ปี 2008 ปี 2009
Real GDP growth (%) 4.20 0.40 Consumer price inflation (av; %) 9.50 1.30 Budget balance (% of GDP) 33.60 -11.80 Current-account balance (% of GDP) 26.20 -11.70 Exchange rate ฅ:US$ (av) 3.75 3.75 โครงสร้างสินค้าออกของไทยกับซาอุดิอาระเบีย มูลค่า : สัดส่วน % % เพิ่ม/ลดล้านเหรียญสหรัฐฯ
สินค้าออกสำคัญทั้งสิ้น 1942.66 100.00 40.62 สินค้าเกษตรกรรม 124.64 6.42 128.94 สินค้าอุตสาหกรรมการเกษตร 126.01 6.49 32.21 สินค้าอุตสาหกรรม 1652.76 85.08 34.50 สินค้าแร่และเชื้อเพลิง 39.25 2.02 6,622.34 สินค้าอื่นๆ 0.0 0.0 -100.00 โครงสร้างสินค้าเข้าของไทยกับซาอุดิอาระเบีย มูลค่า : สัดส่วน % % เพิ่ม/ลดล้านเหรียญสหรัฐฯ
นำเข้าทั้งสิ้น 7,263.49 100.00 58.77 สินค้าเชื้อเพลิง 6,468.77 89.06 62.17 สินค้าทุน 0.41 0.01 40.92 สินค้าวัตถุดิบและกึ่งสำเร็จรูป 792.87 10.92 35.63 สินค้าบริโภค 1.41 0.02 94.28 สินค้ายานพาหนะและอุปกรณ์ขนส่ง 0.03 0.00 611.65 สินค้าอื่นๆ 0.00 0.00 -100.00 1. มูลค่าการค้า มูลค่าการนำเข้า ส่งออก และดุลการค้าของไทย - ซาอุดิอาระเบีย 2550 2551 D/%(ม.ค.-ธค.) ล้านเหรียญสหรัฐฯ
มูลค่าการค้ารวม 5,956.23 9,206.16 54.56 การส่งออก 1,381.46 1,942.66 40.62 การนำเข้า 4,574.76 7,263.49 58.77 ดุลการค้า -3,193.30 -5,320.83 66.62 2. การนำเข้า ประเทศไทยนำเข้าจากตลาดซาอุดิอาระเบีย เป็นอันดับที่ 12 มูลค่า 7,263.49 ล้านเหรียญสหรัฐ เพิ่มขึ้น ร้อยละ 58.77 สินค้านำเข้าสำคัญ 5 อันดับแรก ได้แก่ มูลค่า : สัดส่วน % % เพิ่ม/ลดล้านเหรียญสหรัฐฯ
มูลค่าการนำเข้ารวม 7263.49 100.00 58.77 1.น้ำมันดิบ 6269.15 86.31 78.74 2.เคมีภัณฑ์ 381.88 5.26 17.77 3.ปุ๋ย และยากำจัดศัตรูพืชฯ 366.48 5.05 52.33 4.ก๊าซธรรมชาติ 117.17 1.61 5.น้ำมันสำเร็จรูป 82.04 1.13 -78.83 อื่น ๆ 0.16 0.00 -99.83 3. การส่งออก ประเทศไทยส่งออกไปตลาดซาอุดิอาระเบีย เป็นอันดับที่ 20 มูลค่า 1,942.66 ล้านเหรียญสหรัฐ เพิ่มขึ้นร้อยละ 40.62 สินค้าส่งออกสำคัญ 5 อันดับแรก ได้แก่ มูลค่า : สัดส่วน % % เพิ่ม/ลดล้านเหรียญสหรัฐฯ มูลค่าการนำเข้ารวม
1.รถยนต์ อุปกรณ์และฯ 813.19 41.86 24.34 2.เหล็ก เหล็กกล้าและฯ 232.53 11.97 165.28 3.ข้าว 100.97 5.20 173.41 4.อาหารทะเลกระป๋องและฯ 79.14 4.07 26.34 5.เครื่องปรับอากาศและฯ 75.66 3.89 72.96 อื่น ๆ 4. ข้อสังเกต 4.1 สินค้าส่งออกสำคัญของไทยไปซาอุดิอาระเบีย ปี 2551 (มค.- ธค.) ได้แก่รถยนต์ อุปกรณ์และส่วนประกอบ : ซาอุดิอาระเบีย เป็นตลาดส่งออกสำคัญอันดับที่ 5 ของไทย เมื่อพิจารณามูลค่าการส่งออกปี 2547 - 2551 พบว่ามีอัตราขยายตัวเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่องร้อยละ 207.83 31.04 5.69 และ 24.34 ตามลำดับ เมื่อเทียบกับช่วงเวลาเดียวกันของปีก่อน
เหล็ก เหล็กกล้าและฯ : ซาอุดิอาระเบีย เป็นตลาดส่งออกสำคัญอันดับที่ 9 ของไทย และเมื่อพิจารณามูลค่าการส่งออกปี 2547 — 2551 พบว่ามีอัตราขยายตัวเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่องร้อยละ 22.82 283.37 15.18 และ 165.28 ตามลำดับ เมื่อเทียบกับช่วงเวลาเดียวกันของปีก่อน
ข้าว : เมื่อพิจารณามูลค่าการส่งออกปี 2551 (มค.-ธค.) พบว่ามีอัตราการขยายตัวเพิ่มขึ้น 173.41 เมื่อเทียบกับช่วงเวลาเดียวกัน ของปีก่อน
อาหารทะเลกระป๋องและฯ : ซาอุดิอาระเบียเป็นตลาดส่งออกสำคัญอันดับที่ 10 ของไทยเมื่อพิจารณามูลค่าการส่งออกปี2551(มค.-ธค.) พบว่ามีอัตราขยายตัวเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่องร้อยละ 12.96 32.85 21.26 และ 26.34 ตามลำดับ เมื่อเทียบกับช่วงเวลาเดียวกันของปีก่อน
เครื่องปรับอากาศและฯ : เมื่อพิจารณามูลค่าการส่งออก ปี 2551 (มค.-ธค.) มีอัตราขยายตัวเพิ่มขึ้นร้อยละ 72.965 เมื่อเทียบกับช่วงเวลาดียวกันของปีก่อน
สถานการณ์เศรษฐกิจในตะวันออกกลางมีจุดแข็ง คือ เศรษฐกิจขยายตัวในอัตราสูง เนื่องจากการเพิ่มขึ้นของราคาน้ำมัน คาดว่าเศรษฐกิจในกลุ่มรัฐอ่าวอาหรับ 6 ประเทศ จะมีขนาดใหญ่กว่า 1 ล้านล้านเหรียญสหรัฐ ในปี 2008 และราคาน้ำมันก็ยังไม่มีท่าทีจะลดลงมีความพยายามที่จะทำเศรษฐกิจให้หลากหลายไม่พึ่งน้ำมันอย่างเดียว เช่น การท่องเที่ยว อุตสาหกรรม ธุรกิจการเงินการธนาคาร และอสังหาริมทรัพย์ ขณะเดียวกันจะต้องแก้ไขจุดอ่อน ได้แก่ เครื่องมือการเงินในการดูแลการเคลื่อนไหวเงิน เช่น ในปัจจุบันกลุ่มรัฐอ่าวอาหรับยังไม่มีเครื่องมือที่มีประสิทธิภาพในการควบคุมเงินต่างประเทศที่ไหลบ่าเข้ามา นโยบายค่าเงินที่เหมาะสม เช่น การเลิกผูกค่าเงินกับเงินเหรียญสหรัฐ การสร้างเงินสกุลใหม่สำหรับกลุ่มประเทศรัฐอ่าวอาหรับ การขจัดคอขวดทางโครงสร้างพื้นฐาน การสร้างระบบโลจิสติกส์ที่มีประสิทธิภาพ และการจัดการปัญหาอาหาร การแก้ปัญหาความแตกแยกและการพัฒนาประชาธิปไตยอย่างเป็นขั้นตอน ตะวันออกกลางเผชิญวิกฤตเศรษฐกิจใหญ่ระดับโลก ที่คาดหมายว่าจะเลวร้ายกว่านี้อีก ในการเอาตัวให้รอดต้องสร้างเครื่องมือและมาตรการทางเศรษฐกิจต่างๆ เช่น ความสามารถในการบริการการเงิน ความสามารถในการปฏิบัติเมกะโปรเจกต์ ความสามารถในการแก้ปัญหาการว่างงาน ความสามารถในการสร้างสกุลเงินที่ใหญ่ขึ้น เช่น ในกลุ่มรัฐอ่าวอาหรับ ความสามารถในการสนองอาหาร ความสามารถในการสร้างเขตเศรษฐกิจที่ใหญ่ขึ้นในภูมิภาค
กระทรวงพาณิชย์ เร่งผลักดันเอสเอ็มอีไทยเปิดตลาดใหม่ กลุ่มประเทศตะวันออกกลาง โดยเฉพาะสินค้ากลุ่มสุขภาพ ยังมีโอกาสเปิดอีกกว้าง โดยประเทศในตะวันออกกลาง ได้แก่ คูเวต กาตาร์ บาห์เรน และสหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ พร้อมเดินหน้าทำการค้ากับไทย โดยจะมีการจับคู่ทางธุรกิจระหว่างกัน เน้นธุรกิจสุขภาพ แฟรนไชส์ ยานยนต์และชิ้นส่วน อาหารและอาหารสำเร็จรูป ผลไม้กระป๋อง และเครื่องทำความเย็น ทั้งนี้ ในส่วนของกระทรวงพาณิชย์จะมีการนำผู้ประกอบการรายใหญ่และผู้ประกอบการที่ผ่านการอบรมจากกรมพัฒนาธุรกิจการค้าซึ่งจะมีความแข็งแกร่ง โดยเน้นภาคธุรกิจขนาดกลางและขนาดย่อม (เอสเอ็มอี) ไปเปิดตลาดในประเทศเหล่านี้เพิ่มมากขึ้น ซึ่งแต่ละปีมูลค่าการค้าทั้งสี่ประเทศรวมกัน 18,000 ล้านดอลลาร์สหรัฐ ขยายตัวร้อยละ 40-50 ถือว่าน้อยมาก หากเปรียบเทียบกับโอกาสทางการตลาด และศักยภาพในการซื้อของประเทศเหล่านี้ อย่างไรก็ตาม กระทรวงพาณิชย์ได้นำเอสเอ็มอีมาเยือนเพื่อเปิดตลาด โดยการเยือนครั้งล่าสุด ถือว่าประสบความสำเร็จ เพราะนอกจากจะกระชับความสัมพันธ์ทางการทูตแล้ว ยังเพิ่มมูลค่าการค้าระหว่างกันให้สูงขึ้น ซึ่งโอกาสที่ไทยจะเติบโตในตลาดตะวันออกกลางยังมีอีกมาก ทั้งนี้ บางประเทศใน 4 ประเทศได้ขอให้ไทยจัดทำการค้าแบบบาร์เตอร์เทรด หรือรัฐต่อรัฐ โดยตะวันออกกลางยังต้องการสินค้าไทย เช่น ข้าว ข้าวโพด มันสำปะหลัง และอยากให้ไทยแลกเปลี่ยนสินค้า เช่น น้ำมัน แก๊ส และปุ๋ย โดยกระทรวงพาณิชย์จะเสนอแผนให้รัฐบาลพิจารณาต่อไป พร้อมกันนี้ไทยจะเดินหน้าจัดงานไทยแลนด์เอ็กซิบิชั่น และเทรดแฟร์ต่าง ๆ ในตะวันออกกลาง เพื่อให้รับรู้ว่าสินค้าไทยมีคุณภาพและหลากหลาย
ที่มา: http://www.depthai.go.th