1. ทำความรู้จักตลาด การผลิตและการบริโภค
2. การนำเข้าจากต่างประเทศ
3. สินค้าอาหารไทยในญี่ปุ่น
4. กฏระเบียบ /ข้อจำกัดทางการค้า
5. แนวโน้ม โอกาสและลู่ทางตลาด
6. รูปแบบ บรรจุภัณฑ์ และการนำเสนอสินค้า
ประชากร 127.7 ล้านคน รายได้เฉลี่ยต่อหัว 32,840 ดอลลาร์ ต่อปี การพึ่งพาตนเองด้านอาหาร ร้อยละ 40 สัดส่วนอาหารนำเข้า ร้อยละ 60 มูลค่านำเข้าสินค้าอาหาร ปี 2551
- 55,089 ล้านดอลลาร์ เพิ่ม 18.1 %
- 3,131.0 ล้านดอลลาร์ เพิ่ม 33.9 %
1. เป็นสังคมผู้สูงอายุ ครอบครัวมีขนาดเล็ก มีนิสัยชอบทดลองชิมอาหารใหม่ๆ และนิยมทานนอกบ้าน จึงมีร้านขายอาหารจำนวนมากและกระจายอยู่ทั่วไป
2. ผลิตอาหารสำหรับบริโภคได้เพียง 40 % จำเป็นต้องนำเข้า 60 % (คำนวนจากแคลอรี่ที่บริโภค)
3. ใช้จ่ายเงินเพื่อการซื้ออาหาร คิดเป็นร้อยละ 17 ของรายได้ โดยบริโภคอาหารแช่แข็งเฉลี่ย 19.4 กิโลกรัม/คน/ปี
4. ให้ความสำคัญสูงสุดเรื่องความปลอดภัย สุขอนามัยและคุณภาพ
5. เป็นสังคมของความรู้ ผู้บริโภคติดตามข้อมูลข่าวสารต่างๆจากทั่วโลก
6. ผู้ซื้อเชื่อมั่นว่าสินค้าของญี่ปุ่นหรือที่ผลิตโดยญี่ปุ่นมีคุณภาพดี เชื่อใจได้
- จำนวนโรงงานแปรรูปอาหารแช่แข็ง (731 โรงงานในปี 2551) ลดลงทุกปี
- ผลผลิตรวม 1,471.4 พันตัน ลดลง 3.7 % มูลค่า 6.39 พันล้านดอลลาร์สหรัฐฯ
- 65% ที่ผลิตนำไปใช้ในอุตสาหกรรม 35 % วางจำหน่ายปลีก
- 83.6% ของอาหารแช่แข็งที่ผลิตในประเทศ เป็นอาหารกึ่งสำเร็จรูปผัก-ผลไม้(7%) ขนมหวาน(4.4%) อาหารทะเล(4.4%)
- ชนิดอาหารแช่แข็งที่ผลิตมากที่สุดตามลำดับ คือ Croquette, Cutlet, ไก่ทอด ปลาหอยนางรมทอด ปลาหมึก meatball ผลิตภัณฑ์ข้าวแฮมเบอร์เกอร์ Spring roll, pizza
- อาหารทะเลแช่แข็ง เช่น ปลา ปลาหมึก กุ้ง หอยและปู
ปี2550 ปี2551 สัดส่วนร้อยละ Croquette Croquette 11.6 Noodle (udon) Noodle (udon) 9.2 Fried rice Fried rice 8.0 Cutlet Cutlet 4.6 Hamburger Confectionery 4.4 Confectionery Hamburger 4.3 Gyoza Meat bal 2.5 Shao mai Shao mai 2.3 Meat ball Gyoza 2.3 Egg product Gratin 2.3 2. การนำเข้า
ในปี 2551 นำเข้าอาหารทุกชนิดมูลค่า 55,089 ล้านดอลลาร์เพิ่ม 18.11 % จากปี 2550 ประกอบด้วย
- อาหารทะเลสด/แช่แข็ง 11,603.0 ล้านดอลลาร์เพิ่ม 13. 5 %
- ข้าวและธัญพืช 10,319.3 ล้านดอลลาร์ เพิ่ม 55.5%
- เนื้อสัตว์และปลาแปรรูป 4,593.1 ล้านดอลลาร์ เพิ่ม 1.2 %
- เครื่องดื่ม 2,925.1 ล้านดอลลาร์ เพิ่ม 3.7 %
- ผัก-ผลไม้แปรรูป 2,890.2 ล้านดอลลาร์ เพิ่ม 1.2%
- ผลไม้สด 2,461.9 ล้านดอลลาร์ เพิ่ม 8.3 %
- ผักสด/แช่เย็น 1,689.2 ล้านดอลาร์ ลด 3.7 %
- ก๋วยเตี๋ยวพาสต้า 1,191.5 ล้านดอลลาร์ เพิ่ม 12.8%
แหล่งนำเข้า 2006 2007 2008 % เพิ่ม/ลด
08/07
ทั่วโลก 44,359.38 46,640.80 55,088.92 18.11 สหรัฐอเมริกา 9,111.40 10,887.91 15,133.63 38.99 จีน 8,180.51 7,802.08 7,182.92 -7.94 ออสเตรเลีย 3,937.40 3,956.39 4,433.53 12.06 ไทย 2,286.07 2,337.60 3,130.80 33.93 แคนาดา 1,860.08 1,997.33 2,721.17 36.24 Source : Japan Customs 3. สินค้าอาหารที่ญี่ปุ่นนำเข้าจากไทย (ล้านเหรียญ สหรัฐฯ) ชนิดสินค้า 2006 2007 2008 % 08/07 รวมทุกสินค้า 2,286.1 2,337.6 3,130.8 33.93 1. ไก่แปรรูป 332.8 346.5 672.6 91.11 2. อาหารทะเลกระป๋องและแปรรูป 448.3 450.9 560.0 24.19 3. เนื้อปลา/อาหารทะเลอื่น แช่เย็น/แช่แข็ง 358.5 382.6 465.5 21.67 4. น้ำตาลทราย 158.5 146.2 244.6 67.30 5. ผลิตภัณฑ์มันสำปะหลัง 125.9 162.4 233.0 43.45 6. กุ้งสดแช่เย็นแช่แข็ง 192.4 215.4 217.8 1.11 7. ผัก-ผลไม้กระป๋องและแปรรูป 117.4 117.0 139.6 19.32 8. ผลิตภัณฑ์จากข้าวและอาหารสำเร็จรูปอื่น 108.3 101.9 128.6 26.20 9. ผัก-ผลไม้สด แช่เย็นแช่แข็งและแห้ง 98.7 92.1 94.0 2.06 10. ข้าว 35.2 47.0 91.1 93.98 11. สิ่งปรุงรสอาหาร 38.6 41.2 53.1 23.80 12. ธัญพืช / เครื่องเทศและสมุนไพร 18.3 26.8 28.8 7.46 13. ผลิตภัณฑ์อาหารอื่นๆ 253.2 207.6 202.1 -2.65 ที่มา: 1) Japan Customs 2)Thailand Customs แหล่งนำเข้า และชนิดอาหารแช่แข็ง
จีน : Fried fish, fried cuttlefish, fired chicken, Tempura, pork & chicken cutlet, spring roll, teriyaki, eel, Peking duck
ไทย : Fried fish, mix tempura, fried chicken, fried chicken Japanese style, pork cutlet, shrimp cutlet, sweet & sour pork, takoyaki, dim sum
เวียดนาม : Fried shrimp, shrimp cutlet, fried octopus, shrimp gyoza, okonomiyaki, dim sum
อินโดนีเชีย : Fried shrimp, shrimp cutlet, shrimp tempura, fried eggplant, grilled mix vegetable
สหรัฐ : Fried onion ring, French toast, pita bread, Italian sausage, brownie, cheese cake
อื่นๆ : Fried marine food
ปริมาณการนำเข้าอาหารแช่แข็งจากไทยและจีน
ปริมาณ — ตัน (%เทียบกับปีที่ผ่านมา)
ปี จีน ไทย อื่นๆ 2000 77,333 (141.9%) 39,085 (120.8%) 11,330 (90.3 %) 2003 144,430 (114.5%) 62,102 (114.0%) 16,293 (124.6%) 2005 187,455 (115.4%) 79,329 (111.9%) 24,314 (93.1%) 2006 200,643 (107.0%) 88,041 (111.0%) 26,761 (110.1%) 2007 212,590 (106.0%) 84,055 (95.5%) 23,151 (86.5%) 2008 128,373 (60.4%) 87,912 (104.6%) 15,938 (68.8%) ที่มา - สมาคมอาหารแช่แข็งญี่ปุ่น กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการนำเข้า
1. Food Sanitation Law : ควบคุมด้านคุณภาพ ความปลอดภัย
2. Plant Protection Law สำหรับสินค้าเกษตร พืชผัก ผลไม้
เว็บไซต์ข้อมูล:-
www.mhlw.go.jp/english/ (Ministry of Health, Labour and Welfare, Japan)
www.tistr-foodprocess.net (สถาบันอาหาร กระทรวงอุตสาหกรรม)
www.pps.go.jp/english/ (Ministry of Agricuture, Forestry and Fisheries, Japan)
www.acfs.go.th (สำนักงานมาตรฐานสินค้าเกษตรและอาหารแห่งชาติ กระทรวงเกษตรฯ)
www.jetro.org.jp สำนักงานเจโทร
ประเภทสินค้า กฎหมายที่ใชบังคับ เหตุผลของการใช้ สินค้าอาหารทั้งหมด Food Sanitation Law ความปลอดภัยด้านสุขอนามัย ผลิตภัณฑ์ปศุสัตว์ Domestic Animal Infectious ป้องกันการแพร่ระบาดของโรคสัตว์
Diseases Control Law
ผลิตภัณฑ์ทางการเกษตร Plant Protection Law ป้องกันการแพ่ระบาดและ
เรื้อรังของโรคพืชและแมลง
ผลิตภัณฑ์ประมง Foreign Exchange and จำกัดชนิดและปริมาณการนำเข้า
Foreign Trade Law
การตรวจสอบสินค้าอาหารที่นำเข้า
การตรวจสอบ ผักและผลไม้ เนื้อสัตว์และ สินค้าประมง อาหารแปรรูป ผลิตภัณฑ์ อื่นๆ กักกันโรคสัตว์ / Animal quarantine กักกันโรคพืช Plant quarantine / สุขอนามัยและความ / / / / ปลอดภัยอาหาร Food Sanitary Inspection พิธีการศุลกากร / / / / Custom Inspection อัตราภาษีเข้า ระหว่าง 0-19% ศึกษาข้อมูลและตรวจสอบได้ที่ http://www.customs.go.jp/englishtariff/2009_4/data03.htm ประเด็นสุขอนามัยสินค้าอาหารทะเลแช่แข็ง อาหารทะเลแปรรูป
- ต้องมีเอกสารรับรองสุขอนามัยของหน่วยงานไทยที่ญี่ปุ่นเห็นชอบ
- มี sodium saccharin ตกค้างน้อยกว่า 0.2 g/kg.
- สินค้าที่ผ่าน pre-certification ไม่ต้องหยุดตรวจที่ด่าน แต่จะเก็บตัวอย่างตาม Food sanitation law
- ญี่ปุ่นใช้ระบบ pre certification เทียได้กับระบบ HACCP
- เนื้อปลาสดที่ใช้ทำซาซิมิต้องระบุรายละเอียด bacillus ไม่เกิน 100,000 /g มีค่า coliform bacteria เป็น negative
- กุ้งแช่เย็น แช่แข็ง ต้องไม่มี oxolinicacid และ Oxytetracycline ตกค้าง
- ค่า Escherichai-Cli (E-coli) เป็นลบ ญี่ปุ่นอนุโลมให้นำเข้าได้เฉพาะโรงงานที่ผ่านการตรวจสอบจากกรมประมง เท่านัน
- อาหารนำเข้าและอาหารแช่แข็งเป็นส่วนหนึ่งในชีวิตประจำวันที่ผู้บริโภคคุ้นเคย จึงมีอาหารชั้นดีจากทั่วโลกเข้าไปขายแข่งขันกัน
- บริโภคอาหารตามฤดูกาล
- ชอบสังสันและทานอาหารในกลุ่มเพื่อน อาหารแช่แข็งสำหรับธุรกิจภัตตาคาร ร้านสะดวกซื้อ และอาหารสำเร็จพร้อมทานมีตลาดใหญ่ขึ้น
- ตื่นตระหนกต่อการสารการพบสินค้าอ้อยคุณภาพและจดจำไปนาน เรื่องสุขอนามัยและความปลอดภัยเป็นเรื่องสำคัญที่สุด
- ตื่นตัวต่อการสร้างกระแสใหม่ๆ บริโภคสินค้าตามแฟชั่น และคาดหวังว่าจะมีอาหารเมนูใหม่ๆออกสู่ตลาดอยู่เสมอ
- บรรจุภัณฑ์มีความสำคัญ นอกจากปกป้องสินค้าแล้ว ควรสวยงาม ขนาดบรรจุเล็ก สะดวกแกก่การเปดิดใช้/บริโภค และเก็บรักษา
- อาหารสดที่ไม่อนุญาตให้นำเข้า สามารถนำเข้าได้ในรูปอาหารแช่แข็งและอาหารแปรรูป
- ชาวญี่ปุ่นคุ้นเคยกับอาหารแช่แข็ง
- ในช่วงเศรษฐกิจถดถอย อาหารสำเร็จรูปแช่แข็งยิ่งขยายตัว โดยเฉพาะอาหารสำเร็จรูปแช่แข็งสำหรับธุรกิจภัตตาคาร
- ผู้ซื้อเชื่อมั่นในคุณภาพ มาตรฐาน ความปลอดภัยของอาหารไทย
- ไม่ควรจำกัดเฉพาะการผลิตอาหารไทย แตค่ วรเพิ่มการเปน็น Global food
- อาหารญี่ปุ่นกำลังได้รับความนิยมในหลายประเทศ ญี่ปุ่นต้องการซื้อส่งออกไปประเทศที่สาม
- ส่งเสริมการจำหน่ายสินค้าผัก-ผลไม้และอาหารไทยร่วมกับ ผู้นำเข้า/ซุบเปอร์มาร์เก็ตขนาดใหญ่
- ส่งเสริมการใช้วัตถุดิบและเครื่องปรุงอาหารไทย
- ประชาสัมพันธ์เพื่อสร้างภาพหลักเกษณฑที่ ดีของการเป็นครัวโลก
- ส่งเสริมอาหารไทยและเครื่องหมาย Thai Select
- ย้ำภาพลักษณ์อาหารไทย อาหารปลอดภัยทุกขั้นตอน
- ส่งเสริมให้ชาวญี่ปุ่นรู้วิธีทำอาหารไทย และการนำผลไม้ไทย แปรรูปเป็นอาหารของครัวเรือน
- อื่นๆ ฯลฯ
Thai Trade Center Tokyo
5-4-6F, Kojimachi, Chiyoda-ku, Tokyo 102-0083
tel: 813-3221 9482-3, fax. 813-3221 9484, e-mail : [email protected]
Thai Trade Center Osaka
1-9-16-8F, Kyutaromachi, Chuo-ku, Osaka 541-0058
Tel: 816-6262 4418, fax: 816-6271 1053, e-mail: [email protected]
Thai Trade Center Fukuoka
1-13-2-8F, Tenjin, Chuo-ku, Fukuoka 810-0001
tel: 8192-751 6311, fax: 8192-651 6522, e-mail: [email protected]
Hiroshima Representative Office
3-7-47-5F, Sendamachi, Naka-ku, Hiroshima 730-0052
tel: 8182-249 9911, fax: 8182-249 9921, e-mail: [email protected]
ที่มา: http://www.depthai.go.th