค่าพลังงานเกษตรกร ผู้เลี้ยงกุ้งโดยโซลาร์เซลล์ขนาดเล็ก) (เริ่มดาเนินโครงการในปี 2567-2568) เพื่อสนับสนุนโซลาร์เซลล์ขนาดเล็ก และมอเตอร์ประสิทธิภาพสูง จานวน 1 ชุด ให้กับเกษตรกรที่มีพื้นที่เลี้ยงไม่เกิน 40 ไร่ จานวน 8,961 ราย รายละ 1 ชุด 366 (เสนอของบกลางฯ) (3) โครงการขยายฐานการผลิตจุลินทรีย์เพื่อการเพาะเลี้ยงกุ้งทะเล (รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ให้ความเห็นชอบแล้ว)(เริ่มดาเนินโครงการในเดือนเมษายน-กันยายน 2567) เพื่อจัดตั้งศูนย์ผลิตหัวเชื้อจุลินทรีย์ ของกลุ่มเกษตรกรเพิ่มเติม รวมถึง เพิ่มประสิทธิภาพศูนย์ผลิตหัวเชื้อ จุลินทรีย์เดิมของทั้งหน่วยงานภาครัฐและกลุ่มเกษตรกร 24 [ปัจจุบันอยู่ระหว่าง การพิจารณา ของสานักงบประมาณ (สงป.) เพื่อของบกลางฯ] (4) โครงการช่วยเหลือเกษตรกร ผู้เลี้ยงกุ้งปี 2567 (กรมการค้าภายใน) (คณะกรรมการบริหารจัดการห่วงโซ่การผลิตกุ้งทะเลและผลิตภัณฑ์มีมติเมื่อวันที่ 16 พฤษภาคม 2567 เห็นชอบให้เสนอกรมการค้าภายในพิจารณาจัดทาโครงการ) เพื่อเชื่อมโยงการจาหน่ายผลผลิตกุ้งทะเลในประเทศ เป้าหมายรวม 7,000 ตัน เป็นระยะเวลา 3 เดือน ชดเชยส่วนต่างราคากิโลกรัมละ ไม่เกิน 20 บาท และค่าดาเนินการด้านการตลาดกิโลกรัมละไม่เกิน 10 บาท 210 [เสนอของบกองทุนรวมเพื่อช่วยเหลือเกษตรกร] (5) โครงการกระจายผลผลิตกุ้งทะเล คุณภาพสู่ผู้บริโภคภายในประเทศ (เริ่มดาเนินโครงการนับจากวันที่ คณะรัฐมนตรีมีมติอนุมัติงบประมาณเป็นระยะเวลา 1 ปี) เพื่อกระจายผลผลิตภายในประเทศ จากเกษตรกรถึงผู้บริโภคโดยตรง 2,000 ตัน โดยสนับสนุนค่าขนส่งภายในประเทศผ่านระบบที่เหมาะสมในการรักษาคุณภาพ สินค้าให้กับเกษตรกร 50 บาท/กิโลกรัม รายละไม่เกิน 10,000 บาท 102 (รวมค่าบริหารโครงการร้อยละ 2) (เสนอของบกลางฯ) (6) โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการผลิต กุ้งทะเลด้วยระบบป้องกันโรคตลอดห่วงโซ่การผลิต (Shrimp Sandbox) (เริ่มดาเนินโครงการในปี 2568 ? 2570) เพื่อลดต้นทุนแฝงจากการเกิดโรคกุ้งทะเลระหว่างการเลี้ยง เช่น การซื้อปัจจัยการผลิต ยาและสารเคมีของเกษตรกร เป็นต้น 800 (ด้านป้องกันโรค 500 ล้านบาท ด้านสายพันธุ์ 300 ล้านบาท) (เสนอของบกลางฯ) 18 รวมทั้งสิ้น 1,854 ซึ่งหากดาเนินการตามมาตรการการยกระดับการแก้ไขปัญหากุ้งทะเลตามที่กรมประมงเสนอ เกษตรกรผู้เลี้ยงกุ้งทะเลจะมีต้นทุนการผลิตลดลง สามารถจาหน่ายผลผลิตมีรายได้เพิ่มขึ้น รวมทั้งเกษตรกรและผู้ประกอบการในอุตสาหกรรมเกี่ยวเนื่องยังคงดาเนินกิจการได้ต่อไป 11. เรื่อง ปรับปรุงมติคณะรัฐมนตรีเมื่อวันที่ 10 กุมภาพันธ์ 2552 เกี่ยวกับหลักเกณฑ์การก่อหนี้ผูกพันข้ามปีงบประมาณ และมาตรการอื่นที่เกี่ยวข้อง คณะรัฐมนตรีมีมติเห็นชอบให้ปรับปรุงมติคณะรัฐมนตรีเมื่อวันที่ 10 กุมภาพันธ์ 2552 (เรื่อง การปรับปรุงแก้ไขมติคณะรัฐมนตรีเกี่ยวกับหลักเกณฑ์การก่อหนี้ผูกพันข้ามปีงบประมาณและมาตรการอื่น ที่เกี่ยวข้อง) ตามที่สานักงบประมาณ (สงป.) เสนอ สาระสาคัญของเรื่อง สงป. รายงานว่า 1. โดยที่หลักเกณฑ์การก่อหนี้ผูกพันข้ามปีงบประมาณ และมาตรการอื่นที่เกี่ยวข้อง (หลักเกณฑ์ฯ) ตามมติคณะรัฐมนตรีเมื่อวันที่ 10 กุมภาพันธ์ 2552 ได้ถือปฏิบัติมาเป็นระยะเวลานาน และพบว่าหน่วยรับงบประมาณหลายแห่งไม่สามารถปฏิบัติตามหลักเกณฑ์ดังกล่าวบางข้อได้ ส่งผลให้ สงป. ต้องขอยกเว้นการปฏิบัติตามมติคณะรัฐมนตรีข้างต้นมาโดยตลอด ซึ่งเป็นการสะท้อนให้เห็นว่าหลักเกณฑ์ฯ อาจไม่สอดรับกับสถานการณ์ปัจจุบันที่เปลี่ยนแปลงไป ประกอบกับกฎหมายว่าด้วยวิธีการงบประมาณได้มีการแก้ไขใหม่ทั้งฉบับ พร้อมกับมีการตรากฎหมายว่าด้วยวินัยการเงินการคลังของรัฐขึ้นใช้บังคับ ซึ่งกฎหมายทั้งสองฉบับได้กาหนดสัดส่วนการตั้งงบประมาณรายจ่ายลงทุนและการก่อหนี้ผูกพันข้ามปีงบประมาณไว้แล้ว และกรณีรายการก่อหนี้ผูกพันข้ามปีงบประมาณที่มีวงเงินตั้งแต่หนึ่งพันล้านบาทขึ้นไปให้เสนอคณะรัฐมนตรีพิจารณาอนุมัติก่อนยื่นคาขอตั้งงบประมาณรายจ่าย จึงเห็นสมควรปรับปรุงมติคณะรัฐมนตรีให้มีความเหมาะสมยิ่งขึ้น และสอดคล้องกับสถานการณ์ปัจจุบัน 2. เพื่อให้หน่วยรับงบประมาณใช้จ่ายงบประมาณรายจ่าย รายการก่อหนี้ผูกพันข้ามปีงบประมาณอย่างมีประสิทธิภาพ เหมาะสม และสอดคล้องกับสถานการณ์ปัจจุบัน สงป. จึงขอเสนอเพื่อโปรดพิจารณาเห็นชอบให้ปรับปรุงมติคณะรัฐมนตรีเมื่อวันที่ 10 กุมภาพันธ์ 2552 ดังนี้ มติคณะรัฐมนตรีเมื่อวันที่ 10 กุมภาพันธ์ 2552 มติคณะรัฐมนตรีที่ขอปรับปรุงในครั้งนี้ 1) หลักเกณฑ์การก่อหนี้ผูกพันข้ามปีงบประมาณ 1.1) การผูกพันงบประมาณล่วงหน้า ควรกาหนดระยะเวลาไม่เกินกว่า 5 ปี คงเดิม 1.2) จะต้องเป็นโครงการ หรือรายการที่ได้รับการจัดสรรงบประมาณไว้ตามพระราชบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจาปี โดยมีรายการที่จะต้องผูกพันงบประมาณข้ามปีปรากฏอยู่ในเอกสารงบประมาณรายจ่ายประจาปีนั้น ๆ คงเดิม 1.3) การผูกพันงบประมาณรายจ่ายลงทุนใหม่ในแต่ละ ปีงบประมาณ เมื่อรวมกับภาระผูกพันเฉพาะรายจ่ายลงทุนที่กาหนดไว้ก่อนแล้วทุกกรณี จะต้องมียอดภาระงบประมาณที่จะผูกพันในปีงบประมาณต่อ ๆ ไปแต่ละปี เปรียบเทียบกับรายจ่ายลงทุนที่ส่วนราชการได้รับในปีงบประมาณนั้น ดังนี้ ปีงบประมาณที่ 1 ไม่เกินกว่าร้อยละ 60 ปีงบประมาณที่ 2 ไม่เกินกว่าร้อยละ 40 ปีงบประมาณที่ 3 ไม่เกินกว่าร้อยละ 20 ปีงบประมาณที่ 4 ไม่เกินกว่าร้อยละ 10 ยกเลิกข้อ 1.3 และให้ใช้ความต่อไปนี้แทน 1.3) การผูกพันงบประมาณรายจ่ายลงทุนใหม่ในแต่ละ ปีงบประมาณ เมื่อรวมกับภาระผูกพันเฉพาะรายจ่ายลงทุนที่กาหนดไว้ก่อนแล้วทุกกรณี จะต้องมียอดภาระงบประมาณที่จะผูกพันในปีงบประมาณต่อไป เปรียบเทียบกับรายจ่ายลงทุนที่หน่วยรับงบประมาณได้รับในปีงบประมาณนั้น ให้เป็นไปตามที่ สงป. กาหนด โดยสอดคล้องกับกฎหมายว่าด้วยวิธีการงบประมาณ กฎหมายว่าด้วยวินัยการเงินการคลังของรัฐ และฐานะทางการคลังของประเทศ 19 ทั้งนี้ ให้มีผลใช้บังคับเฉพาะการผูกพันงบประมาณข้ามปีล่วงหน้าที่มีระยะเวลาเกินกว่า 3 ปี เท่านั้น สาหรับส่วนราชการในสังกัดกระทรวงกลาโหมรายจ่ายลงทุนตามวรรคแรกให้หมายถึง รายจ่ายเพื่อการพัฒนากองทัพ 1.4) การผูกพันงบประมาณที่มีเหตุผลความจาเป็นพิเศษ ที่จะต้องเสียดอกเบี้ยในลักษณะการกู้เงินในรูปสินเชื่อผู้ผลิต (Supplier?s Credit) หรือการก่อหนี้ในลักษณะเดียวกันหรือใกล้เคียงกัน ให้ สงป. หารือกับสานักงานบริหารหนี้สาธารณะเกี่ยวกับเงื่อนไขการก่อหนี้ที่เหมาะสมด้วย คงเดิม 1.5) การผูกพันงบประมาณที่มีเหตุผลความจาเป็นพิเศษ ที่จะต้องดาเนินการเกินกว่าหรือนอกเหนือไปจากหลักเกณฑ์ตามข้อ 1.1) ถึงข้อ 1.3) จะต้องได้รับความเห็นชอบจากคณะรัฐมนตรีก่อน ยกเว้นในกรณีที่ส่วนราชการได้รับผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงของอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราทาให้ส่วนราชการที่ได้รับอนุมัติการก่อหนี้ผูกพันงบประมาณรายการต่าง ๆ ในวงเงินที่คิดเทียบจากสกุลเงินตราต่างประเทศเพิ่มขึ้น ณ วันที่ลงนามในสัญญา ซึ่งจะมีผลทาให้วงเงินรวมเกินกว่าที่ได้รับอนุมัติไว้เดิม หากค่าดาเนินการที่เป็นเงินตราสกุลต่างประเทศและค่าใช้จ่ายอื่น ๆ ไม่เปลี่ยนแปลงไปจากที่ส่วนราชการเสนอ ก็ให้ส่วนราชการลงนามในสัญญาได้โดยไม่ต้องเสนอคณะรัฐมนตรีพิจารณา ปรับข้อความ 1.5) กรณีหน่วยรับงบประมาณได้รับผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงของอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราทาให้หน่วยรับงบประมาณที่ได้รับอนุมัติการก่อหนี้ผูกพันงบประมาณรายการต่าง ๆ ในวงเงินที่คิดเทียบจากสกุลเงินตราต่างประเทศเพิ่มขึ้น ณ วันที่ลงนามในสัญญา ซึ่งจะมีผลทาให้วงเงินรวมเกินกว่าที่ได้รับอนุมัติไว้เดิม หากค่าดาเนินการที่เป็นเงินตราสกุลต่างประเทศและค่าใช้จ่ายอื่น ๆ ไม่เปลี่ยนแปลงไปจากที่หน่วยรับงบประมาณเสนอ ก็ให้หน่วยรับงบประมาณลงนามในสัญญาได้โดยไม่ต้องเสนอคณะรัฐมนตรีพิจารณา 1.6) รายจ่ายลงทุนที่จะขออนุมัติผูกพันข้ามปีมาทุกรายการ ต้องได้รับจัดสรรงบประมาณแผ่นดินในปีแรก เป็นจานวนเงินไม่ต่ากว่าร้อยละ 20 ของวงเงินรายจ่ายส่วนที่เป็นเงินงบประมาณทั้งสิ้นของรายจ่ายลงทุนนั้น ๆ โดยไม่รวมวงเงินเผื่อเหลือเผื่อขาด ยกเลิกข้อ 1.6 และให้ใช้ความต่อไปนี้แทน 1.6) รายจ่ายลงทุนที่จะขออนุมัติผูกพันข้ามปีมาทุกรายการต้องได้รับจัดสรรงบประมาณแผ่นดินในปีแรก เป็นจานวนเงินไม่ต่ากว่าร้อยละ 15 ของวงเงินรายจ่ายส่วนที่เป็นเงินงบประมาณทั้งสิ้นของรายจ่ายลงทุนนั้น ๆ โดยไม่รวมวงเงินเผื่อเหลือเผื่อขาด และควรกาหนดระยะเวลาผูกพันให้สอดคล้องกับระยะเวลาที่ใช้ในการดาเนินการโดยคานึงถึงปัจจัยต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง รวมถึงการวางแผนการปฏิบัติงานที่เหมาะสม เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการดาเนินงาน ทั้งนี้ ไม่นับรวมถึงรายจ่ายที่เป็นลักษณะ ต้องจ่ายเป็นประจาในแต่ละเดือนหรือในรอบระยะเวลาในจานวนเงินที่เท่ากัน เช่น ค่าเช่ารถยนต์ เป็นต้น 1.7) การผูกพันงบประมาณในแต่ละปีตามข้อ 1.3) ให้ดาเนินการตามสัดส่วนของรายจ่ายลงทุนที่กาหนด เว้นแต่กรณีส่วนราชการดาเนินการล่าช้าให้ สงป. สามารถปรับเปลี่ยนสัดส่วนภาระผูกพันในการเสนอตั้งงบประมาณในแต่ละ ปีงบประมาณ เพื่อให้สอดคล้องกับผลการดาเนินงานจริงของส่วนราชการได้ตามความเหมาะสม ยกเลิก 20 2. มาตรการในการป้องกันและแก้ไขปัญหาการเปลี่ยนแปลงรายการและเงินงบประมาณ 2.1) ให้ส่วนราชการดาเนินการสารวจออกแบบการก่อสร้างหรือกาหนดคุณลักษณะเฉพาะครุภัณฑ์ที่จะจัดซื้อจัดจ้างก่อนเสนอคาขอตั้งงบประมาณรายจ่ายประจาปี ปรับข้อความ 2.1) ให้หน่วยรับงบประมาณดาเนินการสารวจออกแบบการก่อสร้างหรือกาหนดคุณลักษณะเฉพาะครุภัณฑ์ที่จะจัดซื้อจัดจ้างก่อนเสนอคาขอตั้งงบประมาณรายจ่ายประจาปี 2.2) ให้ส่วนราชการดาเนินการเสนอขอตั้งค่าจ้างสารวจออกแบบการก่อสร้างเพื่อให้ส่วนราชการมีแบบรูปรายการ ก่อสร้างประกอบคาขอตั้งงบประมาณรายจ่ายประจาปี ปรับข้อความ 2.2) ให้หน่วยรับงบประมาณดาเนินการเสนอขอตั้งค่าจ้างสารวจออกแบบการก่อสร้างเพื่อให้มีแบบรูปรายการ ก่อสร้างประกอบคาขอตั้งงบประมาณรายจ่ายประจาปี 2.3) ห้ามมิให้ส่วนราชการก่อหนี้ผูกพันงบประมาณข้ามปีในโครงการหรือแผนงานที่เป็นงานก่อสร้างหรือจัดซื้อครุภัณฑ์ซึ่งตามปกติสามารถดาเนินการได้แล้วเสร็จภายใน ปีงบประมาณเดียว ปรับข้อความ 2.3) ห้ามมิให้หน่วยรับงบประมาณก่อหนี้ผูกพันงบประมาณข้ามปีในโครงการหรือแผนงานที่เป็นงานก่อสร้างหรือจัดซื้อครุภัณฑ์ ซึ่งตามปกติสามารถดาเนินการได้แล้วเสร็จภายในปีงบประมาณเดียว 2.4) หากส่วนราชการมีความจาเป็นในการเปลี่ยนแปลงแบบรูปรายการก่อสร้างหรือคุณลักษณะเฉพาะของรายการครุภัณฑ์ที่มีผลทาให้ประมาณราคากลางสูงกว่าวงเงินงบประมาณรวมวงเงินเผื่อเหลือเผื่อขาดที่คณะรัฐมนตรีได้อนุมัติให้ก่อหนี้ผูกพัน ให้กระทาได้เฉพาะกรณีที่มีผลทาให้วงเงินดังกล่าวเพิ่มขึ้นไม่เกินร้อยละ 5เท่านั้น โดยให้ทาความตกลงกับ สงป. ก่อนดาเนินการประกวดราคา ปรับข้อความ 2.4) หากหน่วยรับงบประมาณมีความจาเป็นในการเปลี่ยนแปลงแบบรูปรายการก่อสร้างหรือคุณลักษณะเฉพาะของรายการครุภัณฑ์ที่มีผลทาให้ประมาณราคากลางสูงกว่าวงเงินงบประมาณรวมวงเงินเผื่อเหลือเผื่อขาดที่คณะรัฐมนตรีได้อนุมัติให้ก่อหนี้ผูกพัน ให้กระทาได้เฉพาะกรณีที่มีผลทาให้วงเงินดังกล่าวเพิ่มขึ้นไม่เกินร้อยละ 5 เท่านั้น โดยให้ทาความตกลงกับสานักงบประมาณก่อนดาเนินการประกวดราคา 12. เรื่อง ขอความเห็นชอบการจาหน่ายอสังหาริมทรัพย์ขององค์การเภสัชกรรมให้กับมหาวิทยาลัยมหิดล (คณะแพทยศาสตร์ โรงพยาบาลรามาธิบดี) เป็นการจาหน่ายด้วยวิธีการโอนให้แก่มูลนิธิรามาธิบดี ในพระราชูปถัมภ์ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี คณะรัฐมนตรีมีมติเห็นชอบให้องค์การเภสัชกรรมจาหน่ายอสังหาริมทรัพย์ด้วยวิธีการโอนให้มูลนิธิรามาธิบดี ในพระราชูปถัมภ์ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี (มูลนิธิรามาธิบดีฯ) เพื่อรองรับโครงการอาคารโรงพยาบาลรามาธิบดีและย่านนวัตกรรมโยธี ตามที่กระทรวงสาธารณสุข (สธ.) เสนอ สาระสาคัญของเรื่อง เดิมคณะรัฐมนตรีได้มีมติ (7 เมษายน 2564) เห็นชอบในหลักการให้กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม โดยมหาวิทยาลัยมหิดลดาเนินโครงการอาคารโรงพยาบาลรามาธิบดีและย่านนวัตกรรมโยธี ซึ่งเป็นการก่อสร้างอาคารโรงพยาบาลรามาธิบดีใหม่ทดแทนอาคารเดิม โดยใช้พื้นที่บางส่วนขององค์การเภสัชกรรม แต่โดยที่การจาหน่ายอสังหาริมทรัพย์ขององค์การเภสัชกรรมในพื้นที่ดังกล่าวให้มหาวิทยาลัยมหิดลนั้นจะต้องได้รับความเห็นชอบจากคณะรัฐมนตรีก่อนจึงจะดาเนินการได้ตามนัยพระราชบัญญัติองค์การเภสัชกรรม พ.ศ. 2509 ดังนั้น กระทรวงสาธารณสุข โดยองค์การเภสัชกรรม จึงขอเสนอคณะรัฐมนตรีพิจารณาเห็นชอบให้องค์การเภสัชกรรมจาหน่ายอสังหาริมทรัพย์ โดยการโอนให้มูลนิธิรามาธิบดี ในพระราชูปถัมภ์ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ทั้งนี้ กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม 21 กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม กระทรวงมหาดไทย สานักงบประมาณ และสานักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติเห็นชอบ/ไม่ขัดข้อง 13. เรื่อง การแก้ไขปัญหาเชิงโครงสร้างพื้นฐาน (แม่น้าปิง และแม่น้ากก) ระยะเร่งด่วน คณะรัฐมนตรีมีมติเห็นชอบแผนแก้ไขปัญหาเชิงโครงสร้างพื้นฐาน (แม่น้าปิง และแม่น้ากก) ระยะเร่งด่วน ในพื้นที่จังหวัดเชียงใหม่และจังหวัดเชียงราย วงเงินรวม 213 ล้านบาท (ค่างานโยธา 193.6 ล้านบาท และค่าเผื่อเหลือเผื่อขาด 19.4 ล้านบาท) และมอบหมายหน่วยงานที่เกี่ยวข้องประสานสานักงานงบประมาณเพื่อขอรับเงินจัดสรรงบประมาณไปดาเนินการตามแผนและกรอบระยะเวลาที่กาหนด ตามที่กระทรวงคมนาคม (คค.) เสนอ สาระสาคัญของเรื่อง คค. รายงานว่า ในคราวประชุมศูนย์ปฏิบัติการช่วยเหลือผู้ประสบอุทกภัย วาตภัยและดินโคลนถล่ม (ศปช.) เมื่อวันที่ 25 พฤศจิกายน 2567 โดยมีรองนายกรัฐมนตรี (นายภูมิธรรม เวชยชัย) เป็นประธานการประชุม ที่ประชุมมีมติรับหลักการแผนการแก้ไขปัญหาเชิงโครงสร้างพื้นฐาน ระยะเร่งด่วน ในพื้นที่จังหวัดเชียงใหม่และจังหวัดเชียงรายตามที่คณะทางานศึกษาวางแผนการแก้ไขปัญหาน้าท่วมและดินโคลนถล่ม ในพื้นที่ภาคเหนือเสนอ โดยมีพื้นที่เป้าหมาย คือ ลาน้าปิง จังหวัดเชียงใหม่ ลาน้ากกและลาน้าสาย จังหวัดเชียงราย ซึ่งได้กาหนดแนวทางการแก้ไขปัญหาเชิงโครงสร้างพื้นฐาน ระยะเร่งด่วน โดยการขุดลอกลาน้าที่มีตะกอนทับถมและขยายหน้าตัด รื้อถอนสิ่งปลูกสร้างหรือสิ่งกีดขวางที่ขวางการไหลของน้ามีรายละเอียดแผนการดาเนินงาน ดังนี้ 1. แผนการแก้ไขปัญหาเชิงโครงสร้างพื้นฐาน (แม่น้าปิง) ระยะเร่งด่วน ประกอบด้วย โครงการขุดลอกและบารุงรักษาร่องแม่น้าปิง ปริมาณ 1.752 ล้านลูกบาศก์เมตร วงเงิน 157.6 ล้านบาท และโครงการรื้อฝายเก่า จานวน 3 แห่ง (ฝายพญาคา ฝายหนองผึ้ง และฝายท่าวังตาล) วงเงิน 13.8 ล้านบาท แผนการดาเนินงาน หน่วยงาน ปริมาณงาน งานประมาณ 1. โครงการชุดลอกและบารุงรักษาร่องน้าแม่น้าปิง 1.752 ล้านลูกบาศก์เมตร 157.6 1.1 สารวจออกแบบ ประเมินปริมาณงาน กรมเจ้าท่า - - 1.2 ขออนุมัติงบประมาณ หน่วยบัญชาการ ทหารพัฒนา - - 1.3 ดาเนินงานขุดลอกรวมขนทิ้ง 155.8 1.3.1 กม.583+000 ? 590+000 260,955 ลูกบาศก์เมตร 19.6 1.3.2 กม.577+000 ? 583+000 37,178 ลูกบาศก์เมตร 2.5 1.3.3 กม.567+000 ? 577+000 244,013 ลูกบาศก์เมตร 18.2 1.3.4 กม.557+000 ? 567+000 780,679 ลูกบาศก์เมตร 75 1.3.5 กม.549+000 ? 557+000 429,435 ลูกบาศก์เมตร 40.5 1.4 งานอานวยการ ทาความสะอาด เก็บกวาดเส้นทางขนย้ายดิน จังหวัดเชียงใหม่ 1 งาน 1.8 2. โครงการรื้อฝายเก่า 3 แห่ง (ฝายพญาคา ฝายหนองผึ้ง และฝายท่าวังตาล) 3 แห่ง 13.8 2.1 งานประชุมรับฟังความคิดเห็นของประชาชน จังหวัดเชียงใหม่ - 1.8 2.2 ขออนุมัติงบประมาณ กรมชลประทาน - - 23 ดาเนินการรื้อถอน 3 แห่ง 12 22 3. ค่าเผื่อเหลือเผื่อขาด 17.2 รวมวงเงินค่างานโยธา (1) + (2) 171.4 รวมวงเงินทั้งสิ้น (1) + (2) + (3) 188.6 2. แผนการแก้ไขปัญหาเชิงโครงสร้างพื้นฐาน (แม่น้ากก) ระยะเร่งด่วน ประกอบด้วย โครงการขุดลอกและบารุงรักษาร่องน้าแม่น้ากก ปริมาณ 337,812.5 ลูกบาศก์เมตร วงเงิน 22.2 ล้านบาท แผนการดาเนินงาน หน่วยงาน ปริมาณ งบประมาณ (ล้านบาท) 1. โครงการขุดลอกและบารุงรักษาร่องน้าแม่น้ากก (จานวน 2 แห่ง) 337,812.5 ลูกบาศก์เมตร 22.2 1.1 สารวจออกแบบ ประเมินปริมาณงาน กรมเจ้าท่า - - 1.2 ขออนุมัติงบประมาณ หน่วยบัญชาการทหารพัฒนา/กรมชลประทาน - - 1.3 ดาเนินการขุดลอก 1.31. กม.85+000 ? 88+500 หน่วยบัญชาการทหารพัฒนา 189,108 ลูกบาศก์เมตร 12.1 1.3.2 กม.72+000 ? 72+950 บริเวณสถานีสูบน้าบ้านฟาร์ม กรมชลประทาน 148,704.5 ลูกบาศก์เมตร 10.1 2. ค่าเผื่อเหลือเผื่อขาด 2.2 รวมวงเงินค่างานโยธา (1) 22.2 รวมวงเงินทั้งสิ้น (1) + (2) 24.4 3. มอบหมายให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องดาเนินการตามแผนการแก้ไขปัญหาเชิงโครงสร้างพื้นฐาน (แม่น้าปิง และแม่น้ากก) ระยะเร่งด่วน โดยแต่ละโครงการจะต้องดาเนินการให้แล้วเสร็จภายในเดือนพฤษภาคม 2568 เพื่อเตรียมความพร้อมในการรับมือกับฤดูฝนปีหน้า ดังนี้ 3.1) มอบหมายให้กรมเจ้าท่า (คค.) ทาหน้าที่ด้านวิศวกรรมและการตรวจสอบ 3.2) มอบหมายให้หน่วยบัญชาการทหารพัฒนา กองบัญชาการกองทัพไทย กระทรวงกลาโหม (กห.) เป็นหน่วยงานรับผิดชอบในการขุดลอก เนื่องจากมีความพร้อมด้านกาลังพล เครื่องมือ เครื่องจักร และอุปกรณ์ในการปฏิบัติงาน 3.3) มอบหมายให้ผู้ว่าราชการจังหวัดเชียงใหม่ ผู้ว่าราชการจังหวัดเชียงราย และ กรมชลประทาน กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ (กษ.) อานวยความสะดวก บริหารจัดการมวลชน และจัดหาพื้นที่ทิ้งดินจากการขุดลอก 14. เรื่อง ขออนุมัติขยายระยะเวลาดาเนินโครงการชลประทานขนาดใหญ่ จานวน 4 โครงการ คณะรัฐมนตรีมีมติอนุมัติขยายระยะเวลาดาเนินโครงการชลประทานขนาดใหญ่ จานวน 4 โครงการ ภายใต้กรอบวงเงินโครงการที่ได้รับอนุมัติไว้เดิม ตามที่กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ (กษ.) เสนอ ดังนี้ โครงการ ปีงบประมาณ พ.ศ. จากเดิม เป็น (1) โครงการประตูระบายน้าศรีสองรักอันเนื่องมาจากพระราชดาริ อาเภอเชียงคาน จังหวัดเลย (โครงการประตูระบายน้า ศรีสองรักฯ) 2561-2566 (6 ปี) 2561-2570 (10 ปี) 23 (2) โครงการบรรเทาอุทกภัยเมืองนครศรีธรรมราชอันเนื่องมาจากพระราชดาริ จังหวัดนครศรีธรรมราช (โครงการบรรเทาอุทกภัยเมืองนครศรีธรรมราชฯ) (3) โครงการประตูระบายน้าบ้านก่อพร้อมระบบส่งน้าจังหวัดสกลนคร (โครงการประตูระบายน้าบ้านก่อฯ) 2562-2566 (5 ปี) 2562-2570 (9 ปี) (4) โครงการประตูระบายน้าลาน้าพุง ? น้าก่า อันเนื่องมาจากพระราชดาริ จังหวัดสกลนคร (โครงการประตูระบายน้าลาน้าพุง ? น้าก่าฯ) สาระสาคัญของเรื่อง กระทรวงเกษตรและสหกรณ์นาเสนอคณะรัฐมนตรีพิจารณาอนุมัติขยายระยะเวลาดาเนินโครงการชลประทานขนาดใหญ่ จานวน 4 โครงการ ได้แก่ (1) โครงการประตูระบายน้าศรีสองรักอันเนื่องมาจากพระราชดาริ อาเภอเชียงคาน จังหวัดเลย จากเดิม 6 ปี (ปีงบประมาณ พ.ศ. 2561-2566) เป็น 10 ปี (ปีงบประมาณ พ.ศ. 2561-2570) ภายใต้กรอบวงเงินโครงการที่ได้รับอนุมัติไว้เดิม จานวน 5,000 ล้านบาท และ (2) โครงการบรรเทาอุทกภัยเมืองนครศรีธรรมราชอันเนื่องมาจากพระราชดาริ จังหวัดนครศรีธรรมราช จากเดิม 6 ปี (ปีงบประมาณ พ.ศ. 2561-2566) เป็น 10 ปี (ปีงบประมาณ พ.ศ. 2561-2570) ภายใต้กรอบวงเงินโครงการที่ได้รับอนุมัติไว้เดิม จานวน 9,850 ล้านบาท (3) โครงการประตูระบายน้าบ้านก่อพร้อมระบบส่งน้า จังหวัดสกลนคร จากเดิม 5 ปี (ปีงบประมาณ พ.ศ. 2562-2566) เป็น 9 ปี (ปีงบประมาณ พ.ศ. 2562-2570) ภายใต้กรอบวงเงินโครงการที่ได้รับอนุมัติไว้เดิมจานวน 1,249 ล้านบาท (4) โครงการประตูระบายน้าล้าน้าพุง ? น้าก่า อันเนื่องมาจากพระราชดาริ จังหวัดสกลนคร จากเดิม 5 ปี (ปีงบประมาณ พ.ศ. 2562-2566) เป็น 9 ปี (ปีงบประมาณ พ.ศ. 2562-2570) ภายใต้กรอบวงเงินโครงการที่ได้รับอนุมัติไว้เดิม จานวน 2,100 ล้านบาท เนื่องจากการดาเนินโครงการประสบปัญหาและอุปสรรค เช่น ได้รับผลกระทบจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (Covid - 19) ส่งผลให้ผู้รับจ้างประสบปัญหาขาดแคลนวัสดุก่อสร้าง เครื่องจักร - เครื่องมือไม่เพียงพอและไม่สามารถเคลื่อนย้ายแรงงานเข้าสถานที่ก่อสร้างได้ การจัดหาที่ดินมีความล่าช้าเนื่องจากเจ้าของทรัพย์สินบางส่วนไม่ยอมรับราคาค่าทดแทนทรัพย์สินที่ภาครัฐกาหนดและไม่ยินยอมให้เข้าใช้พื้นที่ รวมทั้งมีการปรับปรุงแก้ไขแบบก่อสร้างเพิ่มเติมให้สอดคล้องกับสภาพภูมิประเทศละการใช้ประโยชน์ที่ดินเปลี่ยนแปลงไปจากเดิมและลดผลกระทบกับประชาชนในพื้นที่ เป็นต้น 15. เรื่อง การกาหนดราคาอ้อยขั้นสุดท้ายและผลตอบแทนการผลิตและจาหน่ายน้าตาลทรายขั้นสุดท้ายฤดูการผลิตปี 2566/2567 คณะรัฐมนตรีมีมติเห็นชอบการกาหนดราคาอ้อยขั้นสุดท้ายและผลตอบแทนการผลิตและจาหน่ายน้าตาลทรายขั้นสุดท้าย (ราคาอ้อยขั้นสุดท้ายฯ) ฤดูการผลิตปี 2566/2567 เป็นรายเขต 9 เขต โดยมีอัตราเฉลี่ยทั่วประเทศ ดังนี้ (1) ราคาอ้อยขั้นสุดท้าย ฤดูการผลิตปี 2566/2567 ในอัตรา 1,404.17 บาทต่อตันอ้อย ที่ระดับคุณภาพความหวาน 10 ซี.ซี.เอส. (2) อัตราขึ้น/ลงของราคาอ้อย เท่ากับ 84.25 บาทต่อ 1 หน่วย ซี.ซี.เอส. (3) ผลตอบแทนการผลิตและจาหน่ายน้าตาลทรายขั้นสุดท้าย ฤดูการผลิต ปี 2566/2567 เท่ากับ 601.79 บาทต่อตันอ้อย ตามที่กระทรวงอุตสาหกรรม (อก.) เสนอ สาระสาคัญของเรื่อง กระทรวงอุตสาหกรรม (อก.) นาเสนอคณะรัฐมนตรีพิจารณาให้ความเห็นชอบการกาหนดราคาอ้อยขั้นสุดท้ายและผลตอบแทนการผลิตและจาหน่ายน้าตาลทรายขั้นสุดท้าย (ราคาอ้อยขั้นสุดท้ายฯ) ฤดูการผลิตปี 2566/2567 เป็นรายเขต 9 เขต ซึ่งเป็นการดาเนินการหลังสิ้นสุดฤดูการผลิตน้าตาลทราย เพื่อกาหนดราคาอ้อยและ 24 ผลตอบแทนการผลิตและจาหน่ายน้าตาลทรายที่ชาวไร่อ้อยและโรงงานน้าตาลจะได้รับจริง โดยคานึงถึงหลักเกณฑ์ต่าง ๆ เช่น รายได้สุทธิจากการจาหน่ายน้าตาลทราย และต้นทุนและผลตอบแทนในการผลิตอ้อยและน้าตาลทราย เป็นต้น ซึ่งข้อเสนอในครั้งนี้มีอัตราเฉลี่ยทั่วประเทศเปรียบเทียบ กับราคาอ้อยขั้นต้นและผลตอบแทนการผลิตและจาหน่ายน้าตาลทรายขั้นต้น (ราคาอ้อยขั้นต้นฯ) ฤดูการผลิตปี 2566/2567 และราคาอ้อยขั้นสุดท้ายฯ ฤดูการผลิต ดังนี้ ราคาอ้อยและผลตอบแทนการผลิตและจาหน่ายน้าตาลทราย ฤดูการผลิต ปี 2566/2567 ราคาอ้อยขั้นต้นฯ (ทุกเขต) ราคาอ้อยขั้นสุดท้ายฯ (เฉลี่ยรายเขต) ที่เสนอมาในครั้งนี้ ราคาอ้อย ที่ระดับคุณภาพความหวาน 10 ซี.ซี.เอส (บาทต่อตันอ้อย) 1,420.00 1,404.17 อัตราขึ้น/ลง ของราคาอ้อย (บาทต่อ 1 หน่วย ซี.ซี.เอส.) 85.20 84.25 ผลตอบแทนการผลิตและจาหน่ายน้าตาลทราย (บาทต่อตันอ้อย) 608.57 601.79 ทั้งนี้ ราคาอ้อยขั้นสุดท้ายฯ ฤดูการผลิตปี 2566/2567 มีเขตคานวณราคาอ้อยที่มีราคาอ้อยขั้นสุดท้ายฯ ต่ากว่าราคาอ้อยขั้นต้นฯ จานวน 4 เขต คือ เขต 2 3 4 และ 6 ต้องดาเนินการตามมาตรา 56 ที่บัญญัติให้ในกรณีที่ราคาอ้อยขั้นสุดท้ายฯ ต่ากว่าราคาอ้อยขั้นต้นฯ ให้กองทุนอ้อยและน้าตาลทราย (กองทุนฯ) นาเงินตามมาตรา 27 (1) (2) และ (4) มาจ่ายชดเชยให้แก่โรงงานเท่ากับส่วนต่างดังกล่าวตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่คณะกรรมการอ้อยและน้าตาลทราย (กอน.) กาหนด และมีเขตคานวณราคาอ้อยที่มีราคาอ้อยขั้นสุดท้ายฯ สูงกว่าราคาอ้อยขั้นต้นฯ จานวน 4 เขต คือ เขต 1 5 7 และ 9 ที่ต้องดาเนินการตามมาตรา 57 ที่บัญญัติให้ในกรณีที่ราคาอ้อยขั้นสุดท้ายฯ สูงกว่าราคาอ้อยขั้นต้นฯ ให้โรงงานนาส่งเงินเข้ากองทุนฯ จากรายได้สุทธิตามมาตรา 54 ตามอัตราและภายในเวลาที่ กอน. กาหนด และหากมีเงินเหลือให้โรงงานจ่ายเงินให้กับชาวไร่อ้อยเพิ่มโดยคานึงถึงการจ่ายเงินให้แก่ผู้ปลูกอ้อยโดยตรง ซึ่ง กอน. ในคราวประชุมครั้งที่ 6/2567 เมื่อวันที่ 19 พฤศจิกายน 2567 มีมติให้จัดเก็บในอัตราตันละศูนย์บาททุกเขตคานวณราคาอ้อย 16. เรื่อง การช่วยเหลือโรงเรียนเอกชนที่ประสบภัยพิบัติ กรณีสถานการณ์อุทกภัยและโกดังเก็บสินค้าดอกไม้เพลิงระเบิด คณะรัฐมนตรีมีมติเห็นชอบการให้ความช่วยเหลือโรงเรียนเอกชนที่ประสบภัยพิบัติ กรณีสถานการณ์อุทกภัยและโกดังเก็บสินค้าดอกไม้เพลิงระเบิด จานวน 10 โรงเรียน วงเงิน 1.99 ล้านบาท โดยใช้งบประมาณรายจ่ายประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2567 แผนงานยุทธศาสตร์พัฒนาคุณภาพการศึกษาและการเรียนรู้ โครงการบริหารจัดการศึกษาในจังหวัดชายแดนภาคใต้ กิจกรรมส่งเสริมสนับสนุนคุณภาพการศึกษาเอกชนในจังหวัดชายแดนภาคใต้ งบเงินอุดหนุน รายการค่าใช้จ่ายในการช่วยเหลือโรงเรียนเอกชนที่ประสบภัยพิบัติ ตามที่กระทรวงศึกษาธิการ (ศธ.) เสนอ สาระสาคัญของเรื่อง 1. เนื่องจากเกิดสถานการณ์อุทกภัยในจังหวัดยะลา สงขลา และนราธิวาสช่วงเดือนตุลาคม-ธันวาคม 2565 (ปีงบประมาณ พ.ศ. 2566) และเกิดเหตุการณ์โกดังเก็บสินค้าดอกไม้เพลิงระเบิดที่ตาบลมูโนะ อาเภอสุไหงโก-ลก จังหวัดนราธิวาส เมื่อวันที่ 29 กรกฎาคม 2566 ส่งผลให้เกิดความเสียหายต่อทรัพย์สินของโรงเรียนเอกชนด้านอาคารสถานที่ การจัดการเรียนการสอน รวมทั้งมีผลกระทบต่อขวัญและกาลังใจของนักเรียน ครู ผู้สอน และบุคลากรทางการศึกษารวมจานวน 10 โรงเรียน 2. ศธ.โดยสานักงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน (สช.) พิจารณาแล้ว เห็นควรให้การช่วยเหลือเยียวยาโรงเรียนเอกชนที่ประสบภัยพิบัติดังกล่าว โดยการปรับปรุงซ่อมแซมอาคารเรียน อาคารประกอบให้เกิดความมั่นคง แข็งแรง ปลอดภัย และเพียงพอต่อการจัดการเรียนการสอน เพื่อสร้างความเชื่อมั่นให้แก่ผู้ปกครอง 25 ต่อไป ซึ่งเป็นวงเงินงบประมาณรวมจานวน 1.99 ล้านบาท และคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชนได้มีมติเมื่อวันที่ 15 สิงหาคม 2567 เห็นชอบด้วยแล้ว อย่างไรก็ตาม เนื่องจากประกาศคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการขอรับเงินอุดหนุนเพื่อช่วยเหลือโรงเรียนเอกชนที่ประสบภัยพิบัติ ข้อ 5กาหนดให้การขอรับและการจัดสรรเงินอุดหนุน เพื่อช่วยเหลือโรงเรียนเอกชนที่ประสบภัยพิบัติ ให้เสนอคณะรัฐมนตรีพิจารณาให้ความเห็นชอบก่อน ดังนั้น ศธ. จึงเสนอคณะรัฐมนตรีพิจารณาให้ความเห็นชอบการให้ความช่วยเหลือโรงเรียนเอกชน ที่ประสบภัยพิบัติดังกล่าว วงเงิน 1.99 ล้านบาท โดยจะใช้จ่ายจากงบประมาณรายจ่ายประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2567 ซึ่ง ศธ. ได้ดาเนินการตามระเบียบว่าด้วยการบริหารงบประมาณ พ.ศ. 2562 และหลักเกณฑ์ว่าด้วยการใช้งบประมาณรายจ่าย การโอนเงินจัดสรรหรือการเปลี่ยนแปลงเงินจัดสรร พ.ศ. 2562 ที่กาหนดให้มีการโอนเปลี่ยนแปลงงบประมาณภายใต้แผนงานและผลผลิตเดียวกันได้ ประกอบกับ ศธ. ได้ดาเนินการกันเงินงบประมาณวงเงินดังกล่าวไว้เบิกเหลื่อมปีแล้ว สรุปได้ ดังนี้ รายการ วงเงิน แหล่งเงินงบประมาณ รายการค่าใช้จ่ายในการช่วยเหลือโรงเรียนเอกชนที่ประสบภัยพิบัติ (จานวน 10 โรงเรียน) อุทกภัย ใช้จ่ายจากงบประมาณรายจ่ายประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2567แผนงานยุทธศาสตร์พัฒนาคุณภาพการศึกษาและการเรียนรู้ โครงการบริหารจัดการศึกษาในจังหวัดชายแดนภาคใต้ กิจกรรมส่งเสริมสนับสนุนคุณภาพการศึกษาเอกชนในจังหวัดชายแดนภาคใต้ รายการค่าใช้จ่ายในการช่วยเหลือ โรงเรียนเอกชนที่ประสบภัยพิบัติ โดยโอนเปลี่ยนเปลงมาจาก 2 รายการเดิมได้แก่ (1) รายการเงินอุดหนุนพัฒนา คุณภาพการศึกษาในพื้นที่จังหวัดชายแดนใต้ และ (2) รายการเงินอุดหนุนศูนย์การศึกษาอิสลาม ประจามัสยิด (ตาดีกา) 5 จังหวัดชายแดนภาคใต้ (1) โรงเรียนศาสนบารุง (สอลิหุดดีน) ตาบลบ้านนา อาเภอ จะนะ จังหวัดสงขลา 0.45 (2) โรงเรียนมะอาหัดอิสลามียะห์ ตาบลบาลอ อาเภอรามัน จังหวัดยะลา 0.09 (3) สถาบันศึกษาปอเนาะดารุสลาม (บ้านบือเจาะห์บุมบัง) ตาบลจะกว๊ะ อาเภอรามัน จังหวัดยะลา 0.03 (4) โรงเรียนอัชฌากีรี ตาบลกายูคละ อาเภอแว้ง จังหวัดนราธิวาส 0.06 (5) สถาบันปอเนาะแสงอรุณศาสน์ ตาบลฆอเลาะ อาเภอแว้ง จังหวัดนราธิวาส 0.14 (6) โรงเรียนอิสลามอนุศาสน์ ตาบลริโก๋ อาเภอสุไหงปาดี จังหวัดนราธิวาส 0.04 (7) โรงเรียนดารุลฟุรกอน ตาบลมูโนะ อาเภอสุโหงโก-ลก จังหวัดนราธิวาส 0.20 โกดังเก็บสินค้าดอกไม้เพลิงระเบิด (8) โรงเรียนนะห์ฏอฏลอิสลาฮียะห์ ตาบลมูโนะ อาเภอสุไหง-โกลก จังหวัดนราธิวาส 0.53 (9) โรงเรียนดารุลฮุสนา ตาบลมูโนะ อาเภอสุไหงโก-ลก จังหวัดนราธิวาส 0.37 (10) โรงเรียนดารุลฟุรกอน ตาบลมูโนะ อาเภอสุไหงโก-ลก จังหวัดนราธิวาส 0.08 รวม 1.99 หมายเหตุ : เนื่องจากมีการปรับเป็นทศนิยมสองหลัก ดังนั้น จึงส่งผลต่อการคานวณผลรวมบางรายการในตาราง 3. ศธ. ได้จัดทารายละเอียดข้อมูลประกอบการขออนุมัติต่อคณะรัฐมนตรีตามมาตรา 27 แห่งพระราชบัญญัติวินัยการเงินการคลังของรัฐ พ.ศ. 2561 เรียบร้อยแล้ว 26 17. เรื่อง มาตรการลดภาระค่าใช้จ่ายด้านไฟฟ้าให้แก่ประชาชน คณะรัฐมนตรีมีมติเห็นชอบในหลักการมาตรการลดภาระค่าใช้จ่ายด้านไฟฟ้าให้แก่ประชาชน ตามที่กระทรวงพลังงาน (พน.) เสนอ และมอบหมายให้ พน.และหน่วยงานที่เกี่ยวข้องดาเนินการตามมาตรการดังกล่าวตามอานาจและหน้าที่ โดยให้เป็นไปตามขั้นตอนของกฎหมายและระเบียบที่เกี่ยวข้องโดยเร็ว ตามที่กระทรวงพลังงาน เสนอ สาระสาคัญของเรื่อง กระทรวงพลังงานนาเสนอคณะรัฐมนตรีพิจารณาให้ความเห็นชอบในหลักการมาตรการลดภาระค่าใช้จ่ายด้านไฟฟ้าให้แก่ประชาชน ซึ่งเป็นมาตรการต่อเนื่อง จากมาตรการเดิมที่ดาเนินการมาตั้งแต่เดือนกันยายน 2567 และสิ้นสุดลง เมื่อเดือนธันวาคม 2567 [ตามมติคณะรัฐมนตรีเมื่อวันที่ 23 กรกฎาคม 2567 (เรื่อง มาตรการลดภาระค่าใช้จ่าย ด้านไฟฟ้าให้แก่ประชาชน)] เพื่อบรรเทาผลกระทบต่อภาระค่าครองชีพของประชาชน โดยเฉพาะกลุ่มเปราะบางจากสถานการณ์ราคาพลังงานที่มีแนวโน้มสูงขึ้น รวมทั้งเพื่อให้เศรษฐกิจ ของประเทศสามารถเติบโตได้ตามเป้าหมาย โดยมาตรการที่เสนอในครั้งนี้เป็นการช่วยเหลือ ค่าไฟฟ้าของกลุ่มผู้ใช้ไฟฟ้าบ้านอยู่อาศัยที่ใช้ไฟฟ้าไม่เกิน 300 หน่วยต่อเดือน ซึ่งเป็นกลุ่มเปราะบาง โดยการให้ส่วนลดค่าไฟฟ้าแก่ผู้ใช้ไฟฟ้าบ้านอยู่อาศัยในพื้นที่ของการไฟฟ้านครหลวง (กฟน.) และการไฟฟ้าส่วนภูมิภาค (กฟภ.) รวมทั้งผู้ใช้ไฟฟ้าบ้านอยู่อาศัยที่เป็นผู้ใช้ไฟฟ้ารายย่อย ของการไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย (กฟผ.) และผู้ใช้ไฟฟ้าในพื้นที่บริการของกิจการไฟฟ้าสวัสดิการสัมปทานกองทัพเรือ จานวน 16.05 สตางค์ต่อหน่วย เป็นระยะเวลา 4เดือน ตั้งแต่ค่าไฟฟ้าประจาเดือนมกราคม ? เมษายน 2568 ทั้งนี้ จากการดาเนินมาตรการดังกล่าวตลอดระยะเวลา 4 เดือน คาดว่าจะมีผู้ได้รับการช่วยเหลือรวมทั้งสิ้นประมาณ 21.30 ล้านราย และใช้งบประมาณรวมทั้งสิ้น ประมาณ 1,700 ล้านบาท (ประมาณ 425 ล้านบาทต่อเดือน) ทั้งนี้ หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ได้แก่ กระทรวงกลาโหม กระทรวงการคลัง กระทรวงมหาดไทย สานักงบประมาณ และสานักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ เห็นควรให้ความเห็นชอบมาตรการลดภาระค่าใช้จ่ายด้าน 18. เรื่อง สรุปมติการประชุมคณะกรรมการนโยบายยางธรรมชาติ ครั้งที่ 2/2567 คณะรัฐมนตรีรับทราบสรุปมติประชุมคณะกรรมการนโยบายยางธรรมชาติ (กนย.) ครั้งที่ 2/2567 เมื่อวันพฤหัสบดีที่ 14 พฤศจิกายน 2567 ตามที่กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เสนอทั้งนี้ กษ. โดยการยางแห่งประเทศไทย (กยท.) และกรมส่งเสริมสหกรณ์ จะได้ทารายละเอียดและเสนอคณะรัฐมนตรีเพื่อพิจารณาต่อไป สาระสาคัญ กนย. ในคราวประชุม ครั้งที่ 2/2567 เมื่อวันที่ 14 พฤศจิกายน 2567 ซึ่งนายกรัฐมนตรี ประธานกรรมการนโยบายยางธรรมชาติ ได้มอบหมายให้รองนายกรัฐมนตรี (นายพิชัย ชุณหวชิร) ในฐานะรองประธานกรรมการนโยบายยางธรรมชาติ เป็นประธานการประชุมได้มีมติซึ่งสรุปสาระสาคัญได้ ดังนี้ (1) เห็นชอบขยายระยะเวลาดาเนินการโครงการพัฒนาศักยภาพสถาบันเกษตรเพื่อรักษาเสถียรภาพราคายาง และโครงการสร้างมูลภัณฑ์กันชนรักษาเสถียรภาพราคายาง (โครงการสร้างมูลภัณฑ์กันชนฯ) จากเดิมวันที่ 31 ธันวาคม 2566 เป็นวันที่ 31 ธันวาคม 2568 และเห็นชอบขยายระยะเวลาชาระเงินกู้โครงการสร้างมูลภัณฑ์กันชนฯ ให้กับธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร (ธ.ก.ส.) จากเดิมวันที่ 31 ธันวาคม 2566 เป็นวันที่ 31 ธันวาคม 2568 โดยให้กระทรวงการคลังขยายระยะเวลาค้าประกันเงินกู้กับ ธ.ก.ส. ออกไปตามระยะเวลาชาระคืนเงินกู้และยกเว้นค่าธรรมเนียมในการค้าประกันเงินกู้ตามระยะเวลาการขยายระยะเวลาชาระคืนเงินกู้ให้ ธ.ก.ส. พร้อมชดเชยต้นทุนเงินในอัตรา FDR+1 (Fixed Deposit Receipt คืออัตราดอกเบี้ยเงินฝากประจา 6 เดือน ประเภทบุคคลธรรมดา เฉลี่ย 7 วัน ของธนาคารพาณิชย์ขนาดใหญ่ 4 แห่ง ใช้คานวณต้นทุนเงินที่รัฐต้องชดเชยให้ ธ.ก.ส. ) ตามมติคณะรัฐมนตรีเมื่อวันที่ 24 มกราคม 2555 ทั้งนี้ ค่าเช่าโกดัง ค่าประกันสต็อกยาง ตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม 2567 ? 31 ธันวาคม 2568 วงเงิน 51.034 ล้านบาท โดยใช้จ่ายเงินจากกองทุนพัฒนายางพาราซึ่งอยู่ภายใต้ กยท. 27 (2) เห็นชอบขยายระยะเวลาดาเนินโครงการสนับสนุนสินเชื่อเป็นเงินทุนหมุนเวียนแก่สถาบันเกษตรกรเพื่อรวบรวมยาง วงเงินสินเชื่อ 10,000 ล้านบาท ออกไปอีก 4 ปี เริ่มตั้งแต่วันที่ 1 เมษายน 2567 ถึง 31 มีนาคม 2571 โดยมีค่าใช้จ่ายดาเนินงาน จานวน 1,400 ล้านบาท (3) เห็นชอบขยายระยะเวลาดาเนินการโครงการสนับสนุนสินเชื่อสถาบันเกษตรกรแปรรูปยางพารา ภายใต้แนวทางพัฒนายางพาราทั้งระบบ วงเงินสินเชื่อ 5,000 ล้านบาท ออกไปอีก 10 ปี จากเดิมสิ้นสุดวันที่ 31 สิงหาคม 2567 เป็นตั้งแต่วันที่ 1 กันยายน 2567 ถึง 31 สิงหาคม 2577 (4) ทิศทางการพัฒนายางพาราของประเทศไทย มอบหมาย กยท. ดาเนินการศึกษาตลอดห่วงโซ่อุปทานยางพาราตั้งการผลิต การแปรรูปเพื่อเพิ่มมูลค่ายางพารา และการส่งออกไปต่างประเทศ โดยผลการศึกษาต้องมีความชัดเจนในเรื่องของทิศทางแนวโน้ม ปริมาณผลผลิตยางพาราของไทย และความต้องการใช้ยางพาราในประเทศและต่างประเทศ เงื่อนไขกฎระเบียบทางการค้าต่าง ๆ รวมถึงปริมาณการใช้ยางสังเคราะห์ซึ่งผลจากการศึกษาจะใช้ประกอบการวิเคราะห์เพื่อกาหนดทิศทางการพัฒนายางพาราของประเทศไทย ทั้งนี้ โครงการในข้อ 2.1 (1) ? (3) ที่ประชุมได้มอบหมายให้ กษ. โดย กยท. ดาเนินการจัดทารายละเอียดโครงการเพื่อนาเสนอคณะรัฐมนตรีพิจารณาต่อไป (ปัจจุบัน กษ. ได้ส่งเรื่องมายังสานักเลขาธิการคณะรัฐมนตรีเพื่อนาเสนอคณะรัฐมนตรีแล้ว) 19. เรื่อง รายงานความคืบหน้าการแก้ไขปัญหาสินค้าและธุรกิจต่างประเทศที่ฝ่าฝืนกฎหมาย คณะรัฐมนตรีมีมติรับทราบตามที่กระทรวงพาณิชย์ (พณ.) เสนอ ดังนี้ 1. การแต่งตั้งคณะกรรมการบริหารจัดการแก้ไขปัญหาสินค้าและธุรกิจต่างประเทศที่ฝ่าฝืนกฎหมาย (คณะกรรมการฯ) (ตามข้อ 2) 2. ความคืบหน้าการดาเนินการเพื่อแก้ไขปัญหาสินค้าและธุรกิจต่างประเทศที่ฝ่าฝืนกฎหมายและมอบหมายหน่วยงานภายใต้คณะกรรมการฯ ไปดาเนินการในส่วนที่เกี่ยวข้องต่อไป (ตามข้อ 3) สาระสาคัญ 1. เรื่องดังกล่าวเป็นการดาเนินตามมติคณะรัฐมนตรี (3 กันยายน 2567) รับทราบมาตรการแก้ไขปัญหาสินค้านาเข้าไม่มีคุณภาพมาตรฐานและธุรกิจจากต่างประเทศที่ฝ่าฝืนกฎหมาย จานวน 5 มาตรการหลัก ประกอบด้วย (1) ให้หน่วยงานรัฐบังคับใช้ระเบียบ/กฎหมายอย่างเข้มข้น (2) ปรับปรุงแก้ไขกฎระเบียบให้สอดคล้องกับการค้าอนาคต (3) มาตรการด้านภาษี (4) มาตรการช่วยเหลือผู้ประกอบการ SMEs ไทย และ (5) สร้าง/ต่อยอดความร่วมมือกับประเทศคู่ค้าเพิ่มขึ้น และให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องเร่งรัดดาเนินการตามมาตรการดังกล่าวตามหน้าที่และอานาจ รวมทั้งให้บังคับใช้กฎหมายที่เกี่ยวข้องอย่างเคร่งครัดต่อไป 2. ต่อมานายกรัฐมนตรีได้ลงนามในคาสั่งที่ 384/2567 เรื่อง แต่งตั้งคณะกรรมการบริหารจัดการแก้ไขปัญหาสินค้าและธุรกิจต่างประเทศที่ฝ่าฝืนกฎหมาย เมื่อวันที่ 25 ตุลาคม 2567 โดยมีองค์ประกอบ หน้าที่และอานาจ ดังนี้ 2.1 องค์ประกอบ เช่น รัฐมนตรีว่าการกระทรวงพาณิชย์ เป็นประธาน รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงพาณิชย์ (นายนภินทร ศรีสรรพางค์) เป็นรองประธาน หัวหน้าส่วนราชการที่เกี่ยวข้อง จานวน 17 หน่วยงาน เป็นกรรมการ โดยมีอธิบดีกรมการค้าต่างประเทศและอธิบดีกรมพัฒนาธุรกิจการค้า เป็นกรรมการและเลขานุการ 2.2 หน้าที่และอานาจ เช่น (1) กาหนดนโยบายและมาตรการที่จาเป็นเร่งด่วนเพื่อบูรณาการหน่วยงานในการป้องกันและปราบปรามสินค้าและธุรกิจจากต่างประเทศที่ฝ่าฝืนกฎหมาย (2) สั่งการให้ส่วนราชการ รัฐวิสาหกิจ และหน่วยงานของรัฐปฏิบัติงานภายในขอบเขตหน้าที่และอานาจตามกฎหมาย รวมทั้งขอความร่วมมือภาคเอกชน เพื่อให้ดาเนินการตามนโยบายและมาตรการเร่งด่วนที่กาหนด (3) ติดตามการดาเนินการของหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในการป้องกันและปราบปรามสินค้าและธุรกิจจากต่างประเทศที่ฝ่าฝืนกฎหมาย ให้เป็นไปอย่างรวดเร็ว มีเอกภาพ และมีประสิทธิภาพ (4) ชี้แจงและประชาสัมพันธ์ต่อประชาชนเพื่อสร้างความรู้เท่าทันและความเข้าใจที่ตรงกันในสถานการณ์ดังกล่าว และ (5) แต่งตั้งคณะอนุกรรมการ คณะทางาน หรือมอบหมายเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้องเพื่อช่วยเหลือการปฏิบัติหน้าที่ตามความจาเป็นและเหมาะสม เป็นต้น 3. คณะกรรมการฯ ในคราวประชุมครั้งที่ 1/2567 เมื่อวันที่ 30 ตุลาคม 2567 และครั้งที่ 2/2567 เมื่อวันที่ 9 ธันวาคม 2567 ได้มีมติสรุปได้ ดังนี้ 28 3.1 แต่งตั้งคณะอนุกรรมการ จานวน 2 คณะ ได้แก่ คณะอนุกรรมการส่งเสริมและยกระดับ SMEs ไทยและแก้ไขปัญหาสินค้าที่ไม่มีคุณภาพจากต่างประเทศ และคณะอนุกรรมการป้องกันและป้องปรามธุรกิจอาพรางของคนต่างด้าว (Nominee) เพื่อเร่งรัดการดาเนินงานและบูรณาการระหว่างหน่วยงานให้สาเร็จตามวัตถุประสงค์อย่างมีประสิทธิภาพเป็นรูปธรรม 3.2 เห็นชอบการกาหนดแผนการแก้ปัญหาสินค้าที่ไม่มีคุณภาพจากต่างประเทศ และแผนการส่งเสริมและยกระดับ SMEs ไทย และการกาหนดแผนการป้องกันและป้องปรามธุรกิจอาพรางของคนต่างด้าว (Nominee) ดังนี้ แผนดาเนินงาน เช่น ระยะสั้น (ภายในเดือนธันวาคม 2567) ระยะกลาง (ภายในเดือนมกราคม ? กันยายน 2568) ระยะยาว (ตั้งแต่เดือนตุลาคม 2568 เป็นต้นไป) (1) แผนการแก้ปัญหาสินค้าที่ไม่มีคุณภาพจากต่างประเทศ และแผนการส่งเสริมและยกระดับ SMEs ไทย (1.1) การแก้ไขปัญหาสินค้าที่ไม่มีคุณภาพจากต่างประเทศ (ประเภทสินค้า 3 กลุ่มหลัก ได้แก่ สินค้าเกษตร สินค้าอุปโภคบริโภค และสินค้าอุตสาหกรรม) ดาเนินการป้องกันและปราบปรามปัญหา สินค้าที่ไม่มีคุณภาพจากต่างประเทศอย่างเข้มงวด และเพิ่มมาตรการด้านภาษี เช่น - จัดเก็บภาษีมูลค่าเพิ่มร้อยละ 7จากผู้นาเข้าสินค้าที่มีมูลค่าไม่เกิน 1,500 บาท - กากับดูแลการนาเข้า โดยเพิ่มอัตราการเปิดตู้สินค้า FCL (Full Container Load) จากเดิมร้อยละ 20 เป็นร้อยละ 30 - เพิ่มความถี่ในการตรวจสอบสินค้ามาตรฐาน บังคับที่วางจาหน่ายบนแพลตฟอร์มออนไลน์ - มีมาตรการระงับและปิดกั้นเว็บไซต์ที่ละเมิดทรัพย์สินทางปัญญา เพิ่มมาตรการบังคับใช้กฎหมาย ให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น เพิ่มบุคลากร ปฏิบัติงาน เชื่อมโยงข้อมูล และพัฒนาระบบปัญญาประดิษฐ์ (AI) เช่น - ปรับปรุงประสิทธิภาพของระบบ บริหารความเสี่ยงในการคัดกรองสินค้าที่ผิดกฎหมายของกรมศุลกากร - ศึกษาการจัดตั้งห้องปฏิบัติการเพิ่มเติมเพื่อตรวจสารปนเปื้อน ณ ด่านอาหารและยา ที่มีปริมาณการนาเข้าสินค้ามาก - เพิ่มจานวนสินค้ามาตรฐานบังคับที่เหลือ 53 มาตรฐานสินค้าให้ครอบคลุม 86 ผลิตภัณฑ์ - เร่งผลักดันการแก้ไขกฎหมายที่เกี่ยวข้อง เช่น ปรับปรุงประมวลรัษฎากรให้แพลตฟอร์มขายสินค้าออนไลน์ต้องจดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่ม และร่างพระราชบัญญัติความรับผิดเพื่อความชารุดบกพร่องของสินค้า พ.ศ. ..... (Lemon Law) เพื่อคุ้มครองผู้บริโภค เป็นต้น - เสนอแนวทางการลงนามความร่วมมือ (MOU) ระหว่างหน่วยงานภาครัฐที่เกี่ยวข้องกับแพลตฟอร์ม e ? Commerce เพื่อขอความร่วมมือให้นาสินค้าไม่ได้คุณภาพ มาตรฐาน สินค้าที่ผิดกฎหมาย สินค้าไม่ติดฉลากภาษาไทย หรือสินค้าละเมิดทรัพย์สินทางปัญญาให้ออกจากแพลตฟอร์ม เพื่อปกป้องคุ้มครองผู้บริโภคไม่ให้เข้าถึงสินค้าที่ไม่ได้คุณภาพมาตรฐาน หน่วยงานที่รับผิดชอบ เช่น กรมศุลกากร สานักงานคณะกรรมการอาหารและยา สานักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม สานักงานคณะกรรมการคุ้มครองผู้บริโภค กรมทรัพย์สินทางปัญญา สานักงานพัฒนาธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ สานักงานตารวจแห่งชาติ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ กรมการค้าต่างประเทศ และกระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ (1.2) การส่งเสริมและยกระดับ SMEs ไทย - มีเป้าหมายเพื่อเพิ่มสัดส่วน SMEs ต่อผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศ (Gross Domestic Product : GDP) ให้เป็นร้อยละ 36 - มีเป้าหมายเพื่อเพิ่มสัดส่วน SMEs ต่อ GDP ให้เป็นร้อยละ 37 - มีเป้าหมายเพื่อเพิ่มสัดส่วน SMEs ต่อ GDP ให้เป็นร้อยละ 40 29 (1.2.1) มาตรการช่วยเหลือ SMEs ไทย ได้แก่ การส่งเสริมพัฒนา SMEs การสร้างและพัฒนาผู้ให้บริการดิจิทัลไทยและการศึกษาและกาหนดกลุ่มอุตสาหกรรมเป้าหมายที่ต้องการได้รับการพัฒนาอย่างเร่งด่วน - บริหารจัดการศูนย์ให้คาปรึกษา ด้านทรัพย์สินทางปัญญาและบริการจดทะเบียนสินค้าทางปัญญาแบบเร่งด่วน - ส่งเสริมการตลาดผู้ประกอบการโครงการหนึ่งตาบล หนึ่งผลิตภัณฑ์ (OTOP) - ส่งเสริมผู้ประกอบการไทยผ่านกิจกรรมเชื่อมโยงผู้ประกอบการ มาตรการส่งเสริม SMEs และมาตรการ Smart & Sustainability รวมถึงสนับสนุนงบประมาณค่าใช้จ่ายเพื่อพัฒนา SMEs - ขึ้นทะเบียน GI 20 สินค้า สร้างมูลค่าทางการตลาดเพิ่มขึ้น 5,400 ล้านบาท และผลักดันสินค้า GI เป็นวัตถุดิบในอุตสาหกรรม - พัฒนาศักยภาพผู้ประกอบการ OTOP และพัฒนาผลิตภัณฑ์ OTOP - พิจารณาออกมาตรการส่งเสริมการใช้วัตถุดิบในประเทศ (อยู่ระหว่างกระบวนการ) - จัดงานมหกรรม Thailand e ? Commerce Expo 2025 - สร้างมูลค่าเพิ่มสินค้า GI ผ่านการขึ้นทะเบียนจัดทาระบบควบคุมคุณภาพและขยายช่องทางการตลาด - พัฒนาผลิตภัณฑ์ OTOP และส่งเสริมการตลาด - พัฒนาระบบการจดทะเบียนพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ (DBD Registered) - เก็บข้อมูลผลสัมฤทธิ์จากการใช้นโยบายส่งเสริมการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีของ SMEs ผ่านมาตรการทางภาษี เพื่อพัฒนาข้อเสนอแนะเชิงนโยบาย - ส่งเสริม AI Transformation ด้วยเทคโนโลยี AI สัญชาติไทยในบัญชีบริการดิจิทัล (1.2.2) มาตรการสร้างและต่อยอดความร่วมมือกับประเทศคู่ค้าเพิ่มขึ้น ได้แก่ การขยายความร่วมมือด้วยแพลตฟอร์ม e ? Commerce กับต่างชาติ การผลักดันสินค้าไทยบนแพลตฟอร์มต่างประเทศ ผู้ประกอบการไทยและต่างชาติลงทุนร่วมกัน - ขยายความร่วมมือกับแพลตฟอร์ม e ? Commerce สาหรับตลาดสหรัฐเอมิเรตส์ (UAE) - สนับสนุนให้สตาร์ทอัพและ SMEs ขยายการดาเนินงานและสร้างตลาดในประเทศ รวมถึงสนับสนุนการลงทุนร่วมกับต่างชาติ - ขยายความร่วมมือกับแพลตฟอร์ม e ? Commerce สาหรับตลาดจีน - วางแผนออกนิทรรศการในต่างประเทศและวางแผนดาเนินกิจกรรมเจรจาธุรกิจการค้า - กิจกรรม Cross ? Border e ? Commerce ขายออนไลน์สู่ตลาดโลก - ขยายความร่วมมือกับแพลตฟอร์ม e ? Commerce ชั้นนาทั่วโลก - ดาเนินกิจกรรมเจรจาธุรกิจการค้าออนไลน์อย่างต่อเนื่อง - ส่งเสริมการขายสินค้าบนแพลตฟอร์ม e ? Commerce ชั้นนาในตลาดต่างประเทศ ดาเนินการตามกลยุทธ์ Groom (บ่มเพาะผู้ประกอบการ) ? Grant (สนับสนุนทุน) ? Growth (เร่งการเติบโตของธุรกิจผ่านโครงการด้านเทคโนโลยี) ? Global (ส่งเสริมนวัตกรรมสู้ตลาดต่างประเทศ) หน่วยงานที่รับผิดชอบ เช่น กรมพัฒนาธุรกิจการค้า กรมทรัพย์สินทางปัญญา กรมการค้าต่างประเทศ กรมการค้าภายใน กรมเจรจาการค้าระหว่างประเทศ สถาบันวิจัยและพัฒนาอัญมณีและเครื่องประดับแห่งชาติ (องค์การมหาชน) สถาบันระหว่างประเทศเพื่อการค้าและการค้าพัฒนา (องค์การมหาชน) สานักงานนวัตกรรมแห่งชาติ สานักงานส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัล กระทรวงมหาดไทย สานักงานคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน และสานักงานส่งเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม (2) กาหนดแผนการป้องกันและป้องปรามธุรกิจอาพรางของคนต่างด้าว (Nominee) - สืบสวนและตรวจสอบพฤติกรรมผู้ประกอบธุรกิจโดยใช้คนไทยเป็นตัวแทนอาพราง - ลงพื้นที่ตรวจสอบและแถลงข่าวการดาเนินคดี สาคัญเพื่อสร้างการรับรู้และจับกุมผู้กระทาความผิด - บังคับใช้กฎหมายอย่างเข้มงวด โดยการตรวจสอบ สอบสวนเพื่อดาเนินคดีกับผู้กระทาความผิดอย่างเคร่งครัด - พัฒนาระบบวิเคราะห์แนวโน้มพฤติกรรมของนิติบุคคล (IBAS) - กาหนดความผิดทางกฎหมายว่าด้วยการประกอบธุรกิจของคนต่างด้าวเป็นความผิดมูลฐานภายใต้กฎหมายของสานักงานป้องกันและปราบปรามการฟอกเงิน (สานักงาน ปปง.) 30 ทั้งนี้ ระหว่างวันที่ 1 กันยายน ? 4 ธันวาคม 2567 มีการดาเนินคดีกับผู้กระทาความผิดเกี่ยวกับธุรกิจอาพรางของคนต่างด้าว รวมทั้งสิ้น 747 ราย คิดเป็นมูลค่าความเสียหาย ประมาณ 11,720 ล้านบาท - ตั้งศูนย์ปฏิบัติการรับเรื่องร้องเรียนความผิดเกี่ยวกับธุรกิจแพรางของคนต่างด้าว - มีมาตรการตรวจสอบภาษีย้อนหลังมาบังคับใช้กับกลุ่มเป้าหมายที่กระทาความผิด จากฐานข้อมูลของกรมพัฒนาธุรกิจการค้าและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเพื่อนาเทคโนโลยีมาช่วยในการป้องกันและปราบปรามธุรกิจอาพรางของคนต่างด้าว - จัดทาร่างแนวทางการดาเนินงานของหน่วยงานต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องโดยได้ ดาเนินการร่างพระราชบัญญัติป้องกันและปราบปรามการฟอกเงิน (ฉบับที่ ..) พ.ศ. .... โดยปัจจุบันอยู่ในขั้นตอนการรับฟังความเห็นจากหน่วยงานภายในของสานักงาน ปปง. หน่วยงานที่รับผิดชอบ เช่น กรมพัฒนาธุรกิจการค้า กรมสอบสวนคดีพิเศษ (DSI) กองบัญชาการตารวจสอบสวนกลาง กองบัญชาการตารวจท่องเที่ยว สานักงานตรวจคนเข้าเมือง สานักงาน ปปง. กรมการจัดหางาน กรมการท่องเที่ยว กรมที่ดิน และกรมสรรพากร ต่างประเทศ 20. เรื่อง การจัดทาความตกลงระหว่างรัฐบาลแห่งราชอาณาจักรไทยกับรัฐบาลแห่งสาธารณรัฐสโลวีเนียว่าด้วยการยกเว้นการตรวจลงตราสาหรับการพานักระยะสั้นสาหรับผู้ถือหนังสือเดินทางทูตและราชการ คณะรัฐมนตรีมีมติเห็นชอบต่อร่างความตกลงระหว่างรัฐบาลแห่งราชอาณาจักรไทยกับรัฐบาลแห่งสาธารณรัฐสโลวีเนีย (สโลวีเนีย) ว่าด้วยการยกเว้นการตรวจลงตราสาหรับการพานักระยะสั้นสาหรับผู้ถือหนังสือเดินทางทูตและราชการ (ร่างความตกลงฯ) โดยหากมีความจาเป็นต้องแก้ไขปรับปรุงถ้อยคาของร่างความตกลงฯ ที่ไม่ใช่สาระสาคัญและไม่ขัดกับหลักการที่คณะรัฐมนตรีได้ให้ความเห็นชอบไว้ ให้ กต. พิจารณาและดาเนินการได้โดยไม่ต้องขอความเห็นชอบจากคณะรัฐมนตรี รวมทั้ง ให้รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ หรือผู้แทน เป็นผู้ลงนามความตกลงฯ ทั้งนี้ ในกรณีมอบหมายผู้แทน คณะรัฐมนตรีเห็นชอบให้ กต. จัดทาหนังสือมอบอานาจเต็ม (Full Powers) ให้แก่ผู้ลงนามดังกล่าว ตามที่กระทรวงการต่างประเทศ (กต.) เสนอ สาระสาคัญของเรื่อง เรื่องนี้กระทรวงการต่างประเทศ (กต.) เสนอคณะรัฐมนตรีพิจารณาให้ความเห็นชอบการจัดทาความตกลงระหว่างรัฐบาลแห่งราชอาณาจักรไทย กับรัฐบาลแห่งสาธารณรัฐสโลวีเนีย (สโลวีเนีย) ว่าด้วยการยกเว้นการตรวจลงตราสาหรับผู้ถือหนังสือเดินทางทูตและหนังสือเดินทางราชการ (ความตกลงฯ) โดยร่างความตกลงฯ มีสาระสาคัญเป็นการยกเว้นการตรวจลงตราสาหรับผู้ถือหนังสือเดินทางทูตและหนังสือเดินทางราชการระหว่างประเทศไทยและสโลวีเนียสาหรับการเดินทางเข้า ออก แวะผ่าน และพานักในดินแดนของภาคีอีกฝ่าย เป็นระยะเวลาไม่เกิน 90 วัน ในช่วงเวลา 180 วัน นับจากวันที่เดินทางเข้าโดยมีเงื่อนไขว่าบุคคลนั้นต้องไม่รับการจ้างงานใด ๆ ในดินแดนของภาคีอีกฝ่าย ทั้งนี้ ความตกลงจะคงใช้บังคับโดยไม่มีกาหนดระยะเวลาสิ้นสุด และอาจระงับการบังคับใช้ความตกลงนี้ด้วยเหตุผลด้านความมั่นคงแห่งชาติ ความสงบเรียบร้อยของสาธารณะหรือสาธารณสุขโดยต้องแจ้งภาคีอีกฝ่ายให้ทราบเกี่ยวกับการระงับและการเพิกถอนการระงับเป็นลายลักษณ์อักษร ผ่านช่องทางทางการทูตในทันที แต่ไม่เกิน 72 ชั่วโมง ซึ่งสานักข่าวกรองแห่งชาติพิจารณาแล้วไม่ขัดข้องต่อร่างความตกลงฯ ดังกล่าว 21. เรื่อง ขอความเห็นชอบท่าทีไทยสาหรับการประชุมกรอบความร่วมมือเพื่อเสริมสร้างความสัมพันธ์ทางเศรษฐกิจระหว่างไทยและสิงคโปร์ (STEER) ครั้งที่ 7 31 คณะรัฐมนตรีมีมติเห็นชอบท่าทีไทยสาหรับการประชุมกรอบความร่วมมือเพื่อเสริมสร้างความสัมพันธ์ทางเศรษฐกิจระหว่างไทยและสิงคโปร์ (Singapore - Thailand Enhanced Economic Relationship : STEER) (การประชุม STEER) ครั้งที่ 7 ระดับรัฐมนตรี ทั้งนี้ หากจะมีความร่วมมือด้านเศรษฐกิจ การค้าและการลงทุน ในประเด็นอื่น ๆ อันเป็นผลประโยชน์ต่อการส่งเสริมความสัมพันธ์ทางเศรษฐกิจการค้า และการลงทุน ระหว่างไทยกับสิงคโปร์ให้ผู้แทนไทยสามารถดาเนินการได้โดยไม่ต้องนาเสนอคณะรัฐมนตรีอีกครั้ง ตามที่กระทรวงพาณิชย์ (พณ.) เสนอ (การประชุม STEER ครั้งที่ 7 มีกาหนดจัดประชุมในวันที่ 14 มีนาคม 2568 ณ สิงคโปร์) สาระสาคัญ การประชุม STEER เป็นกลไกการประชุมระดับรัฐมนตรีการค้าที่จัดตั้งขึ้นภายใต้เอกสารกรอบแนวคิดการประชุม STEER ซึ่งจะมีการหารือประเด็นเชิงนโยบาย ด้านความสัมพันธ์ทางเศรษฐกิจ การค้า และการลงทุน รวมถึงการดาเนินความร่วมมือทางเศรษฐกิจ ที่ทั้งสองฝ่ายมีศักยภาพร่วมกันหรือเอื้อประโยชน์ระหว่างกัน โดยในการประชุม STEER ครั้งที่ 7 จะมีรัฐมนตรีว่าการกระทรวงพาณิชย์ของไทย และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงแรงงาน และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการค้าและอุตสาหกรรมคนที่สองของสิงคโปร์ (H.E. Dr. Tan See Leng) เป็นประธานร่วม 22. เรื่อง ร่างแถลงการณ์แสดงเจตจานงร่วมในการจัดตั้งเวทีหารือด้านพลังงาน ระหว่างกระทรวงพลังงานแห่งราชอาณาจักรไทย และกระทรวงเศรษฐกิจและการดาเนินการด้านสภาพภูมิอากาศแห่งสหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมนี คณะรัฐมนตรีมีมติเห็นชอบและอนุมัติตามที่กระทรวงพลังงาน (พน.) เสนอ ดังนี้ 1. เห็นชอบต่อร่างแถลงการณ์แสดงเจตจานงร่วมในการจัดตั้งเวทีหารือด้านพลังงาน ระหว่าง พน. แห่งราชอาณาจักรไทยและกระทรวงเศรษฐกิจและการดาเนินการด้านสภาพภูมิอากาศแห่งสหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมนี (Joint Declaration of Intent on the Establishment of an Energy Dialogue between the Ministry of Energy of the Kingdom of Thailand and the Federal Ministry for Economic Affairs and Climate Action of the Federal Republic of Germany:JDol) (ร่างแถลงการณ์ฯ) ทั้งนี้ หากมีความจาเป็นต้องแก้ไขปรับปรุงร่างแถลงการณ์ฯ ในส่วนที่มีใช่สาระสาคัญหรือไม่ขัดต่อผลประโยชน์ของประเทศไทยและไม่ขัดกับหลักการที่คณะรัฐมนตรีได้ให้ความเห็นชอบไว้ให้ พน. นาเสนอคณะรัฐมนตรีทราบภายหลังโดยไม่ต้องนาเสนอคณะรัฐมนตรีพิจารณาอีกครั้ง 2. อนุมัติให้รัฐมนตรีว่าการกระทรวงพลังงาน หรือผู้ที่ได้รับมอบหมายเป็นผู้ลงนามในแถลงการณ์ฯ สาระสาคัญ 1. กระทรวงเศรษฐกิจและการดาเนินการด้านสภาพภูมิอากาศแห่งสหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมนีได้มีการดาเนินความร่วมมือทวิภาคีด้านพลังงานร่วมกับ พน.อย่างต่อเนื่อง โดยได้มีการดาเนินกิจกรรม/โครงการความร่วมมือด้านพลังงานภายใต้แผนงาน Thailand and Germany Energy Dialogue ร่วมกันตั้งแต่ปี 2566 2. การประชุม Berlin Energy Transition Dialogue 2025 มีกาหนดจัดขึ้นระหว่างวันที่ 18 - 19 มีนาคม 2568 ณ กรุงเบอร์ลิน เยอรมนี โดยรัฐมนตรีว่าการกระทรวงพลังงานได้มอบหมายให้ที่ปรึกษา รัฐมนตรีว่าการกระทรวงพลังงาน (นายเสมอใจ ศุขสุเมฆ) เข้าร่วมการประชุมฯ ซึ่งในการประชุมดังกล่าว ฝ่ายเยอรมนีประสงค์ให้มีการลงนามในร่างแถลงการณ์ฯ เพื่อจัดตั้งเวทีหารือด้านพลังงาน (Energy Dialogue) ระหว่างกัน โดยร่างแถลงการณ์ร่วมฯ มีวัตถุประสงค์เพื่อเสริมสร้างเวทีหารือด้านการเปลี่ยนผ่านด้านพลังงานเพื่อนาไปสู่ความเป็นกลางทางสภาพภูมิอากาศ ภายใต้หลักการผลประโยชน์ร่วมความเท่าเทียม และการต่างตอบแทน เพื่อลดการปล่อยคาร์บอนจากภาคการผลิตพลังงานและภาคอุตสาหกรรม สนับสนุนความร่วมมือระหว่างภาคธุรกิจ กับภาคธุรกิจ และเสริมสร้างความมั่นคงด้านพลังงานจากแหล่งพลังงานหมุนเวียน โดยสาขาที่จะร่วมมือ ประกอบด้วย (1) นโยบายในภาพรวมเกี่ยวกับพลังงานและการเปลี่ยนผ่านด้านพลังงาน (2) ประสิทธิภาพการใช้พลังงานและการอนุรักษ์พลังงาน (3) การเปลี่ยนผ่านจากเชื้อเพลิงฟอสซิล (อาทิ ความยืดหยุ่นของโครงสร้างพื้นฐาน ด้านพลังงาน การลดการพึ่งพาการจัดหาก๊าซธรรมชาติจากต่างประเทศ) (4) การสนับสนุนการลดการปล่อยคาร์บอนในอุตสาหกรรมที่ลดได้ยากและในภาคส่วนอื่น ๆ โดยการใช้ไฮโดรเจนสีเขียว และสารอนุพันธ์อื่น ๆของไฮโดรเจน (เช่น แอมโมเนีย) เป็นต้น (5) การมีส่วนร่วมของภาคเอกชน ทั้งในส่วนของภาคธุรกิจกับภาคธุรกิจและภาครัฐกับภาคธุรกิจ (6) ภาคประชาสังคมและ 32 ความเท่าเทียมกันทางเพศในบริบทของการเปลี่ยนผ่านด้านพลังงาน โดยส่งเสริมให้มีบุคลากรเพศหญิงมากขึ้นในภาคพลังงาน และ (7) ความร่วมมืออื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องกับภาคพลังงานที่ได้มีการตัดสินใจร่วมกันของคู่ภาคี ทั้งนี้ พน. แจ้งว่า การลงนามในร่างแถลงการณ์ฯ จะช่วยให้สามารถดาเนินกิจกรรม/โครงการความร่วมมือด้านพลังงานระหว่างสองประเทศอย่างเป็นรูปธรรม อันจะเป็นประโยชน์ต่อการพัฒนาองค์ความรู้และพัฒนาศักยภาพบุคลากรด้านพลังงานให้สามารถขับเคลื่อนเป้าหมายในการลดการปล่อยคาร์บอนจากภาคพลังงาน และการเปลี่ยนผ่าน ด้านพลังงานของไทยได้อย่างมีประสิทธิภาพต่อไป 23. เรื่อง ผลการประชุมระดับสูงในห้วงสัปดาห์การประชุมผู้นาเขตเศรษฐกิจเอเปค ประจาปี 2567 คณะรัฐมนตรีรับทราบผลการประชุมระดับสูงในห้วงสัปดาห์ผู้นาเขตเศรษฐกิจเอเปค ประจาปี 2567 และมอบหมายหน่วยงานที่เกี่ยวข้องนาผลการประชุมไปปฏิบัติ และติดตามความคืบหน้า ตามตารางติดตามผลการประชุมรัฐมนตรีเอเปคและการประชุมผู้นาเขตเศรษฐกิจเอเปค ประจาปี 2567 (การประชุมรัฐมนตรีเอเปคฯ) ตามที่กระทรวงการต่างประเทศ (กต.) เสนอ สาระสาคัญของเรื่อง 1. สาธารณรัฐเปรูเจ้าภาพเอเปคปี 2567 จัดสัปดาห์การประชุมผู้นาเขตเศรษฐกิจเอเปค ระหว่างวันที่ 10 - 16 พฤศจิกายน 2567 มีหัวข้อหลักคือ ?เสริมสร้างพลังการมีส่วนร่วม และการเติบโตที่ยั่งยืน? โดยผลักดันประเด็นสาคัญ 3 ด้าน ได้แก่ (1) การค้าและการลงทุน เน้นการเปิดเสรีทางการค้า รวมถึงขับเคลื่อนวาระเขตการค้าเสรีเอเชีย - แปซิฟิกด้วยมุมมองใหม่ (2) การส่งสริมนวัตกรรมและดิจิทัล เพื่อนาแรงงานนอกระบบเข้าสู่ระบบเศรษฐกิจ (3) การเติบโตอย่างยั่งยืน เน้นการผลิตพลังงานจากไฮโดรเจนคาร์บอนต่าและการป้องกันและ ลดการสูญเสียอาหารและขยะอาหาร ซึ่งประกอบด้วยการประชุมและกิจกรรมสาคัญ เช่น (1) การประชุมผู้นาเขตเศรษฐกิจเอเปค ครั้งที่ 31 (2) การหารืออย่างไม่เป็นทางการระหว่างผู้นาเขตเศรษฐกิจเอเปคกับแขกพิเศษของประธาน (3) การประชุมสุดยอดผู้นาภาคเอกชนของเอเปค (4) การหารือระหว่างผู้นาเขตเศรษฐกิจเอเปคกับสภาที่ปรึกษาธุรกิจเอเปค เป็นต้น 2. นายกรัฐมนตรีเป็นหัวหน้าคณะผู้แทนไทยเข้าร่วมการประชุมรัฐมนตรีเอเปคฯ โดยในห้วงสัปดาห์การประชุมดังกล่าวได้มีการรับรองเอกสารผลลัพธ์ จานวน 4 ฉบับ ซึ่งคณะรัฐมนตรีได้มีมติ (12 พฤศจิกายน 2567) เห็นชอบไว้ โดยมีการปรับแก้ถ้อยคาให้มีความครอบคลุมมากยิ่งขึ้น เช่น การส่งเสริมความร่วมมือ เพื่อใช้ประโยชน์และรับมือกับความท้าทายจากปัญญาประดิษฐ์ การส่งเสริมความเท่าเทียมทางเพศ การลดการอุดหนุนเชื้อเพลิงฟอสซิลที่ไร้ประสิทธิภาพ การต่อต้านการคอร์รัปชันและการส่งเสริมการใช้บัตรเดินทางสาหรับนักธุรกิจเอเปคให้มีความครอบคลุมยิ่งขึ้น ซึ่งล้วนเป็นประเด็นที่ไทยให้ความสาคัญ และสอดคล้องกับนโยบายและการดาเนินการโดยรวมของไทยในปัจจุบัน และจะเป็นประโยชน์ในการสร้างพื้นฐานสาหรับความร่วมมือในประเด็นเหล่านี้กับเขตเศรษฐกิจเอเปคในอนาคต ซึ่ง กต. แจ้งว่า ไม่ขัดกับผลประโยชน์ของไทยและเป็นไปตามหลักการที่คณะรัฐมนตรีได้ให้ความเห็นชอบไว้ เอกสาร สาระสาคัญ 1) ถ้อยแถลงร่วมรัฐมนตรีเอเปค ประจาปี 2567 (1) การเสริมสร้างพลังโดยผลักดันการเปลี่ยนผ่านสู่เศรษฐกิจในระบบและเศรษฐกิจโลกผ่านการใช้ประโยชน์จากเทคโนโลยีดิจิทัล (2) การมีส่วนร่วมของคนทุกกลุ่ม โดยเฉพาะกลุ่มเปราะบาง และ MSMEs ทั้งในด้านการค้า การเข้าถึงบริการทางการเงิน การศึกษา และระบบสาธารณสุข รวมทั้งจัดการกับผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ (3) การเติบโตที่ยั่งยืน โดยเน้นการกาหนดนโยบายด้านการค้าและการลงทุนที่คานึงถึงความครอบคลุมและยั่งยืน การส่งเสริมความเชื่อมโยงในทุกมิติ การปฏิรูปโครงสร้างและความร่วมมือเพื่อป้องกันและการลดการสูญเสียอาหารและขยะอาหาร การเปลี่ยนผ่านไปสู่พลังงานสะอาด ยั่งยืน และเป็นธรรม (4) การเสริมสร้างความเข้มแข็งให้เอเปค ในฐานะเวทีความร่วมมือทางเศรษฐกิจ ที่สาคัญและมีประสิทธิภาพในภูมิภาคเอเชีย - แปซิฟิก และยืนยันหลักการสมัครใจไม่มีข้อผูกมัด และการสร้างฉันทามติร่วมกัน 33 2) ปฏิญญามาชูปิกชูของผู้นาเขตเศรษฐกิจเอเปค (1) การบูรณาการทางเศรษฐกิจที่กว้างขวางและครอบคลุมมากขึ้น โดยส่งเสริมการค้าและการลงทุนที่เสรี เปิดกว้าง เป็นธรรม ไม่เลือกปฏิบัติ โปร่งใส ครอบคลุม และคาดการณ์ได้ เสริมสร้างความเข้มแข็งให้แก่องค์การการค้าโลก และสนับสนุน มุมมองใหม่เพื่อขับเคลื่อนเขตการค้าเสรีระหว่างประเทศสมาชิกเอเปค (Free Trade Area of the Asia Pacific: FTAAP) (2) การใช้ประโยชน์จากเทคโนโลยีดิจิทัลและนวัตกรรมในการผลักดันการเปลี่ยน ผ่านสู่ระบบเศรษฐกิจในระบบและเศรษฐกิจโลก และสร้างโอกาสให้แก่คนทุกกลุ่ม รวมถึงการส่งเสริมขีดความสามารถของ MSMEs ในห่วงโซ่อุปทานโลก (3) การขับเคลื่อนวาระด้านความยั่งยืนของเอเปค โดยเฉพาะการส่งเสริมระบบเกษตรและอาหารที่ยั่งยืน ครอบคลุม และมีความยืดหยุ่น รวมทั้งการส่งเสริม การใช้พลังงานหมุนเวียน และเทคโนโลยีที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมอื่น ๆ เพื่อรับมือกับความท้าทายที่เป็นผลจากการเปลี่ยนแปลงทางสภาพภูมิอากาศ 3) ถ้อยแถลงอิชมาว่าด้วยมุมมองใหม่ในการขับเคลื่อนเขตการค้าเสรี เอเชีย ? แปซิฟิก เป็นเอกสารที่แสดงความมุ่งมั่นในการขับเคลื่อนวาระการจัดตั้ง FTAAP ในการรับมือกับความท้าทายในปัจจุบันที่กระทบต่อการค้าและการลงทุน โดยเน้น ความร่วมมือในประเด็นใหม่ ๆ เช่น การใช้ประโยชน์จากดิจิทัล ความยั่งยืน ความครอบคลุม ความยืดหยุ่นของห่วงโซ่อุปทาน เป็นต้น 4) แผนงานลิมาเพื่อส่งเสริมการเปลี่ยนผ่านไปสู่เศรษฐกิจในระบบและเศรษฐกิจโลกของเอเปค เป็นเอกสารที่ระบุแนวทางการเปลี่ยนผ่านไปสู่เศรษฐกิจในระบบและเศรษฐกิจโลก อย่างยั่งยืน โดยเน้นการใช้ประโยชน์จากนวัตกรรมและดิจิทัล เพื่อส่งเสริมการมีส่วนร่วมทางเศรษฐกิจที่ครอบคลุม ซึ่งกาหนดให้มีการทบทวนความคืบหน้าการดาเนินการ ภายใต้แผนงานดังกล่าว ภายในปี 2583 3. บทบาทของไทย: นายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรีเอเปคของไทยได้ใช้โอกาสการประชุมและกิจกรรมต่าง ๆ แสดงวิสัยทัศน์และย้าความพร้อมของไทยในการมีส่วนร่วมสาคัญในเวทีพหุภาคี เพื่อสร้างความเชื่อมั่นให้แก่ภาครัฐและภาคเอกชน ในเขตเศรษฐกิจสมาชิกเอเปค โดยไทยกาลังดาเนินนโยบายสาคัญ เพื่อเร่งการเติบโตและเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขัน ได้แก่ (1) การค้าการลงทุน ย้าความมุ่งมั่นต่อการขับเคลื่อน วาระการจัดตั้ง FTAAP พร้อมนาเสนอนโยบายเชิงรุกของไทยเกี่ยวกับความตกลงการค้าเสรี (2) ความครอบคลุมและความเท่าเทียม เน้นการลดความเหลื่อมล้า สร้างเสริมศักยภาพให้แก่กลุ่มเปราะบาง โดยนาเสนอนโยบายของไทยเรื่องการยกระดับระบบประกันสุขภาพถ้วนหน้าและการจัดการกับสังคมสูงอายุ (3) เศรษฐกิจดิจิทัล ส่งเสริมการค้าดิจิทัล การใช้ประโยชน์จากนวัตกรรมรวมถึงปัญญาประดิษฐ์ (4) ความยั่งยืน ย้าความมุ่งมั่นของไทยต่อเป้าหมาย การปล่อยคาร์บอนสุทธิเป็นศูนย์ภายในปี ค.ศ. 2065 ส่งเสริมการทาเกษตรอัจฉริยะและสถาปัตยกรรมทางการเงินที่สมดุลและยืดหยุ่น 4. ประโยชน์ที่ได้รับ 4.1 ไทยได้มีส่วนร่วมสาคัญในการกาหนดนโยบาย ทิศทางการดาเนินงาน และการพัฒนาเอเปคเพื่อผลักดันการบูรณาการทางเศรษฐกิจในภูมิภาคผ่านการส่งเสริมการค้าการลงทุนและความร่วมมือด้านเศรษฐกิจดิจิทัล ซึ่งช่วยเสริมสร้างภาพลักษณ์ที่ดีและบทบาทนาของไทยในการขับเคลื่อนประเด็นสาคัญของภูมิภาคและของโลกผ่านเวทีเอเปค 4.2 ไทยได้ร่วมรับรองเอกสารผลลัพธ์ทั้ง 4 ฉบับ โดยฉันทามติสะท้อนบทบาทที่สร้างสรรค์และความพร้อมที่จะร่วมมือกับเขตเศรษฐกิจเอเปค ในการขับเคลื่อนประเด็นที่เป็นความสนใจและเป็นผลประโยชน์ร่วมกัน ซึ่งล้วนเป็นประเด็นที่ไทยให้ความสาคัญ และสอดคล้องกับนโยบายและการดาเนินการโดยรวมของไทยในปัจจุบันและจะเป็นประโยชน์ในการสร้างพื้นฐานสาหรับความร่วมมือในประเด็นเหล่านี้กับ เขตเศรษฐกิจเอเปคในอนาคตต่อไป 24. เรื่อง ผลการประชุมผู้นายุทธศาสตร์ความร่วมมือทางเศรษฐกิจอิรวดี ? เจ้าพระยา ? แม่โขง ครั้งที่ 10 34 คณะรัฐมนตรีรับทราบผลการประชุมผู้นายุทธศาสตร์ความร่วมมือทางเศรษฐกิจอิรวดี ? เจ้าพระยา ? แม่โขง ครั้งที่ 10 (Ayeyawady ? Chao Phraya ? Mekong Economic Cooperation Strategy : ACMECS) (การประชุมผู้นา ACMECS ครั้งที่ 10) และพิจารณามอบหมายส่วนราชการดาเนินการในส่วนที่เกี่ยวข้องตามตารางติดตามผลการประชุมผู้นา ACMECS ครั้งที่ 10 ตามที่กระทรวงการต่างประเทศ (กต.) เสนอ โดยให้ กต. และหน่วยงานที่เกี่ยวข้องรับความเห็นของ สศช. และ สทนช. ไปพิจารณาดาเนินการในส่วนที่เกี่ยวข้องต่อไปด้วย สาระสาคัญของเรื่อง 1 นายกรัฐมนตรีเป็นหัวหน้าคณะผู้แทนไทยเข้าร่วมการประชุม ACMECS ครั้งที่ 10 ซึ่ง สปป. ลาว จัดขึ้นภายใต้หัวข้อ ?มุ่งสู่ความเชื่อมโยงแบบไร้รอยต่อเพื่อการรวมตัวของอนุภูมิภาคลุ่มน้าโขง? (Towards Seamless Connectivity for Mekong Sub-regional Integration) เมื่อวันที่ 17 พฤศจิกายน 2567 ณ นครคุณหมิง มณฑลยูนนาน สาธารณรัฐประชาชนจีน (จีน) โดยมีสาระสาคัญ ดังนี้ 1.1 ที่ประชุมฯ ได้รับรองร่างปฏิญญาเวียงจันทร์ฯ โดยมี สาระสาคัญ เช่น 1) ความคืบหน้าในการดาเนินการภายใต้กรอบความร่วมมือ ACMECS เพื่อให้บรรลุวิสัยทัศน์ ?การลดช่องว่างทางเศรษฐกิจและการส่งเสริมความเจริญรุ่งเรืองในภูมิภาคอย่างยั่งยืน? โดยตระหนักดีว่า ภูมิภาคนี้กาลังเผชิญความท้าทายหลายมิติ จึงเน้นย้าที่จะส่งเสริมการพัฒนาที่สมดุลครอบคลุม และยั่งยืน 2) รับทราบการขยายระยะเวลาดาเนินการของแผนแม่บท ACMECS ฉบับปรับปรุง (ค.ศ. 2019 ? 2023) (แผนแม่บทฯ) ออกไปก่อน พร้อมกับขอให้ประเทศสมาชิกทบทวนและประเมินผลการดาเนินการตามแผนแม่บทฯ พร้อมกับเตรียมการจัดทาร่างแผนแม่บทฯ ฉบับใหม่ 3) เน้นย้าถึงความสาคัญของการจัดตั้งทุนเพื่อการพัฒนา ACMECS (ACMECS Development Fund: ACMDF) (กองทุนฯ) โดยขอให้ประเทศสมาชิกหารือกันเกี่ยวกับการจัดตั้งกองทุนฯ และกลไกปฏิบัติงาน และรายงานความคืบหน้าในที่ประชุมผู้นา ACMECS ในครั้งต่อไป 4) รับรองประเทศนิวซีแลนด์ในฐานะหุ้นส่วนเพื่อการพัฒนาของ ACMECS เป็นประเทศที่ 7 5) ให้ความเห็นชอบต่อตราสัญลักษณ์การท่องเที่ยว ACMECS เพื่อส่งเสริมแนวคิด ?5 ประเทศ 1 จุดหมายปลายทาง? 6) ยินดีกับความสาเร็จของการจัดตั้งสานักงานเลขาธิการชั่วคราว ACMECS (ACMECS Interim Secretariat) ซึ่งตั้งอยู่ที่ กต. ประเทศไทย รวมถึงการเปิดตัวตราสัญลักษณ์ ACMECS และเว็บไซต์ 7) การบรรจุเอกสารแนวคิด (Concept Note) เรื่อง การบริหารจัดการทรัพยากรน้าในอนุภูมิภาคลุ่มน้าโขงเป็นเอกสารเพิ่มเติมในภาคผนวกของแผนแม่บทฯ ซึ่งเป็นข้อริเริ่มของประเทศไทย โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อเป็นแนวทางให้ประเทศสมาชิกได้เสริมสร้างความร่วมมือและเพิ่มประสิทธิภาพในการบริหารจัดการน้าทั้งในระยะสั้นและระยะยาว โดยใช้ ACMECS เป็นกลไกหลักในการดาเนินการเรื่อง ดังกล่าว 2 ประเด็นสาคัญในถ้อยแถลงของผู้นาประเทศสมาชิก สรุปได้ ดังนี้ ประเทศ สมาชิก ถ้อยแถลง ไทย ขอให้ประเทศสมาชิกร่วมกันแก้ไขปัญหาความท้าทายที่มีร่วมกันในอนุภูมิภาคโดยเฉพาะประเด็นอาชญากรรมข้ามพรมแดน มลพิษทางอากาศ และภัยธรรมชาติจากการเปลี่ยนแปลง สภาพภูมิอากาศ และขอให้เร่งรัดการจัดตั้งกองทุน ACMDF โดยประเทศไทยยืนยันคามั่นที่จะสนับสนุนเงินสมทบในกองทุน ACMDF (ประมาณ 200 ล้านดอลลาร์สหรัฐ) และขอให้ประเทศสมาชิกเล็งเห็นความเร่งด่วนและร่วมมือกันหาข้อสรุปเกี่ยวกับกลไกการบริหารกองทุนฯ ให้ได้ ภายในไตรมาสแรกของปี 2568 เพื่อให้สามารถดาเนินโครงการที่ก่อให้เกิดผลเป็นรูปธรรมต่อไป กัมพูชา ยืนยันการสมทบเงินเข้ากองทุน ACMDF จานวน 7 ล้านดอลลาร์สหรัฐ (หรือประมาณ 238 ล้านบาท) และเน้นการส่งเสริมความเชื่อมโยงทั้งในด้านกายภาพและดิจิทัล การค้าและการลงทุนใน อนุภูมิภาค ซึ่งรวมถึงการยกระดับความร่วมมือในสาขาที่มีศักยภาพ เช่น การผลิตและส่งออกสินค้าเกษตร สปป.ลาว เสนอแนวทางความร่วมมือในอนาคต เช่น (1) การจัดทารายละเอียดโครงการด้านการบริหารจัดการน้าที่จะก่อให้เกิดผลลัพธ์อย่างเป็นรูปธรรมและเป็นการต่อยอดจากเอกสารแนวคิด เรื่องการ 35 บริหารจัดการทรัพยากรน้าในอนุภูมิภาคลุ่มน้าโขงที่ประเทศไทยเสนอ (2) การแสวงหาแนวทางเพื่อจัดตั้งกองทุน ACMDF ให้สาเร็จ และ (3) การยกระดับความร่วมมือด้านการเกษตรและ การท่องเที่ยว โดยเฉพาะการดาเนินการตามวิสัยทัศน์ Five Countries, One Destination (5 ประเทศ 1 จุดหมายปลายทาง) เมียนมา เสนอแนวทางความร่วมมือในอนาคต เช่น (1) การส่งเสริมการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน ด้านคมนาคมหลายรูปแบบและการใช้ประโยชน์จากเทคโนโลยีเพื่อให้เกิดความเชื่อมโยงแบบไร้รอยต่อใน ACMECS เพื่อสร้างโอกาสทางการค้าสินค้าและพลังงาน (ไฟฟ้า) ข้ามแดนและลดช่องว่างทางการพัฒนาระหว่างพื้นที่ในเมืองและท้องถิ่น (2) การส่งเสริมข้อริเริ่มเพื่อการรวมตัวทางเศรษฐกิจและลดกฎระเบียบด้านการค้าและการลงทุนระหว่างประเทศสมาชิก (3) การส่งเสริมความร่วมมือด้านการเพิ่มผลผลิตอย่างยั่งยืนและการสร้างโอกาสการเข้าถึงตลาดของสินค้าเกษตร เวียดนาม ประกาศสนับสนุนเงินเข้ากองทุน ACMDF จานวน 10 ล้านดอลลาร์สหรัฐ (หรือประมาณ 340 ล้านบาท) และเสนอแนวทางความร่วมมือในอนาคต เช่น (1) การใช้เทคโนโลยีและนวัตกรรมเป็นตัวขับเคลื่อนหลักในการพัฒนาต่าง ๆ (2) การเสริมสร้างความร่วมมือด้านการพัฒนาอย่างยังยืนและการเปลี่ยนผ่านสู่เศรษฐกิจและการเงินสีเขียว โดยเฉพาะการแลกเปลี่ยนข้อมูลและการจัดทาแผนงาน/โครงการเพื่อบริหารจัดการการใช้น้าร่วมกัน และ (3) การปรับกระบวนการและกฎระเบียบให้สอดคล้องกัน รวมถึงการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานเพื่อความเชื่อมโยงทั้งภายในและระหว่างภูมิภาค 2. กต. ขอให้ส่วนราชการที่เกี่ยวข้อง เช่น กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา (กก.) กระทรวงคมนาคม (คค.) กระทรวงพาณิชย์ กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม สานักงานทรัพยากรน้าแห่งชาติ (สทนช.) ดาเนินการในส่วนที่เกี่ยวข้องตามตารางติดตามผลการประชุม โดยมีประเด็นที่ต้องดาเนินการ จานวน 5ประเด็น ดังนี้ (1) การดาเนินการตามแผนแม่บท ACMECS ระยะ 5 ปี (ค.ศ. 2019 - 2023) (มีการขยายระยะเวลาดาเนินการออกไปก่อนจนกว่าการจัดทาแผนแม่บทฯ ฉบับใหม่จะแล้วเสร็จ) และบทบาทของคณะกรรมการประสานงาน 3 เสา ภายใต้แผนแม่บท ACMECS (2) ความร่วมมือด้านการบริหารจัดการทรัพยากรน้าใน อนุภูมิภาคล่มน้าโขง (3) การส่งเสริมความร่วมมือด้านการท่องเที่ยว (4) การจัดตั้งสานักงานเลขาธิการ ACMECS และ (5) การมีส่วนร่วมของภาคเอกชน 25. เรื่อง แนวทางการดาเนินการสืบเนื่องจากผลการประชุมคณะกรรมการระหว่างรัฐเฉพาะกิจเพื่อจัดทาอนุสัญญาระหว่างประเทศอย่างครอบคลุมว่าด้วยการต่อต้านการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อวัตถุประสงค์ทางอาชญากรรม คณะรัฐมนตรีมีมติรับทราบผลการประชุมคณะกรรมการระหว่างรัฐเฉพาะกิจเพื่อจัดทาอนุสัญญาระหว่างประเทศอย่างครอบคลุมว่าด้วยการต่อต้านการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อวัตถุประสงค์ทางอาชญากรรม (Ad Hoc Committee to Elaborate a Comprehensive International Convention on Countering the Use of Information and Communications Technologies for Criminal Purposes: AHC ) (คณะกรรมการระหว่างรัฐเฉพาะกิจฯ) และมอบหมายให้กระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม (ดศ.) เป็นหน่วยงานเจ้าภาพเพื่อพิจารณาความเหมาะสมและแนวทางในการเข้าเป็นภาคีอนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยการต่อต้านอาชญากรรมไซเบอร์ การส่งเสริมความร่วมมือระหว่างประเทศเพื่อปราบปรามอาชญากรรมบางประเภทที่กระทาผ่านเทคโนโลยีสารสนเทศและเพื่อการแบ่งปัน ข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ของอาชญากรรมร้ายแรง (United Nations Convention against Cybercrime; Strengthening International Cooperation for Combating Certain Crimes Committed by Means of Information and Communications Technology Systems and for the Sharing of Evidence in Electronic Form of Serious Crimes) (อนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยการต่อต้านอาชญากรรมไซเบอร์) ร่วมกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องตามที่กระทรวงการต่างประเทศ (กต.) เสนอ และให้ กต. รับความเห็นของสานักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติไปพิจารณาดาเนินการต่อไปด้วย สาระสาคัญของเรื่อง 36 กระทรวงการต่างประเทศ (กต.) นาเสนอคณะรัฐมนตรี รับทราบผลการประชุมคณะกรรมการระหว่างรัฐเฉพาะกิจเพื่อจัดทาอนุสัญญาระหว่างประเทศ อย่างครอบคลุมว่าด้วยการต่อต้านการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อวัตถุประสงค์ทางอาชญากรรม (การประชุมคณะกรรมการระหว่างรัฐเฉพาะกิจฯ) สมัยสรุปต่อเนื่อง ระหว่างวันที่ 29 กรกฎาคม - 9 สิงหาคม 2567 ณ สานักงานใหญ่สหประชาชาติ นครนิวยอร์ก สหรัฐอเมริกา โดยคณะผู้แทนไทยได้เข้าร่วมการประชุมดังกล่าวและบรรลุผลลัพธ์การเจรจา รวมทั้งให้การรับรองร่างอนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยการต่อต้านอาชญากรรมไซเบอร์ ซึ่งมีสาระสาคัญ เช่น การต่อต้านอาชญากรรมไชเบอร์ การล่วงละเมิดทางเพศต่อเด็ก และการเผยแพร่ภาพส่วนบุคคลทางออนไลน์โดยไม่ได้รับความยินยอม การกาหนดฐานความผิดและระบุเกี่ยวกับการกาหนดเขตอานาจศาลของรัฐภาคี ทั้งนี้ ที่ประชุมสมัชชาสหประชาชาติ สมัยสามัญ ครั้งที่ 79 ได้รับรองอนุสัญญาดังกล่าวแล้วเมื่อวันที่ 24 ธันวาคม 2567 และเปิดให้รัฐสมาชิกสหประชาชาติร่วมลงนามในอนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยการต่อต้านอาชญากรรมไซเบอร์ ตั้งแต่เดือนมีนาคม 2568 จนถึงวันที่ 31 ธันวาคม 2569 ในการนี้ เพื่อตอบสนองความจาเป็นของประเทศไทยที่จะต้องมีหน่วยงานเจ้าภาพเพื่อพิจารณาความเหมาะสมและแนวทางในการเข้าเป็นภาคีอนุสัญญาดังกล่าวและการร่วมลงนามในโอกาสแรก กต. จึงเห็นควรมอบหมายให้กระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม (ดศ.) ในฐานะหน่วยงานที่รับผิดชอบตามพระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทาความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ. 2550 และพระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทาความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2560 เป็นหน่วยงานเจ้าภาพ เพื่อพิจารณาความเหมาะสมและแนวทางในการเข้าเป็นภาคีอนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยการต่อต้านอาชญากรรมไซเบอร์ร่วมกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง (เช่น กระทรวงยุติธรรม สานักงานสภาความมั่นคงแห่งชาติ สานักงานตารวจแห่งชาติ) โดย ดศ. พิจารณาแล้วเห็นว่าไม่มีข้อขัดข้องต่อแนวทางการดาเนินการสืบเนื่องจากผลการประชุมคณะกรรมการระหว่างรัฐฯ และไม่ขัดข้องในการเป็นหน่วยงานเจ้าภาพเพื่อพิจารณาความเหมาะสมในการเข้าเป็นภาคีอนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยการต่อต้านอาชญากรรมไซเบอร์ตามที่ กต. เสนอ ทั้งนี้ ดศ. จะประสานไปยัง กต. และหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเพื่อพิจารณาและร่วมกาหนดแนวทางในการดาเนินการและการเข้าเป็นภาคอนุสัญญาดังกล่าวต่อไป 26. เรื่อง รายงานผลการจัดประชุมนานาชาติระดับรัฐมนตรี ว่าด้วยการจัดการทรัพยากรดิน และน้าเพื่อความมั่นคงทางอาหารอย่างยั่งยืน (The International Soil and Water Forum 2024) คณะรัฐมนตรีรับทราบรายงานผลการจัดประชุมนานาชาติระดับรัฐมนตรี ว่าด้วยการจัดการทรัพยากรดิน และน้าเพื่อความมั่นคงทางอาหารอย่างยั่งยืน (The International Soil and Water Forum 2024) (การประชุมนานาชาติระดับรัฐมนตรีฯ) ตามที่กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ (กษ.) เสนอ สาระสาคัญของเรื่อง รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ได้เข้าร่วมการประชุมระดับรัฐมนตรีฯ ในวันที่ 9 ธันวาคม 2567 ณ กรุงเทพมหานคร โดยเน้นย้าว่า ประเทศไทยให้ความสาคัญกับการจัดการดินและน้าอย่างยั่งยืน นอกจากนี้ กษ. ยังได้นาเสนอแนวทางการจัดการดินและน้าผ่านศูนย์ศึกษาการพัฒนาอันเนื่องมาจากพระราชดาริ 6 แห่ง ทั่วประเทศไทย เพื่อเป็นต้นแบบในการพัฒนาแบบผสมผสาน และเป็นตัวอย่างที่ดีของการบูรณาการการจัดการดินและน้า อีกทั้ง ยังได้เสนอการทานาแบบเปียกสลับแห้งของไทยเพื่อให้เห็นถึงวิธีการจัดการดินและน้าที่มีอยู่อย่างจากัดให้มีประสิทธิภาพสูงและเกิดก๊าซมีเทนในนาข้าวน้อย ทั้งนี้ ที่ประชุมนานาชาติระดับรัฐมนตรีฯ ได้เห็นชอบปฏิญญาฯ ซึ่งเป็นการแสดงถึงความมุ่งมั่นในการบูรณาการการจัดการทรัพยากรดินและน้าอย่างยั่งยืนและยืดหยุ่น ตลอดจนการพัฒนาและขับเคลื่อนโครงการเพื่อเสริมสร้างศักยภาพของเกษตรกรในการใช้ข้อมูล เพื่อเป็นส่วนในการขับเคลื่อนระบบเกษตรและอาหารที่ยั่งยืนและการบรรลุเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน นอกจากนี้ยังได้มีการจัดนิทรรศการภายใต้การประชุมนานาชาติระดับรัฐมนตรีฯ โดยในส่วนของไทยมีจานวน 8 เรื่อง เช่น (1) การดาเนินงานของศูนย์ศึกษาการพัฒนาอันเนื่องมาจากพระราชดาริ 6 แห่ง ทั่วประเทศ (2) การปฏิบัติการฝนหลวงเพื่อการบริหารจัดการน้าและการบรรเทาภัยพิบัติทางธรรมชาติ (3) การรับมือการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศส่งเสริมเกษตรกรทา นาเปียกสลับแห้ง ลดเสี่ยงแล้ง ลดต้นทุน ลดโลกร้อน และ(4) โครงการอนุรักษ์ฟื้นฟูแหล่งน้า สนับสนุนโครงการพัชรสุธาคชานุรักษ์ (ป่ารอยต่อ 5 จังหวัด ในภาคตะวันออก) เป็นต้น 37 2. นอกจากนี้รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ยังได้เข้าร่วมการประชุมอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง โดยสามารถสรุปได้ ดังนี้ 1) รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ได้เป็นประธานกล่าวเปิดการประชุมคู่ขนาน United Nations decade on Soil Health ภายใต้ international Sol and Water Forum โดยเน้นย้าการตั้งทศวรรษแห่งสุขภาพดินภายใต้องค์กรสหประชาชาติ เพื่อสร้างความตระหนักรู้เกี่ยวกับสุขภาพดินต่อความมั่นคงทางอาหารและโภชนาการ การอนุรักษ์ความหลากหลายทางชีวภาพ และพัฒนาสุขภาพดินสู่ความยั่งยืน เน้นปฏิบัติการจัดการดินที่ยั่งยืนและนวัตกรรมที่สนับสนุนผลิตภาพของดินและสุขภาพดิน 2) การหารือทวิภาคีระหว่างรัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์และผู้แทนประเทศต่าง ๆ (1) การหารือกับผู้อานวยการใหญ่องค์การอาหารและเกษตรแห่งสหประชาชาติ [Food and Agriculture Organization of the United Nations (FAO)] โดยฝ่ายไทยมีความประสงค์ร่วมมือกับ FAO ในเรื่องการผลิตสินค้าเกษตรให้ลดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม ภายใต้ ?ING Model? โดยเฉพาะเทคโนโลยี การปรับแต่งจีโนม ซึ่งช่วยส่งเสริมความมั่นคงทางอาหารและขับเคลื่อนระบบเกษตรและอาหารที่ยั่งยืน โดยผู้อานวยการใหญ่ FAO ยินดีเป็นที่จะให้ความร่วมมือและสนับสนุนประเทศไทยในการดาเนินการ (2) การหารือกับรัฐมนตรีว่าการกระทรวงพลังงานทรัพยากรน้าและ การชลประทาน สหพันธ์สาธารณรัฐประชาธิปไตยเนปาล โดยฝ่ายเนปาลประสงค์ที่จะมีความร่วมมือด้านการเกษตรกับ กษ. เพื่อแลกเปลี่ยนความร่วมมือในด้านต่าง ๆ เช่น พืช สุขภาพสัตว์ เทคโนโลยี และระบบตลาด ซึ่งทางเนปาลได้ยกร่างบันทึกความเข้าใจและนาส่งให้ กษ. ผ่านกระทรวงการต่างประเทศ และประสงค์ที่จะให้มีการลงนามใน การประชุมระดับรัฐมนตรีภายใต้กรอบความริเริ่มแห่งอ่าวเบงกอลสาหรับความร่วมมือหลากหลายสาขาทางวิชาการและเศรษฐกิจ (BIMSTEC) ณ กรุงกาฐมาฑุ เนปาล ในปี 2568 (3) การหารือกับรัฐมนตรีช่วยว่าการด้านดินและน้า กระทรวงเกษตรสาธารณรัฐอิสลามอิหร่าน (Dr. Safdar Niazi Shahrak) โดยอิหร่านแสดงความมุ่งมั่นที่จะยกระดับความสัมพันธ์กับฝ่ายไทยรวมถึงความร่วมมือด้านดินและน้า ซึ่งฝ่ายอิหร่านมีความเชี่ยวชาญด้านการบริหารจัดการน้าเพื่อการเกษตรและพร้อมที่จะแลกเปลี่ยนด้านเทคโนโลยี ในขณะที่ฝ่ายไทยมีความเชี่ยวชาญในการดูแลรักษาดิน พลิกฟื้นด้านเกษตร (4) การหารือกับรัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรปศุสัตว์ ประมง และป่าไม้ สาธารณรัฐประชาธิปไตยติมอร์ - เลสเต โดยฝ่ายติมอร์ ? เลสเต ประสงค์ขอการสนับสนุนจากไทยในด้านเทคโนโลยีและผู้เชี่ยวชาญมาให้ความรู้กับเจ้าหน้าที่และเกษตรกรของติมอร์ - เลสเต ในสาขาต่าง ๆ ในด้านประมง ปศุสัตว์ และพืช เป็นต้น เกี่ยวกับการพัฒนาการผลิตนม การจัดการโรคและวัคซีน การจัดการประมงอย่างยั่งยืนและการเพาะเลี้ยงสัตว์น้า ทั้งนี้ ประเทศไทยยินดีให้การสนับสนุนความร่วมมือทางวิชาการในสาขาที่ติมอร์ - เลสเต สนใจ 27. เรื่อง รายงานผลการเดินทางเยือนประเทศญี่ปุ่นของรัฐมนตรีว่าการกระทรวงพาณิชย์ (นายพิชัย นริพทะพันธุ์) คณะรัฐมนตรีรับทราบรายงานผลการเดินทางเยือนประเทศญี่ปุ่น ระหว่างวันที่ 19 ? 24 ธันวาคม 2567 ของรัฐมนตรีว่าการกระทรวงพาณิชย์ตามที่ กระทรวงพาณิชย์ (พณ.) เสนอ สาระสาคัญ 1. รัฐมนตรีว่าการกระทรวงพาณิชย์เดินทางไปเยือนประเทศญี่ปุ่น ระหว่างวันที่ 19 ? 24 ธันวาคม 2567 เพื่อนเข้าร่วมกิจกรรมส่งเสริมซอฟต์พาวเวอร์ไทยในประเทศญี่ปุ่น พร้อมสร้างหุ้นส่วนทางยุทธศาสตร์ต่อยอดธุรกิจด้วยพันธมิตร ซึ่งมีรายละเอียดสรุปได้ ดังนี้ 1) การส่งเสริมซอฟต์พาวเวอร์ไทยในประเทศญี่ปุ่น (1) การเข้าร่วมกิจกรรมส่งเสริมซอฟต์พาวเวอร์ของไทย ณ ห้าง MUJI และ Daikanyama T-Site ภายใต้ชื่องาน ?Happy Winter Thai Festival? โดยจัดโซนแสดงสินค้า อาทิ มังงะ (การ์ตูน) ที่เขียนเล่าเรื่องราวเกี่ยวกับผ้าไทย ผลงานศิลปะ ของตกแต่งบ้านที่ใช้ผ้าไทย จากโครงการผ้าไทย ใส่ให้สนุก แฟชั่นไทย กระเป๋าจักสาน กิโมโนที่ทาด้วยผ้าไทย เครื่องสาอาง สินค้าสปาของไทย และซอฟต์พาวเวอร์สาขาดนตรี โดยจัด MEET&GREET ศิลปิน Series-Y ของไทย 38 (2) การเข้าร่วมกิจกรรมลงนามบันทึกความเข้าใจ [Memorandum Of Understanding (MOU)] และจดหมายแสดงความเข้าใจ [Letter Of Understanding (LOU)] เพื่อสนับสนุนการขยายตลาดซอฟต์พาวเวอร์ไทยในญี่ปุ่น รวม 3 ฉบับ ได้แก่ (2.1) MOU ระหว่างกรมส่งเสริมการค้าระหว่างประเทศ (DITP) และบริษัท MIARAWASHIYA LLC ซึ่งเป็นบริษัทต้นสังกัดของนักวาดการ์ตูนชาวญี่ปุ่นชื่อดังเพื่อเผยแพร่ผ้าไทยผ่านมังงะ (การ์ตูน) ญี่ปุ่น (2.2) MOU ระหว่าง DITP และบริษัท KENELEPHANT Co.,Ltd. ผู้ผลิตและจาหน่ายสินค้าขนาดเล็ก เกี่ยวกับสินค้าและบริการไทย ผ่านตู้กาจาปอง เพื่อสร้างกระแสการซื้อสินค้าไทย (2.3) LOU ระหว่างสถาบันส่งเสริมศิลปหัตถกรรมไทย (SACT) และ บริษัท OMIVA แบรนด์กิโมโนเก่าแก่ของญี่ปุ่น เพื่อใช้ผ้าไทย ภายใต้โครงการผ้าไทย ไส้ให้สนุก ซึ่งสร้างภาพลักษณ์ของผ้าไทยในระดับสากล (3) การเข้าร่วมกิจกรรมประชาสัมพันธ์ยกระดับภาพลักษณ์แบรนด์สินค้าและบริการไทย ณ ห้าแยกชิบูย่า โดยฉายคลิปเนื้อหาสินค้าและบริการไทยฉายทุก 10 นาที ผ่านบิลบอร์ดบนอาคาร ต่อเนื่องเป็นเวลา 1 เดือน 2. การสร้างหุ้นส่วนทางยุทธศาสตร์ต่อยอดธุรกิจด้วยพันธมิตร (1) การเข้าร่วมงานประชุมนานาชาติ ASEAN-Japan Economic Co - Creation Forum 2024 ซึ่งเป็นเวทีแลกเปลี่ยนองค์ความรู้ มุมมองและแนวคิดในการพัฒนาเศรษฐกิจไปสู่ยุคเศรษฐกิจดิจิทัลที่คานึงถึงสิ่งแวดล้อมและความยั่งยืนโดยรัฐมนตรีว่าการกระทรวงพาณิชย์ได้กล่าวว่าไทยให้ความสาคัญกับการดึงดูดการลงทุนในอุตสาหกรรมแห่งอนาคต อาทิ ดิจิทัล AI ยานยนต์ยุคใหม่ และพลังงานสะอาดและไทยมีความพร้อมในการเตรียมโครงสร้างพื้นฐานที่จะเป็นฐานการผลิตอุตสาหกรรมใหม่ (2) การพบหารือบริษัทขั้นนาของญี่ปุ่น เช่น การพบหารือกับผู้บริหาร NIPPON STEEL CORPORATION (NSC) แสดงความสนใจที่จะมาลงทุนเพิ่ม ในไทยเพื่อให้ระบบการเล็กผลิตเหล็กมีความครบวงจรมากขึ้น และการพบหารือกับผู้บริหาร NTT Data Corporation ได้แสดงแผนงานที่ชัดเจนที่จะมาลงทุนที่ไทยในด้าน Data Center เพิ่มขึ้น (3) การบรรยายเรื่องสถานการณ์การเมืองและเศรษฐกิจในประเทศไทย ณ มหาวิทยาลัยโตเกียว เกี่ยวกับประเด็นด้านเศรษฐกิจ ด้านการลงทุนและการเจรจาเขตการค้าเสรี [Free Trade Area (FTA)] ทั้งนี้ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงพาณิชย์ได้เน้นย้าว่าแนวทางการบริหารงานและการดาเนินนโยบายทางเศรษฐกิจของนายกรัฐมนตรีเป็นไปในแนวทางที่ถูกต้อง เศรษฐกิจไทยเริ่มขึ้นตัว หากสามารถแก้ปัญหาเรื่องหนี้ภาคครัวเรือนได้เศรษฐกิจไทยก็จะฟื้นตัวได้เร็วขึ้น 3. ประชุมมอบนโยบายทูตพาณิชย์ในประเทศญี่ปุ่นและเกาหลีใต้โดยรัฐมนตรีว่าการกระทรวงพาณิชย์เน้นย้าว่าทูตพาณิชย์ถือเป็นส่วนหนึ่งของทีมไทยแลนด์และเป็นทัพหน้าของประเทศในการดึงดูดการค้า การลงทุนจากต่างประเทศเข้าสู่ไทยและได้รับการแจ้งเพิ่มเห็นว่าญี่ปุ่นมีความต้องการบริโภคกล้วยประมาณปีละ 1 ล้านตันภายใต้กรอบความตกลงหุ้นส่วนเศรษฐกิจไทย - ญี่ปุ่น ที่ให้สิทธิพิเศษในการยกเว้นภาษีนาเข้ากล้วยสดจากไทยจานวน 8,000 ตัน/ปี ที่ผ่านมา พณ. ได้นาผู้เชี่ยวชาญด้านกล้วยชาวญี่ปุ่นลงพื้นที่พัฒนาเทคนิคการปลูกให้ได้คุณภาพและปริมาณตามมาตรฐานญี่ปุ่น และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงพาณิชย์ได้สั่งการให้กรมการค้าภายในคานวณรายได้จากการปลูกกล้วยกับมันสาปะหลัง พบว่ากล้วยสร้างรายได้มากกว่ามันสาปะหลัง ทั้งนี้ การปลูกกล้วยกับมันสาปะหลังสามารถปลูกในพื้นที่เดียวกันได้ ซึ่งอาจให้ข้อมูลเกษตรกรไทยพิจารณาเลือกปลูกเพื่อส่งเสริมให้เกษตรกรไทยปลูกกล้วยไปส่งญี่ปุ่นเพิ่มขึ้น 2. การเดินทางเยือนประเทศญี่ปุ่นของรัฐมนตรีว่าการกระทรวงพาณิชย์ในครั้งนี้ เพื่อผลักดันซอฟต์พาวเวอร์ของไทย และสร้าง Story ให้กับสินค้าและบริการของไทยเพื่อให้เกิดการขยายโอกาสทางการค้าในเชิงลึกและสานต่อความสัมพันธ์เชิงส่วนหุ้นส่วนทางยุทธศาสตร์ต่อยอดธุรกิจด้วยพันธมิตร (Static Partnership) แต่งตั้ง 28. เรื่อง การแต่งตั้งข้าราชการพลเรือนสามัญให้ดารงตาแหน่งประเภทบริหารระดับสูง (กระทรวงวัฒนธรรม) คณะรัฐมนตรีมีมติอนุมัติตามที่รัฐมนตรีว่าการกระทรวงวัฒนธรรม เสนอแต่งตั้ง ข้าราชการพลเรือนสามัญ สังกัดกระทรวงวัฒนธรรม ให้ดารงตาแหน่งประเภทบริหารระดับสูง จานวน 2 ราย เพื่อ 39 ทดแทนตาแหน่งที่ว่าง และสับเปลี่ยนหมุนเวียน ดังนี้ 1. นางยุถิกา อิศรางกูร ณ อยุธยา รองปลัดกระทรวง สานักงานปลัดกระทรวง ดารงตาแหน่ง อธิบดีกรมส่งเสริมวัฒนธรรม 2. นางรักชนก โคจรานนท์ ผู้ตรวจราชการกระทรวง สานักงานปลัดกระทรวง ดารงตาแหน่ง รองปลัดกระทรวง สานักงานปลัดกระทรวง ทั้งนี้ ตั้งแต่วันที่ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อมแต่งตั้ง เป็นต้นไป 29. เรื่อง การแต่งตั้งกรรมการอื่นในคณะกรรมการธนาคารเพื่อการส่งออกและนาเข้าแห่งประเทศไทย (กระทรวงการคลัง) คณะรัฐมนตรีมีมติอนุมัติตามที่รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง เสนอแต่งตั้ง นายเสรี นนทสูติ เป็นกรรมการอื่นในคณะกรรมการธนาคารเพื่อการส่งออกและนาเข้าแห่งประเทศไทย แทน ศาสตราจารย์พิเศษวิศิษฏ์ วิศิษฏ์สรอรรถ กรรมการอื่นเดิมที่พ้นจากตาแหน่งเนื่องจากขอลาออก ทั้งนี้ ตั้งแต่วันที่ 11 มีนาคม 2568 เป็นต้นไป และผู้ได้รับแต่งตั้งแทนนี้อยู่ในตาแหน่งเท่ากับวาระที่เหลืออยู่ของกรรมการซึ่งได้รับแต่งตั้งไว้แล้ว 30. เรื่อง แต่งตั้งกรรมการอื่น (ผู้ทรงคุณวุฒิ) ในคณะกรรมการกากับสานักงานการบินพลเรือนแห่งประเทศไทย (กระทรวงการคลัง) คณะรัฐมนตรีมีมติอนุมัติตามที่กระทรวงคมนาคม เสนอแต่งตั้งนางสาวชุณหจิต สังข์ใหม่ เป็นกรรมการอื่น (ผู้ทรงคุณวุฒิด้านกฎหมาย) ในคณะกรรมการกากับสานักงานการบินพลเรือนแห่ง ประเทศไทย แทนกรรมการอื่นเดิมที่พ้นจากตาแหน่งก่อนครบวาระ เนื่องจากมีอายุครบหกสิบห้าปีบริบูรณ์ ทั้งนี้ ตั้งแต่วันที่ 11 มีนาคม 2568 เป็นต้นไป 31. เรื่อง การแต่งตั้งกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิในคณะกรรมการสถาบันการบินพลเรือน (กระทรวงคมนาคม) คณะรัฐมนตรีมีมติอนุมัติตามที่กระทรวงคมนาคมเสนอแต่งตั้ง นายธนันท์วรุตม์ ลิ้มทรงพรต เป็นกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิในคณะกรรมการสถาบันการบินพลเรือนแทนกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิเดิมที่พ้นจากตาแหน่งก่อนครบวาระเนื่องจากขอลาออก ทั้งนี้ ตั้งแต่วันที่ 11 มีนาคม 2568 เป็นต้นไป โดยผู้ได้รับแต่งตั้งแทนนี้อยู่ในตาแหน่งเท่ากับวาระที่เหลืออยู่ของกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิซึ่งได้แต่งตั้งไว้แล้ว 32. เรื่อง การแต่งตั้งกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิในคณะกรรมการพัฒนาการบริหารงานยุติธรรมแห่งชาติ (กระทรวงยุติธรรม) คณะรัฐมนตรีมีมติอนุมัติตามที่กระทรวงยุติธรรมเสนอแต่งตั้งกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิในคณะกรรมการพัฒนาการบริหารงานยุติธรรมแห่งชาติ จานวน 3 คน เนื่องจากกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิเดิมได้พ้นจากตาแหน่งก่อนครบวาระเนื่องจากลาออกและดารงตาแหน่งครบวาระสี่ปี ดังนี้ 1. นายชาญเชาวน์ ไชยานุกิจ (ด้านอาชญาวิทยา) 2. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ธานี ชัยวัฒน์ (ด้านเศรษฐศาสตร์ และกระบวนการยุติธรรมทางแพ่ง) 3. พลตารวจตรี สมชาติ สว่างเนตร (ด้านการบริหารงานยุติธรรม) ทั้งนี้ ตั้งแต่วันที่ 11 มีนาคม 2568 เป็นต้นไป 33. เรื่อง การแต่งตั้งกรรมการอื่นในคณะกรรมการองค์การเภสัชกรรม แทนกรรมการอื่นที่พ้นจากตาแหน่งก่อนครบวาระ (กระทรวงสาธารณสุข) คณะรัฐมนตรีมีมติอนุมัติตามที่รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุขเสนอให้คณะกรรมการองค์การเภสัชกรรมมีจานวนกรรมการเกินกว่าสิบเอ็ดคนแต่ไม่เกินสิบห้าคน (นับรวมประธานกรรมการ กรรมการอื่นที่คณะรัฐมนตรีแต่งตั้ง และผู้อานวยการองค์การเภสัชกรรม ซึ่งเป็นกรรมการโดยตาแหน่ง) ตามมาตรา 18 แห่งพระราชบัญญัติองค์การเภสัชกรรม พ.ศ. 2509 และมาตรา 6 วรรคสอง แห่งพระราชบัญญัติคุณสมบัติมาตรฐานสาหรับกรรมการและพนักงานรัฐวิสาหกิจ พ.ศ. 2518 และที่แก้ไขเพิ่มเติม และแต่งตั้งกรรมการอื่นในคณะกรรมการองค์การเภสัชกรรม จานวน 2 คน แทนกรรมการอื่นเดิมที่พ้นจากตาแหน่งก่อนครบวาระเนื่องจากขอลาออก ดังนี้ 40 1. รองศาสตราจารย์อิสระ เสรีวัฒนวุฒิ แทน นายสุรโชค ต่างวิวัฒน์ 2. นายสมศักดิ์ อนันทวัฒน์ (ผู้แทนกระทรวงการคลัง) แทน นายพงษ์ศักดิ์ เมธาพิพัฒน์ ทั้งนี้ ตั้งแต่วันที่ 11 มีนาคม 2568 เป็นต้นไป โดยผู้ได้รับแต่งตั้งแทนนี้อยู่ในตาแหน่งได้เพียงเท่ากาหนดเวลาของผู้ซึ่งตนแทน 34. เรื่อง การแต่งตั้งคณะกรรมการจัดหาระบบคอมพิวเตอร์ของรัฐ (กระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม) คณะรัฐมนตรีมีมติอนุมัติตามที่กระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคมเสนอแต่งตั้ง คณะกรรมการจัดหาระบบคอมพิวเตอร์ของรัฐ ดังนี้ ปลัดกระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม เป็นประธานกรรมการ ผู้บริหารเทคโนโลยีสารสนเทศระดับสูงประจากระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม เป็นรองประธานกรรมการ กรรมการ ประกอบด้วย ผู้แทนสานักงบประมาณ ผู้แทนสานักงานพัฒนารัฐบาลดิจิทัล (องค์การมหาชน) ผู้แทนสานักงานคณะกรรมการการรักษาความมั่นคงปลอดภัยไซเบอร์แห่งชาติ รองศาสตราจารย์ยืน ภู่วรวรรณ นายไชยเจริญ อติแพทย์ นายยรรยง เต็งอานวย รองศาสตราจารย์วรา วราวิทย์ นายวิษณุ ตัณฑวิรุฬห์ ศาสตราจารย์พิสุทธิ์ เพียรมนกุล นายสุพงษ์พิธ รุ่งเป้า นายศักดา นาคเลื่อน นายศุภกร คงสมจิตต์ นายอัมภัส ปิ่นวนิชย์กุล นายกฤษณะ สมทรัพย์ นายอภิชาติ ประเสริฐ ผู้อานวยการศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร สานักงานปลัดกระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม เป็นกรรมการและเลขานุการ รวมถึงกรรมการและผู้ช่วยเลขานุการ ประกอบด้วย ผู้เชี่ยวชาญเฉพาะด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ สานักงานปลัดกระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม ผู้อานวยการกลุ่มงานเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการบริหาร สานักงานปลัดกระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม และผู้แทนศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร สานักงานปลัดกระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม หน้าที่และอานาจของคณะกรรมการจัดหาระบบคอมพิวเตอร์ของรัฐ หน้าที่และอานาจเดิม ตามมติคณะรัฐมนตรีเมื่อวันที่ 26 มีนาคม 2567 หน้าที่และอานาจที่ขอปรับปรุง ในครั้งนี้ 1. พิจารณากลั่นกรองความเหมาะสม เสนอแนะ แนวทางการจัดหาระบบคอมพิวเตอร์ของส่วนราชการ องค์การมหาชน ที่ใช้งบประมาณแผ่นดิน รวมถึงแหล่งเงินอื่นที่นอกเหนือจากงบประมาณแผ่นดิน ซึ่งเป็นภาระที่รัฐจะต้องตั้งงบประมาณชดใช้ในการจัดหาระบบคอมพิวเตอร์ที่มีมูลค่าเกินกว่า 100 ล้านบาทขึ้นไป โดยเฉพาะการบูรณาการงบประมาณ เทคโนโลยี และการใช้ข้อมูลร่วมกันเพื่อลดความซ้าซ้อนในการดาเนินการ รวมทั้ง ให้มีการใช้เกณฑ์มาตรฐานเดียวกันในการพิจารณาการจัดหาระบบคอมพิวเตอร์ของรัฐให้เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ 1. พิจารณากลั่นกรองความเหมาะสม เสนอแนะในครั้งนี้แนวทางการจัดหาระบบคอมพิวเตอร์ของส่วนราชการองค์การมหาชน ที่ใช้งบประมาณแผ่นดิน รวมถึงแหล่งเงินอื่นที่นอกเหนือจากงบประมาณแผ่นดิน ซึ่งเป็นภาระที่รัฐจะต้องตั้งงบประมาณชดใช้ในการจัดหาระบบคอมพิวเตอร์ที่มีมูลค่าเกินกว่า 200 ล้านบาทขึ้นไป โดยเฉพาะการบูรณาการงบประมาณ เทคโนโลยี และการใช้ข้อมูลร่วมกันเพื่อลดความซ้าซ้อนในการดาเนินการ รวมทั้ง ให้มีการใช้เกณฑ์มาตรฐานเดียวกันในการพิจารณาการจัดหาระบบคอมพิวเตอร์ของรัฐให้เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพอย่างมีประสิทธิภาพ 2. พิจารณาติดตามแผนงานและโครงการที่ได้ให้ความเห็นชอบของส่วนราชการและรายงานให้คณะรัฐมนตรีทราบ คงเดิม 3. พิจารณากาหนดหลักเกณฑ์ และแนวทางปฏิบัติ การจัดหาระบบคอมพิวเตอร์ของรัฐ 4. พิจารณากาหนด และเผยแพร่ข้อมูลในเรื่องราคาและคุณลักษณะของระบบคอมพิวเตอร์ที่เหมาะสมกับลักษณะงานต่าง ๆ 5. เสนอแนะข้อวินิจฉัย ปัญหาและแนวทางปฏิบัติ 41 ในการจัดหาระบบคอมพิวเตอร์ของรัฐตามที่กระทรวง ดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคมมอบหมาย 6. ให้มีอานาจเชิญเจ้าหน้าที่ผู้เกี่ยวข้องมาชี้แจงเสนอข้อมูล และ/หรือเอกสารประกอบการพิจารณาได้ตามความจาเป็น 7. แต่งตั้งคณะอนุกรรมการ คณะทางาน และผู้ช่วย เลขานุการเพิ่มเติมได้ตามความจาเป็น 8. ปฏิบัติงานอื่นใดตามที่ได้รับมอบหมายจากกระทรวง ดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม หมายเหตุ 1. หลักเกณฑ์ในการจาแนกประเภทหน่วยงานในรูปแบบส่วนราชการ หรือองค์การมหาชนให้พิจารณาตามหลักการจาแนกประเภทหน่วยงานของรัฐในกากับของฝ่ายบริหารของสานักงาน ก.พ.ร. 2. งบประมาณรายจ่ายประจาปี หมายถึง จานวนเงินอย่างสูงที่อนุญาตให้ก่อหนี้ผูกพันได้ตามวัตถุประสงค์และภายในระยะเวลาที่กาหนดไว้ในกฎหมายว่าด้วยงบประมาณรายจ่าย โดยปีงบประมาณมีระยะเวลาตั้งแต่วันที่ 1ตุลาคมของปีถัดไป ถึงวันที่ 30 กันยายนของปีถัดไป และให้ใช้ชื่อปี พ.ศ. ที่ถัดไปนั้นเป็นชื่อสาหรับปีงบประมาณนั้น 3. ปรับวงเงินงบประมาณในการจัดหาระบบคอมพิวเตอร์ จากที่มีมูลค่าเกินกว่า 100 ล้านบาทขึ้นไป เป็นมูลค่าเกินกว่า 200 บาทขึ้นไป เพื่อให้สอดคล้องกับเทคโนโลยีและราคาในปัจจุบัน ทั้งนี้ ตั้งแต่วันที่ 11 มีนาคม 2568 เป็นต้นไป 35. เรื่อง การแต่งตั้งข้าราชการพลเรือนสามัญให้ดารงตาแหน่งประเภทวิชาการระดับทรงคุณวุฒิ (กระทรวงสาธารณสุข) คณะรัฐมนตรีมีมติอนุมัติตามที่รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุขเสนอแต่งตั้ง ข้าราชการพลเรือนสามัญ สังกัดกระทรวงสาธารณสุข ให้ดารงตาแหน่งประเภทวิชาการระดับทรงคุณวุฒิ จานวน 3 ราย ตั้งแต่วันที่มีคุณสมบัติครบถ้วนสมบูรณ์ ดังนี้ 1. นางสิริพรรณ แสงอรุณ ผู้เชี่ยวชาญเฉพาะด้านพัฒนาระบบคุณภาพห้องปฏิบัติการ (นักวิทยาศาสตร์การแพทย์เชี่ยวชาญ) กลุ่มพัฒนาระบบคุณภาพ สานักมาตรฐานห้องปฏิบัติการ กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ ดารงตาแหน่ง ผู้ทรงคุณวุฒิด้านวิจัยและพัฒนาวิทยาศาสตร์การแพทย์ (มาตรฐานห้องปฏิบัติการ) (นักวิทยาศาสตร์การแพทย์ทรงคุณวุฒิ) กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ ตั้งแต่วันที่ 13 สิงหาคม 2567 2. นายปัญจพล แก้วอุบล นายแพทย์เชี่ยวชาญ (ด้านเวชกรรม สาขาศัลยกรรม) กลุ่มงานศัลยกรรม โรงพยาบาลตรัง สานักงานสาธารณสุขจังหวัดตรัง สานักงานปลัดกระทรวง ดารงตาแหน่ง นายแพทย์ทรงคุณวุฒิ (ด้านเวชกรรม สาขาศัลยกรรม) โรงพยาบาลตรัง สานักงานสาธารณสุขจังหวัดตรัง สานักงานปลัดกระทรวง ตั้งแต่วันที่ 23 กันยายน 2567 3. นายสมบูรณ์ อภิชัยยิ่งยอด นายแพทย์เชี่ยวชาญ (ด้านเวชกรรม สาขาอายุรกรรม) กลุ่มงาน อายุรกรรม โรงพยาบาลราชบุรี สานักงานสาธารณสุขจังหวัดราชบุรี สานักงานปลัดกระทรวง ดารงตาแหน่ง นายแพทย์ทรงคุณวุฒิ (ด้านเวชกรรม สาขาอายุรกรรม) กลุ่มงานอายุรกรรม โรงพยาบาลราชบุรี สานักงานสาธารณสุขจังหวัดราชบุรี สานักงานปลัดกระทรวง ตั้งแต่วันที่ 4 ตุลาคม 2567 ทั้งนี้ ตั้งแต่วันที่ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อมแต่งตั้ง เป็นต้นไป