สถานะการณ์หอมแดงในอินโดนีเซีย
ราคาขายส่ง รายงานปริมาณผักรายวันตามจังหวัด
หน่วย : รูเปียห์ / กิโลกรัม ณ วันที่ 10 มกราคม 2555
ลำดับ จังหวัด ปริมาณหอมแดง ปริมาณนำเข้ากระเทียม
1 Banda Aceh, NAD 16,000 9,000
2 Medan, Sumut 10,000 7,500
3 Padang, Sumbar 9,750 9,000
4 Pekanbaru, Riau 9,500 0
5 Palembang, Sumsel 7,800 5,400
6 Bengkulu, Bengkulu 10,000 8,500
7 Bandar Lampung, Lampung 5,000 5,000
8 Jakarta, DKI Jakarta 7,000 6,300
9 Bandung, Jabar 7,000 7,500
10 Semarang, Jateng 5,750 6,750
11 Yogyakarta, DIY 5,000 7,000
12 Kupang, NTT 12,500 12,500
13 Pontianak, Kalbar 6,000 3,500
14 Manado, Sulut 16,000 0
15 Makassar, Sulsel 10,000 7,500
16 Kendari, Sultra 18,000 18,000
17 Mamuju, Sulbar 18,500 13,500
18 Jayapura, Papua 14,000 14,000
แหล่งที่มา : กระทรวงเกษตร ประเทศอินโดนีเซีย
ทำไมราคาถึงตกต่ำ ในสถานะการณ์ปกตินั้น อุปทานของหอมแดงในตลาดนั้นจากหอมแดงในประเทศ การตกต่ำของราคาของชาวสวนประมาณ 5,000 รูเปียห์ต่อกิโลกรัม เป็นเหตุการปกติตั้งแต่ฤดูเก็บเกี่ยวจากสิงหาคมถึงตุลาคม หลังจากฤดูเก็บเกี่ยวผ่านไป อุปทานในตลาดลดลง ราคาจะเพิ่มขึ้นถึง 6,000 — 7,000 รูเปียห์ต่อกิโลกรัม ในสถานะการณ์เช่นนี้ชาวสวนยังไม่กระทบกระเทือน กระทั่งชาวสวนบางคนอยู่ในตำแหน่งคุ้มทุนเมื่อราคาต่ำกว่า 5,000 รูเปียห์ แต่ถ้าราคาที่สวนได้รับ 5,300 รูเปียห์ต่อกิโลกกรัม ชาวสวนมีกำไรเล็กน้อย แต่การไหลทะลักเข้ามาของการนำเข้าหอมแดงทำให้ราคาที่ขายในตลาดอยู่ที่ 3,000 — 4,000 รูเปียห์ต่อกิโลกรัม ผู้ค้าปลีกในตลาดสับสน ทำให้หอมแดงพื้นเมืองไม่ประสบความสำเร็จ
อย่างไรก็ตามผู้ค้าจะสับสนในระยะเวลาสั้น ๆ ราคาหอมแดงพื้นเมืองในตลาดขายส่งนั้นจะลดลงเพื่อปรับกับราคาของหอมแดงที่นำเข้า ราคาใด ๆ ก็ตาม พ่อค้าไม่ต้องการที่จะเข้าใจความทรมานของชาวสวน และราคาซื้อที่ต่ำถึง 3,000 รูเปียห์ต่อกิโลกรัม หรือต่ำกว่า ผู้ค้าไม่รู้หรือถึงรู้ก็จะไม่ทำอะไรเลย ถ้าปริมาณการผลิตหอมแดง 10 ตันสำหรับ 100 วัน ชาวสวนจะต้องจ่ายถึง 50 ล้านรูเปียห์ นั่นคือราคามาตรฐานของหอมแดงจะอยู่ที่ 5,000 รูเปียห์ต่อกิโลกรัม กับราคามาตรฐานที่ชาวสวนจะไม่ขาดทุน แต่ไม่มีกำไร ถ้าราคาลดลงที่ 4,000 รูเปียห์ต่อกิโลกรัม หรือต่ำกว่าชาวสวนจะเป็นผู้เสียหาย อย่างที่รู้กันว่าหลายเดือนก่อนตั้งแต่เดือนธันวาคม 2011 ราคาหอมแดงของชาวสวนแค่ 3,000 รูเปียห์ต่อกิโลกรัมเท่านั้น นั่นหมายถึงความเดือดร้อนของเกษตรกร
อินโดนีเซียนำเข้าหอมแดงจากประเทศไทยเป็นหลัก ตามด้วยเวียตนาม และอินเดีย โดยสถิติตั้งแต่เดือนมกราคม ถึง เดือนตุลาคม 2011 จากตารางด้านล่าง
ประเทศที่อินโดนีเซียนำเข้าหอมแดงและหัวหอมใหญ่แยกตามประเทศ
หน่วย = ล้านเหรียญสหรัฐ
0703.10.29.00 Fresh Shallots
Rank Country 2009 2010 Jan — Oct % Share % Change
2010 2011 2010 2011
1 Thailand 13.02 13.98 12.05 34.29 42.8 46.6 18.5
2 Vietnam 5.51 8.14 8.14 19.37 28.9 26.3 138.1
3 India 1.9 5.5 3.92 10.08 13.9 13.7 157.2
4 Malaysia 2.99 2.62 1.97 4.21 7.0 5.7 113.8
5 Philippines 1.73 1.88 1.83 3.39 6.5 4.6 85.5
6 China 1.16 0.34 0.04 1.26 0.2 1.7 2,778.90
7 Taiwan 0.02 0.13 0.13 0.82 0.5 1.1 511.8
8 Singapore - - - 0.09 - 0.1 -
9 Pakistan - - - 0.02 - 0.0 -
10 France 0.0 0.03 0.02 0.02 0.1 0.0 -25.0
Other countries 1.25 0.04 0.04
TOTAL IMPORT 27.59 32.67 28.15 73.55 100 100 161.3
0703.10.19.00 Fresh/Chil Onions
Rank Country 2009 2010 Jan — Oct % Share % Change
2010 2011 2010 2011
1 India 1.65 8.56 4.27 13.37 29.0 47.7 213.3
2 New Zealand 2.67 4.55 4.55 5.93 30.9 21.1 30.2
3 China 0.22 2.89 1.59 3.17 10.8 11.3 98.8
4 Netherlands 6.94 2.28 1.53 2.55 10.4 9.1 67.5
5 Malaysia 0.51 1.49 0.91 1.04 6.2 3.7 14.4
6 United States 0.1 0.97 0.41 0.78 2.8 2.8 88.9
7 Australia 0.55 0.47 0.44 0.54 3.0 1.9 20.6
8 Thailand 0.06 0.69 0.68 0.42 4.6 1.5 -38.1
9 Vietnam - 0.01 0.01 0.17 0.1 0.6 1,353.10
10 France - 0.17 0.06 0.05 0.4 0.2 -17.6
Other countries 0.11 0.39 0.26 0.04
TOTAL IMPORT 12.81 22.48 14.71 28.05 100 100 90.7
Source of Data:Statistics Indonesia
พื้นที่เก็บเกี่ยว, ปริมาณการผลิต และปริมาณของหอมแดงในปี 2009 - 2010
Province 2009 2010
Harvest area Production Productivity Harvest area Production Productivity
(HA) (TON) (TON/HA) (HA) (TON) (TON/HA)
Aceh 604 2,868 4.75 666 3,615 5.43
North Sumatra 1,379 12,655 9.18 1,360 9,413 6.92
West Sumatra 2,416 21,985 9.1 2,699 25,058 6.28
Jambi 224 1,813 8.09 174 1,492 8.57
South Sumatra 7 17 2.43 31 74 2.39
Bengkulu 158 938 5.94 109 602 5.52
Lampung 62 300 4.84 69 369 5.35
West Java 10,837 123,587 11.4 12,168 116,396 9.57
Central Java 38,280 406,725 10.63 45,538 506,357 11.12
Yogyakarta 1,628 19,763 12.14 2,027 19,950 9.84
East Java 26,358 181,490 6.89 26,507 203,759 7.69
Banten 85 668 7.86 69 351 5.09
Bali 1,043 11,554 11.08 1,013 10,981 10.84
West Nusatenggara 13,105 133,945 10.22 10,159 104,324 10.27
East Nusatenggara 2,268 16,602 7.32 923 3,879 4.2
South Kalimantan 5 17 3.4 - - -
East Kalimantan 29 122 4.21 11 35 3.18
North Sulawesi 762 6,918 9.08 720 5,963 8.28
Central Sulawesi 1,051 6,490 6.18 1,280 10,301 8.05
South Sulawesi 2,629 13,246 5.04 3,180 23,276 7.32
South East Sulawesi 180 657 3.65 213 646 3.03
Gorontalo 134 405 3.02 119 240 2.02
West Sulawesi 350 881 2.52 131 348 2.66
Maluku 73 167 2.29 170 398 2.34
North Maluku 82 237 2.89 93 151 1.62
West Papua 66 327 4.95 77 477 6.19
Papua 194 787 4.06 128 499 3.9
INDONESIA 104,009 695,164 9.28 109,634 1,048,954 9.57
แหล่งที่มา : Central Bureau of Statistics, Indonesia.
รวบรวมโดย: Sardjono Tjakapawira
20/1/2012