รายงานภาวะเศรษฐกิจรายสัปดาห์ (Weekly) ณ 20 พ.ค. 65

ข่าวเศรษฐกิจ Monday May 23, 2022 15:20 —กระทรวงการคลัง

เศรษฐกิจไทย

? เศรษฐกิจไทยในไตรมาส 1 ปี 65 ขยายตัวร้อยละ 2.2 ต่อปี ปรับตัวดีขึ้น

จากการขยายตัวร้อยละ 1.8 ต่อปี ในไตรมาส 4 ปี 64

? ดัชนีความเชื่อมั่นภาคอุตสาหกรรม (TISI) เดือน เม.ย. 65 ลดลงอยู่ที่

ระดับ 86.2 จากระดับ 89.2 ในเดือนก่อนหน้า

? ปริมาณการจาหน่ายปูนซีเมนต์ภายในประเทศเดือน เม.ย. 65 หดตัวที่

ร้อยละ -7.4 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน

เครื่องชี้เศรษฐกิจไทย

เศรษฐกิจไทยในไตรมาส 1 ปี 65 ขยายตัวร้อยละ 2.2 ต่อปี ปรับตัวดีขึ้นจากการขยายตัวร้อยละ

1.8 ต่อปี ในไตรมาส 4 ปี 64 และเมื่อปรับผลของฤดูกาลออกแล้ว เศรษฐกิจไทยในไตรมาส 1

ปี 65 ขยายตัวจากไตรมาสก่อนหน้าร้อยละ 1.1

ในส่วนของภาคการผลิต การผลิตสินค้าเกษตรกรรมขยายตัวร้อยละ 4.1 โดยผลผลิตพืชสาคัญที่ขยายตัว

เช่น ข้าวเปลือก อ้อยโรงงาน ปาล์มน้ามัน สับปะรด การผลิตในหมวดปศุสัตว์ขยายตัวจากผลผลิตไก่เนื้อและไข่

ไก่ที่เร่งตัวขึ้น และผลผลิตสุกรปรับตัวดีขึ้น การผลิตสินค้าอุตสาหกรรมขยายตัวร้อยละ 1.9 โดยการผลิต

กลุ่มอุตสาหกรรมเบาขยายตัวอย่างต่อเนื่อง และการผลิตสาขาบริการขยายตัวร้อยละ 2.9 โดยสาขาการขายส่ง

และการขายปลีก ขยายตัวร้อยละ 2.9 ตามการผลิตสินค้าเกษตรที่เพิ่มสูงขึ้น ขณะที่การผลิตสินค้า

อุตสาหกรรมและการนาเข้าสินค้ายังขยายตัวได้ สาขาที่พักแรมและบริการด้านอาหาร ขยายตัวร้อยละ 34.1

เป็นการเพิ่มขึ้นทั้งบริการที่พักแรม และบริการด้านอาหาร ปัจจัยหลักมาจากนักท่องเที่ยวต่างชาติที่เดินทางเข้า

ประเทศ รวมถึงมาตรการกระตุ้นการท่องเที่ยวในประเทศของภาครัฐ

Thailand?s Real GDP (Q4/64)

3

ที่มา : สานักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ (สศช.)

โดยองค์ประกอบสาคัญที่ทาให้เศรษฐกิจไทยในไตรมาส 1 ปี 65 ปรับตัวดีขึ้นมาจาก (1) การบริโภค

ภาคเอกชน ขยายตัวร้อยละ 3.9 โดยปัจจัยสนับสนุนที่สาคัญยังคงมาจากมาตรการเพื่อกระตุ้นการใช้จ่ายของ

ภาครัฐ รวมทั้งการผ่อนคลายมาตรการต่าง ๆ ส่งผลให้กิจกรรมทางเศรษฐกิจเริ่มปรับตัวดีขึ้นอย่างต่อเนื่อง

โดยเฉพาะกิจกรรมที่เกี่ยวเนื่องกับด้านการท่องเที่ยว (2) การลงทุนภาคเอกชน ขยายตัวร้อยละ 2.9 ปัจจัย

สาคัญมาจากการเพิ่มขึ้นของการลงทุนในหมวดยานพาหนะ สอดคล้องกับยอดการจดทะเบียนรถยนต์นั่ง

ส่วนบุคคลและรถบรรทุก (3) การบริโภคภาครัฐ ขยายตัวร้อยละ 4.6 โดยการโอนเพื่อสวัสดิการสังคม

ที่ไม่เป็นตัวเงินสาหรับสินค้าและบริการในระบบตลาดขยายตัวเร่งขึ้น และ (4) การส่งออกสินค้าและบริการ

ขยายตัวต่อเนื่องร้อยละ 12.0 โดยการส่งออกสินค้า ขยายตัวที่ร้อยละ 10.2 เป็นผลจากการขยายตัวของ

การส่งออกสินค้าอุตสาหกรรมเป็นสาคัญ การส่งออกผลผลิตทางการเกษตรที่สาคัญบางชนิดยังขยายตัวได้

อาทิ ยางพารา เช่นเดียวกับการส่งออกข้าวที่ขยายตัวได้ โดยเฉพาะในตลาดเอเชีย และการส่งออกบริการ

ขยายตัวร้อยละ 30.7 เป็นการขยายตัวในระดับสูงต่อเนื่องจากไตรมาสก่อนหน้าจากรายรับจากการท่องเที่ยว

และรายรับจากบริการขนส่งสินค้า ที่ขยายตัวในระดับสูง

เครื่องชี้เศรษฐกิจไทย

6

ดัชนี TISI เดือน เม.ย. 65 ปรับตัวลงจากเดือนก่อนหน้าในทุกองค์ประกอบของดัชนี โดยมีปัจจัยกดดันจากปัญหา

ต้นทุนการผลิตที่เพิ่มสูงขึ้น และค่าเงินบาทที่อ่อนค่าลง ประกอบกับกาลังซื้อที่ชะลอลงของผู้บริโภคจากปัญหาเงินเฟ้อ

และหนี้ครัวเรือนที่อยู่ในระดับสูง อีกทั้งสถานการณ์ความขัดแย้งระหว่างรัสเซียและยูเครนที่ยังคงไม่คลี่คลาย ได้ส่งผล

กระทบต่อการค้าโลก และการนาเข้าสินค้าของไทย อาทิ อาหารสัตว์ ปุ๋ยเคมี สินค้ากลุ่มโลหะ ขณะที่ในระยะถัดไป

ความเชื่อมั่นของผู้ประกอบการยังมีแนวโน้มลดลง จากราคาพลังงานที่คาดว่าจะยังคงอยู่ในระดับสูง ส่งผลให้ดัชนีความ

เชื่อมั่นคาดการณ์ในอีก 3 เดือนข้างหน้า ลดลงมาอยู่ที่ระดับ 95.9 จากระดับ 99.6 ในเดือนก่อน

เดียวกันของปีก่อน และหดตัวร้อยละ -1.4 เมื่อเทียบกับเดือนก่อนหน้าหลังหักผลทางฤดูกาล

Cement Sales

-15.0

-10.0

-5.0

0.0

5.0

10.0

15.0

20.0

25.0

Jan-19

Mar-19

May-19

Jul-19

Sep-19

Nov-19

Jan-20

Mar-20

May-20

Jul-20

Sep-20

Nov-20

Jan-21

Mar-21

May-21

Jul-21

Sep-21

Nov-21

Jan-22

Mar-22

%YoY %MoM_Sa

โดยในเดือน เม.ย. 65 ยอดจาหน่ายปูนซีเมนต์หดตัวต่อเนื่อง เมื่อเทียบรายปีและเดือนก่อนหน้า โดยมีปัจจัย

สาคัญจากราคาปูนซีเมนต์ที่ปรับเพิ่มขึ้นต่อเนื่องตามราคาต้นทุนวัตถุดิบ ถ่านหิน และน้ามัน ส่งผลโดยตรงต่อ

ความเชื่อมั่นและกาลังซื้อของผู้บริโภคและผู้ประกอบการให้ลดลง ประกอบกับสถานการณ์ฝนตกในหลายพื้นที่

ส่งผลให้การก่อสร้างบางส่วนหยุดชะงัก

เครื่องชี้เศรษฐกิจต่างประเทศ

สหรัฐฯ

ยอดค้าปลีก เดือน เม.ย. 65 ขยายตัวที่ร้อยละ 8.7 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน กลับมา

ขยายตัวเร่งขึ้น หลังเดือนก่อนหน้าขยายตัวชะลอลงที่ร้อยละ 7.3 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน

สะท้อนการบริโภคในประเทศที่ยังขยายตัวได้ดี แม้อัตราเงินเฟ้ออยู่ในระดับสูง

ผลผลิตภาคอุตสาหกรรม เดือน เม.ย. 65 ขยายตัวที่ร้อยละ 5.5 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน

ชะลอลงจากเดือนก่อนหน้าที่อยู่ที่ร้อยละ 5.5 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน และเป็นการปรับตัว

ลดลงครั้งแรกหลังปรับตัวเพิ่มขึ้นต่อเนื่องถึง 7 เดือน

ดัชนีราคากลางบ้าน เดือน ก.พ. 65 ขยายตัวที่ร้อยละ 2.1 จากเดือนก่อนหน้า (ขจัดผลทาง

ฤดูการแล้ว) เร่งขึ้นจากเดือนก่อนหน้าที่อยู่ที่ร้อยละ 1.6 เป็นผลจากราคากลางบ้านในเขต

Mountain Midwest East South Central และ Northeast ที่ปรับตัวเพิ่มขึ้นเป็นสาคัญ

ยอดขายบ้านใหม่ เดือน มี.ค. 65 หดตัวที่ร้อยละ -8.6 จากเดือนก่อนหน้า (ขจัดผลทางฤดูกาล

แล้ว) เร่งขึ้นจากเดือนก่อนหน้าที่อยู่ที่ร้อยละ -1.2 โดยมียอดขายบ้านใหม่หดตัวลงในทุกพื้นที่

จานวนผู้ขอรับสวัสดิการว่างงานครั้งแรกรายสัปดาห์ (7-14 พ.ค. 65) อยู่ที่ระดับ 2.18

แสนราย ปรับตัวเพิ่มขึ้นจากสัปดาห์ก่อนหน้าที่ระดับ 1.97 แสนราย เป็นระดับที่สูงที่สุดในรอบ

10 สัปดาห์ อย่างไรก็ดี อยู่ในระดับใกล้เคียงกับค่าเฉลี่ยต่อสัปดาห์ในช่วงก่อนเกิดการแพร่ระบาด

ที่ 2.15 แสนราย ขณะที่จานวนผู้ยื่นขอรับสวัสดิการว่างงานระยะเฉลี่ย 4 สัปดาห์ (4 week

moving average) ซึ่งขจัดความผันผวนรายสัปดาห์แล้ว ปรับตัวเพิ่มขึ้นจากสัปดาห์ก่อน

มาอยู่ที่ 1.99 แสนราย

ผลผลิตอุตสาหกรรม เดือน เม.ย. 65 หดตัวที่ร้อยละ -2.9 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน ขณะที่

เดือนก่อนหน้าขยายตัวที่ร้อยละ 5.0 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน ซึ่งเป็นการหดตัวครั้งแรก

นับตั้งแต่เดือน เม.ย. 63 เนื่องจากมาตรการล็อกดาวน์โควิด-19 ที่ขยายวงกว้างขึ้นและส่งผลให้

ห่วงโซ่อุปทานและการขนส่งต้องหยุดชะงัก

ยอดค้าปลีก เดือน เม.ย. 65 หดตัวที่ร้อยละ -11.1 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน หดตัวเร่งขึ้นจาก

เดือนก่อนหน้าที่หดตัวที่ร้อยละ -3.5 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน โดยเป็นการหดตัวติดต่อกัน

เป็นเดือนที่ 2 และเป็นระดับที่ต่าสุดนับตั้งแต่เดือน พ.ค. 63

อัตราการว่างงาน เดือน เม.ย. 65 อยู่ที่ร้อยละ 6.1 ของกาลังแรงงานรวม เพิ่มขึ้นจากเดือนก่อน

หน้าที่อยู่ที่ร้อยละ 5.8 ของกาลังแรงงานรวม ซึ่งเป็นอัตราการ ว่างงานสูงสุดนับตังแต่เดือน

ก.พ. 63 ท่ามกลางข้อจากัดของโควิด-19 ที่ยืดเยื้อหลังจากการระบาดอย่างกว้างขวางในบาง

เมืองสาคัญ

จีน

ที่มา: ฐานข้อมูล CEIC และ Tradingeconomics รวมรวบโดย สศค.

ฮ่องกง

อัตราการว่างงาน เดือน เม.ย. 65 อยู่ที่ร้อยละ 5.4 ของกาลังแรงงานรวม เพิ่มขึ้นจากเดือนก่อน

หน้าที่อยู่ที่ร้อยละ 5.0 ของกาลังแรงงานรวม ซึ่งเป็นการเพิ่มขึ้นต่อเนื่องเป็นเดือนที่ 3 และเป็น

ระดับที่สูงสุดนับตั้งแต่เดือน ก.ค. 64

เครื่องชี้เศรษฐกิจต่างประเทศ

ออสเตรเลีย

อัตราการว่างงาน เดือน เม.ย. 65 อยู่ที่ร้อยละ 3.9 ของกาลังแรงงานรวม ไม่เปลี่ยนแปลงจาก

เดือนก่อนหน้าที่อยู่ที่ร้อยละ 3.9 ของกาลังแรงงานรวมเช่นกัน นอกจากนี้ ยังเป็นอัตรา

การว่างงานที่ต่าที่สุดนับตั้งแต่ปี 2521

มูลค่าการส่งออก เดือน เม.ย. 65 ขยายตัวที่ร้อยละ 20.7 จากช่วงเดียวกันปีก่อน ลดลงจาก

เดือนก่อนหน้าที่ขยายตัวที่ร้อยละ 25.3 จากช่วงเดียวกันปีก่อน

มูลค่าการนาเข้า เดือน เม.ย. 65 ขยายตัวที่ร้อยละ 22.0 จากช่วงเดียวกันปีก่อน ลดลงจาก

เดือนก่อนหน้าที่ร้อยละ 29.9 จากช่วงเดียวกันปีก่อน

ดุลการค้า เดือน เม.ย. 65 เกินดุลที่ 23.5 พันล้านริงกิตมาเลเซีย ลดลงจากเดือนก่อนหน้าที่

เกินดุล 26.6 พันล้านริงกิตมาเลเซีย

มาเลเซีย

ที่มา: ฐานข้อมูล CEIC และ Tradingeconomics รวมรวบโดย สศค.

สิงคโปร์ ยูโรโซน

มูลค่าการส่งออก เดือน มี.ค. 65 ขยายตัวร้อยละ 14.0 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันปีก่อน ชะลอ

ลงจากเดือนก่อนหน้าที่ขยายตัวอยู่ที่ร้อยละ 16.9 จากช่วงเดียวกันปีก่อน

มูลค่าการนาเข้า เดือน มี.ค. 65 ขยายตัวร้อยละ 35.4 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันปีก่อน ชะลอ

ลงจากเดือนก่อนหน้าที่ขยายตัวร้อยละ 39.4 จากช่วงเดียวกันปีก่อน

ดุลการค้า เดือน ก.พ. 65 ขาดดุลที่ระดับ 16.4 พันล้านยูโร ขาดดุลเพิ่มขึ้นจากเดือนก่อน

หน้าที่ขาดดุลที่ระดับ 8.8 พันล้านยูโร

อัตราเงินเฟ้อ เดือน เม.ย. 65 อยู่ที่ร้อยละ 7.4 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันปีก่อน คงที่จากเดือน

ก่อนหน้าที่อยู่ที่ร้อยละ 7.4 ทั้งนี้ อัตราเงินเฟ้อที่เพิ่มขึ้นยังคงได้รับแรงหนุนจากราคาพลังงาน

และราคาอาหารที่เพิ่มขึ้นเป็นสาคัญ

มูลค่าการส่งออก เดือน เม.ย. 65 ขยายตัวที่ร้อยละ 19.5 จากช่วงเดียวกันปีก่อน เพิ่มขึ้นจาก

เดือนก่อนหน้าที่ร้อยละ 13.9 จากช่วงเดียวกันปีก่อน

มูลค่าการนาเข้า เดือน เม.ย. 65 ขยายตัวที่ร้อยละ 24.4 จากช่วงเดียวกันปีก่อน เพิ่มขึ้นจาก

เดือนก่อนหน้าที่ร้อยละ 21.9 จากช่วงเดียวกันปีก่อน

ดุลการค้า เดือน เม.ย. 65 เกินดุลที่ 4.28 พันล้านดอลลาร์สิงคโปร์ เพิ่มขึ้นจากเดือนก่อน

หน้าที่เกินดุล 4.19 พันล้านดอลลาร์สิงคโปร์

เครื่องชี้เศรษฐกิจต่างประเทศ

ออสเตรเลีย

อัตราการว่างงาน เดือน เม.ย. 65 อยู่ที่ร้อยละ 3.9 ของกาลังแรงงานรวม ไม่เปลี่ยนแปลงจาก

เดือนก่อนหน้าที่อยู่ที่ร้อยละ 3.9 ของกาลังแรงงานรวมเช่นกัน นอกจากนี้ ยังเป็นอัตรา

การว่างงานที่ต่าที่สุดนับตั้งแต่ปี 2521

มูลค่าการส่งออก เดือน เม.ย. 65 ขยายตัวที่ร้อยละ 20.7 จากช่วงเดียวกันปีก่อน ลดลงจาก

เดือนก่อนหน้าที่ขยายตัวที่ร้อยละ 25.3 จากช่วงเดียวกันปีก่อน

มูลค่าการนาเข้า เดือน เม.ย. 65 ขยายตัวที่ร้อยละ 22.0 จากช่วงเดียวกันปีก่อน ลดลงจาก

เดือนก่อนหน้าที่ร้อยละ 29.9 จากช่วงเดียวกันปีก่อน

ดุลการค้า เดือน เม.ย. 65 เกินดุลที่ 23.5 พันล้านริงกิตมาเลเซีย ลดลงจากเดือนก่อนหน้าที่

เกินดุล 26.6 พันล้านริงกิตมาเลเซีย

มาเลเซีย

ที่มา: ฐานข้อมูล CEIC และ Tradingeconomics รวมรวบโดย สศค.

สิงคโปร์ ยูโรโซน

มูลค่าการส่งออก เดือน มี.ค. 65 ขยายตัวร้อยละ 14.0 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันปีก่อน ชะลอ

ลงจากเดือนก่อนหน้าที่ขยายตัวอยู่ที่ร้อยละ 16.9 จากช่วงเดียวกันปีก่อน

มูลค่าการนาเข้า เดือน มี.ค. 65 ขยายตัวร้อยละ 35.4 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันปีก่อน ชะลอ

ลงจากเดือนก่อนหน้าที่ขยายตัวร้อยละ 39.4 จากช่วงเดียวกันปีก่อน

ดุลการค้า เดือน ก.พ. 65 ขาดดุลที่ระดับ 16.4 พันล้านยูโร ขาดดุลเพิ่มขึ้นจากเดือนก่อน

หน้าที่ขาดดุลที่ระดับ 8.8 พันล้านยูโร

อัตราเงินเฟ้อ เดือน เม.ย. 65 อยู่ที่ร้อยละ 7.4 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันปีก่อน คงที่จากเดือน

ก่อนหน้าที่อยู่ที่ร้อยละ 7.4 ทั้งนี้ อัตราเงินเฟ้อที่เพิ่มขึ้นยังคงได้รับแรงหนุนจากราคาพลังงาน

และราคาอาหารที่เพิ่มขึ้นเป็นสาคัญ

ฟิลิปปินส์

ธนาคารกลางฟิลิปปินส์มีมติปรับขึ้นอัตราดอกเบี้ยนโยบายร้อยละ 0.25 สู่ระดับร้อยละ 2.25

ต่อปี นับเป็นการขึ้นอัตราดอกเบี้ยนโยบายตั้งแต่เดือน ธ.ค. 61 เพื่อการแก้ปัญหาเงินเฟ้อผล

จากราคาน้ามันที่เกิดจากสงครามในยูเครน

เครื่องชี้เศรษฐกิจต่างประเทศ

ที่มา: ฐานข้อมูล CEIC และ Tradingeconomics รวมรวบโดย สศค.

สหราชอาณาจักร อินโดนีเซีย

มูลค่าการส่งออก เดือน เม.ย. 65 ขยายตัวที่ร้อยละ 47.8 จากช่วงเดียวกันปีก่อน เพิ่มขึ้นจาก

เดือนก่อนหน้าที่ขยายตัวที่ร้อยละ 44.4 จากช่วงเดียวกันปีก่อน

มูลค่าการนาเข้า เดือน เม.ย. 65 ขยายตัวที่ร้อยละ 22.0 จากช่วงเดียวกันปีก่อน ลดลงจาก

เดือนก่อนหน้าที่ร้อยละ 30.9 จากช่วงเดียวกันปีก่อน

ดุลการค้า เดือน เม.ย. 65 เกินดุลที่ 7.6 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ เพิ่มขึ้นจากเดือนก่อนหน้าที่

เกินดุล 4.5 ล้านดอลลาร์สหรัฐ

อัตราการว่างงาน เดือน เม.ย. 65 อยู่ที่ร้อยละ 3.7 ของกาลังแรงงานรวม ลดลงจากเดือนก่อน

หน้าที่อยู่ที่ร้อยละ 3.8 ของกาลังแรงงานรวม และเป็นอัตราการว่างงานที่ต่าที่สุดนับตั้งแต่ปี

2517

อัตราเงินเฟ้อ เดือน เม.ย. 65 อยู่ที่ร้อยละ 9.0 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันปีก่อน เพิ่มขึ้นจาก

เดือนก่อนหน้าที่อยู่ที่ร้อยละ 7.0 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันปีก่อน โดยอัตราเงินเฟ้อยังคงได้รับ

แรงหนุนจากราคาพลังงานที่เพิ่มขึ้นเป็นสาคัญ

เครื่องชี้ตลาดเงิน ตลาดอัตราแลกเปลี่ยน

Foreign

E xchange 19 May 22 1w %

chg 1m %

chg YTD %

chg Avg

2021 % chg

USD/THB

34.63

0.28

-

2.70 -

3.96 -

8.21

USD/JPY

128.23

0.47

-

0.12 -

10.79 -

16.72

EUR/USD

1.05

1.12

-

2.57 -

6.68 -

11.01

USD/MYR

4.40

-

0.36 -

3.62 -

5.28 -

6.20

USD/KRW

1,269.30

0.60

-

2.96 -

6.59 -

10.91

USD/SGD

1.39

0.31

-

1.67 -

2.38 -

3.20

USD/CNY

6.75

-

0.34 -

5.97 -

5.85 -

4.66

NEER

109.02

0.07

-

0.28 1.30

-

1.13

ค่าเงินสกุลต่างๆ เครื่องหมาย + คือแข็งค่าขึ้น และเครื่องหมาย -คืออ่อนค่าลง เมื่อเทียบกับค่าเงินดอลลาร์สหรัฐดัชนีค่าเงินบาท (NEER) แข็งค่าขึ้น (+) หรืออ่อนค่าลง (-) ในช่วงระยะเวลาดังกล่าวโดยคิดเป็นอัตราร้อยละ

ดัชนี SETSETปรับตัวเพิ่มขึ้นจากสัปดาห์ก่อนสอดคล้องกับตลาดหลักทรัพย์อื่น ๆ ในภูมิภาคที่ปรับตัวเพิ่มขึ้นจากสัปดาห์ก่อน เช่น Nikkei 225 ญี่ปุ่น) HSI ฮ่องกง) และ CSI 300 เซี่ยงไฮ้) เป็นต้น เมื่อวันที่ 119 พ.ค. 655ดัชนีปิดที่ระดับ 1,605.98 จุด ด้วยมูลค่าซื้อขายเฉลี่ยระหว่างวันที่ 16-119 พ.ค. 655อยู่ที่ 73,925.30 ล้านบาทต่อวัน โดยนักลงทุนต่างชาติ และนักลงทุนสถาบันในประเทศ เป็นผู้ซื้อสุทธิ ขณะที่ นักลงทุนทั่วไปในประเทศ และนักลงทุนบัญชีบริษัทหลักทรัพย์ เป็นผู้ขายสุทธิ ทั้งนี้ ระหว่างวันที่ 16 19 พ.ค. 655นักลงทุนต่างชาติ ซื้อหลักทรัพย์สุทธิ 6,268.94ล้านบาท

อัตราผลตอบแทนพันธบัตรรัฐบาลอายุโดยรวมปรับตัวลดลงในช่วง -1 ถึง -42 bpsbpsโดยในสัปดาห์นี้นักลงทุนไม่มีการประมูลพันธบัตรรัฐบาลทั้งนี้ ระหว่างวันที่ 16 1919พ.ค. 655กระแสเงินทุนของนักลงทุนต่างชาติ ไหลเข้าในตลาดพันธบัตรสุทธิ 5,619.42 ล้านบาทและหากนับจากต้นปีจนถึงวันที่ 1919พ.ค. 6565กระแสเงินทุนของนักลงทุนต่างชาติ ไหลเข้าในตลาดพันธบัตรสุทธิ 16,817.84ล้านบาท

เงินบาทแข็งค่าขึ้นจากสัปดาห์ก่อน โดย ณ วันที่ 19 พ.ค. 655เงินบาทปิดที่ 34.4.63 บาทต่อดอลลาร์สหรัฐ แข็งค่าขึ้นร้อยละ 0.0.28จากสัปดาห์ก่อนหน้า สอดคล้องกับเงินสกุลอื่น ๆ ในภูมิภาค อาทิ เงินสกุลเยน ยูโร วอน ดอลลาร์สิงคโปร์ ที่ปรับตัวแข็งค่าขึ้นจากสัปดาห์ก่อนหน้า เมื่อเทียบกับดอลลาร์สหรัฐ ขณะที่เงินสกุลริงกิตและหยวน ปรับตัวอ่อนค่าลงจากสัปดาห์ก่อนหน้า เมื่อเทียบกับดอลลาร์สหรัฐ ทั้งนี้ เงินบาทแข็งค่าน้อยกว่าเงินสกุลอื่น ๆ ในภูมิภาค ส่งผลให้ดัชนีค่าเงินบาท (NEERNEER) อ่อนค่าลงร้อยละ -8.21จากสัปดาห์ก่อน

ที่มา: สำนักงานเศรษฐกิจการคลัง กระทรวงการคลัง


เว็บไซต์นี้มีการใช้งานคุกกี้ ศึกษารายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และ ข้อตกลงการใช้บริการ รับทราบ