รายงานภาวะเศรษฐกิจรายสัปดาห์ (Weekly) ณ 31 มี.ค. 66

ข่าวเศรษฐกิจ Monday April 3, 2023 15:00 —กระทรวงการคลัง

เศรษฐกิจไทย

ภาษีมูลค่าเพิ่มที่รัฐบาลจัดเก็บได้ ณ ระดับราคาคงที่ในเดือน ก.พ. 66 หดตัวร้อยละ

-1.5 ต่อปี

? ภาษีจากการทาธุรกรรมอสังหาริมทรัพย์ในเดือน ก.พ. 66 ขยายตัวร้อยละ 13.7 ต่อปี

? ดัชนีผลผลิตอุตสาหกรรม (MPI) ในเดือน ก.พ. 66 หดตัวร้อยละ -2.7 ต่อปี

? ปริมาณการจาหน่ายเหล็กและผลิตภัณฑ์เหล็กรวมภายในประเทศในเดือน ก.พ. 66 หดตัว

ร้อยละ -9.5 ต่อปี

? จานวนนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติที่เดินทางเข้ามาในประเทศไทยในเดือน ก.พ. 66 ขยายตัว

ร้อยละ 1,283.3 เมื่อเทียบกับเดือนเดียวกันของปีก่อน

? การเบิกจ่ายงบประมาณรวมในเดือน ก.พ. 66 ขยายตัวร้อยละ 51.9 ต่อปี

? รัฐบาลจัดเก็บรายได้สุทธิ (หลังหักจัดสรรให้ อปท.) ในเดือน ก.พ. หดตัวร้อยละ -4.7 ต่อปี

? ฐานะการคลังของรัฐบาลตามระบบกระแสเงินสดในเดือน ก.พ. 66 ขาดดุล 101,543 ล้านบาท

เศรษฐกิจไทย

ภาคการเงิน

เศรษฐกิจต่างประเทศ

? GDP สหรัฐฯ ไตรมาสที่ 4 ปี 65 ขยายตัวที่ร้อยละ 0.9 จากช่วงเดียวกันปีก่อน

? GDP เวียดนาม ไตรมาสที่ 1 ปี 66 ขยายตัวที่ร้อยละ 3.3 จากช่วงเดียวกันปีก่อน

ดัชนีผลผลิตอุตสาหกรรม (MPI) เดือน ก.พ. 66 หดตัวที่ร้อยละ -2.7 ต่อปี แต่ขยายตัวร้อยละ 2.1 เมื่อเทียบกับเดือนก่อนหน้าหลังขจัดผลของฤดูกาล

โดยดัชนีที่ปรับลดลง เนื่องจากอุปสงค์ในกลุ่มสินค้าส่งออกสาคัญหลายชนิดยังคงลดลงต่อเนื่องตามภาวะเศรษฐกิจของประเทศคู่ค้า โดยเฉพาะกลุ่มสินค้าประเภทคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ เฟอร์นิเจอร์ และพลาสติกและยางสังเคราะห์ขั้นต้น ที่หดตัวร้อยละ -35.4 -56.7 และ -14.5 ต่อปี ตามลาดับ* ขณะที่อุตสาหกรรมสาคัญที่ขยายตัว ได้แก่ อุตสาหกรรมการผลิตน้าตาล อุตสาหกรรมยานยนต์ และอุตสาหกรรมผลิตภัณฑ์ที่ได้จากการกลั่นปิโตรเลียม ที่ขยายตัวร้อยละ 23.5 6.6 และ 7.3 ต่อปี ตามลาดับ* ((*เรียงตามสัดส่วนใน MPI)

ปริมาณการจาหน่ายเหล็กและผลิตภัณฑ์เหล็กรวมภายในประเทศเดือน ก.พ. 66 หดตัวที่ร้อยละ-9.5 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน แต่ขยายตัวที่ร้อยละ 4.6เมื่อเทียบกับเดือนก่อนหน้าหลังขจัดผลทางฤดูกาล

ปริมาณการจาหน่ายเหล็กในประเทศเดือน ก.พ. 66 หดตัวอย่างต่อเนื่อง โดยมีปัจจัยสาคัญมาจาก การจาหน่ายที่ลดลงของเหล็กในการก่อสร้าง อาทิ เส้นเหล็กกลม เหล็กโครงสร้างรูปพรรณ ชนิดรีดเย็น และเหล็กลวด โดยหดตัวที่ร้อยละ -37.2 -35.5 และ -21.3 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน ซึ่งหดตัวตามดัชนีผลผลิตอุตสาหกรรมประเภทโลหะ (MPI)

เดือน ก.พ. 66จานวนนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติที่เดินทางเข้ามาในประเทศไทยลดลงเล็กน้อยจากเดือนก่อนหน้าตามฤดูกาลของการท่องเที่ยว ขณะที่จานวนผู้เยี่ยมเยือนชาวไทยชะลอตัวลงเล็กน้อย แต่เมื่อขจัดผลทางฤดูกาลแล้วยังขยายตัวได้

จานวนนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติ (ล้านคน)

จานวนผู้เยี่ยมเยือนชาวไทย (ล้านคน)

ในเดือน ก.พ. 66นักท่องเที่ยวชาวต่างชาติเดินทางเข้าประเทศไทยจานวน 2.111ล้านคน ขยายตัวสูงที่ร้อยละ 11,283.3เมื่อเทียบกับเดือนเดียวกันของปีก่อน ส่วนหนึ่งเป็นผลจากปัจจัยฐานต่าจากการแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโควิด-19ในปี 2565ทั้งนี้ เมื่อขจัดผลทางฤดูกาลพบว่า ขยายตัวที่ร้อยละ 16.5 โดยนักท่องเที่ยวที่เดินทางเข้ามาส่วนใหญ่เป็นนักท่องเที่ยวชาวมาเลเซีย รัสเซีย เกาหลีใต้ จีน และอินเดีย ตามลาดับทั้งนี้จานวนนักท่องเที่ยวในเดือน ก.พ. 66ลดลงเล็กน้อยจากเดือน ม.ค. 66ที่มีจานวนนักท่องเที่ยว 2.14ล้านคน ซึ่งเป็นผลจากการเข้าสู่ช่วง Low Season ของการท่องเที่ยว

สาหรับการท่องเที่ยวของชาวไทย สะท้อนจากจานวนผู้เยี่ยมเยือนชาวไทยในเดือน ก.พ. 66 มีจานวน 20.1 ล้านคน ขยายตัวในอัตราชะลอที่ร้อยละ 34.8เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน และเมื่อขจัดผลทางฤดูกาล พบว่า ขยายตัวที่ร้อยละ 11.5ส่งผลให้รายได้จากการท่องเที่ยวของชาวไทยในเดือน ก.พ. 66 อยู่ที่ 62,542ล้านบาท ขยายตัวชะลอที่ร้อยละ 31.6 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน และเมื่อขจัดผลทางฤดูกาล พบว่า ขยายตัวที่ร้อยละ 8.0โดยการลดลงของผู้เยี่ยมเยือนชาวไทยเป็นผลมาจากการเข้าสู่ช่วง Low Season

เช่นกัน อีกทั้งเดือน ก.พ. ยังเป็นเดือนที่ไม่มีวันหยุดยาว และวันหยุดนักขัตฤกษ์

มูลค่าการส่งออกในเดือน ก.พ.66 มีมูลค่าอยู่ที่ 22,376.3 ล้านดอลลาร์สหรัฐ หรือหดตัวที่ ร้อยละ -4.7 เมื่อเทียบรายปีโดยเป็นการหดตัวเร่งขึ้นเล็กน้อยจากเดือนก่อนหน้า

การส่งออกของไทยเมื่อหักรายการสินค้าเกี่ยวเนื่องน้ามันทองคาและยุทธปัจจัย หดตัวที่ร้อยละ -0.05 ทั้งนี้ กลุ่มสินค้าส่งออกที่หดตัว ได้แก่ เครื่องคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ เครื่องใช้ไฟฟ้า เม็ดพลาสติก เคมีภัณฑ์ ผลิตภัณฑ์ยาง ยางพารา อาหารทะเลกระป๋องและแปรรูป เป็นต้น ขณะที่กลุ่มสินค้าส่งออกที่ยังคงขยายตัวได้ดี ได้แก่ อัญมณีและเครื่องประดับ (ไม่รวมทองคา) อุปกรณ์กึ่งตัวนาฯ รถยนต์และรถจักรยานยนต์ฯ ข้าว ไก่สดแช่เย็นแช่แข็ง กลุ่มผลไม้สดโดยเฉพาะทุเรียนและลาไย ผลิตภัณฑ์มันสาปะหลัง ไขมันและน้ามันจากพืชและสัตว์ เป็นต้น สาหรับการส่งออกไปตลาดคู่ค้าหลักส่วนใหญ่มีการหดตัว อาทิ ตลาดสหรัฐฯ จีน ญี่ปุ่น กลุ่มเอเชียใต้และทวีปออสเตรเลีย ขณะที่การส่งออกไปยังตลาดซาอุฯฮ่องกง สหรัฐอาหรับฯ กลุ่มแอฟริกา และอินเดีย ยังคงขยายตัว ทั้งนี้ การส่งออกในช่วง 2 เดือนแรกของปี 66 หดตัวเฉลี่ยร้อยละ -4.6 เมื่อเทียบรายปี

มูลค่าการนาเข้าในเดือน ก.พ.66 มีมูลค่า 23,489.7 ล้านดอลลาร์สหรัฐ หรือขยายตัวร้อยละ 1.1เมื่อเทียบรายปี ขยายตัวต่อเนื่องเป็นเดือนที่ 2

การนาเข้าของไทยขยายตัวในกลุ่มสาคัญ ได้แก่ กลุ่มสินค้าเชื้อเพลิงขยายตัวที่ร้อยละ 15.7 กลุ่มสินค้าทุนขยายตัวที่ร้อยละ 0.4 กลุ่มสินค้าอุปโภคบริโภคขยายตัวที่ร้อยละ 2.4 และกลุ่มสินค้ายานพาหนะและอุปกรณ์การขนส่ง ขยายตัวที่ร้อยละ 39.9 ขณะที่การนาเข้าในกลุ่มสินค้าวัตถุดิบและกึ่งสาเร็จรูป หดตัวเฉลี่ยที่ร้อยละ 10.5 ทั้งนี้ การนาเข้าในช่วง 2 เดือนแรกของปี 66 ขยายตัวเฉลี่ยร้อยละ 3.3 เมื่อเทียบรายปี ด้านดุลการค้าในเดือน ก.พ.66 ขาดดุลอยู่ที่ 1,113.4 ล้านดอลลาร์สหรัฐ ทาให้ดุลการค้าสะสมของไทยช่วง 2 เดือนแรกของปี 66 ขาดดุลอยู่ที่ 5,763.1 ล้านดอลลาร์สหรัฐ

เครื่องชี้เศรษฐกิจไทย

การเบิกจ่ายงบประมาณรวมในเดือน ก.พ. 66 เบิกจ่ายได้ทั้งสิ้น 256,439 ล้านบาท ขยายตัว

ร้อยละ 51.9 ต่อปี ทาให้ใน 5 เดือนแรกของปีงบประมาณ 66 เบิกจ่ายได้ 1,530,852 ล้านบาท

ขยายตัวร้อยละ 7.1 คิดเป็นอัตราเบิกจ่ายสะสมที่ร้อยละ 45.4

โดย (1) รายจ่ายปีปัจจุบัน เบิกจ่ายได้

243,548 ล้านบาท ขยายตัวร้อยละ

61.0 ต่อปี คิดเป็นอัตราเบิกจ่ายสะสมที่

ร้อยละ 45.3 ทั้งนี้ แบ่งออกเป็น (1.1)

ร ย จ่า ย ป ร จ 2 0 8 , 7 9 1 ล้า น บ ท

ขยายตัวร้อยละ 71.9 ต่อปี คิดเป็น

อัตราเบิกจ่ายสะสมที่ร้อยละ 49.9 และ

(1.2) รายจ่ายลงทุน 34,756 ล้านบาท

ขยายตัวร้อยละ 16.7 ต่อปี คิดเป็น

อัตราเบิกจ่ายสะสมที่ร้อยละ 27.9 (2)

รายจ่ายปีก่อนเบิกจ่ายได้ 12,892 ล้าน

บ ท ห ด ตัว ที่ร้อ ย ล - 2 6 . 7 ต่อ ปี

คิดเป็นอัตราเบิกจ่ายสะสมที่ร้อยละ

45.8 ต่อปี

รัฐบาลจัดเก็บรายได้สุทธิ (หลังหักจัดสรรให้ อปท.) ในเดือน ก.พ. 66 ได้ 149,947 ล้านบาท

หดตัวร้อยละ -4.7 ต่อปี ทาให้ 5 เดือนแรกของปีงบประมาณ 66 จัดเก็บได้สุทธิ 989,836

ล้านบาท ขยายตัวร้อยละ 7.8 ต่อปี

โดยรายได้ในเดือน ก .พ. 66หดตัวจาก ภาษิน้ามันและผลิตภัณฑ์น้ามัน หดตัวร้อยละ -53.5 ต่อปี

และภาษีเงินได้ปิโตรเลียม ที่หดตัวร้อยละ -89.3 ต่อปี

เครื่องชี้เศรษฐกิจไทย

ฐานะการคลังของรัฐบาลตามระบบกระแสเงินสดในเดือน ก.พ. 66 พบว่าดุลเงินงบประมาณขาดดุล

จานวน 101,543 ล้านบาท

ทั้งนี้เมื่อรวมกับดุลนอ ก

ง บ ป ร ม ณ ที่ข ด ดุล

1 4 , 5 3 4 ล้า น บ ท

พ บ ว่า ดุล เ งิน ส ด ก่อ น กู้

ข ด ดุล 1 1 6 , 0 7 7 ล้า น

บาท โดยในเดือนนี้รัฐบาล

มีก ร กู้ เ งิน 1 4 , 4 0 0

ล้านบาท ทาให้ดุลเงินสด

ห ลัง กู้ข ด ดุล 1 0 1 , 6 7 7

ล้านบาท ส่งผลให้จานวน

เงินคงคลังปลายงวดอยู่ที่

236,653 ล้านบาท

เครื่องชี้เศรษฐกิจไทย

ภาษีมูลค่าเพิ่มที่รัฐบาลจัดเก็บได้ ณ ระดับราคาคงที่ในเดือน ก.พ. 66 หดตัวที่ร้อยละ 1.51.5ต่อปี และเมื่อเทียบกับเดือนก่อนหน้าหลังขจัดผลทางฤดูกาล หดตัวที่ร้อยละ 1.3

โดยเมื่อพิจารณาในรายละเอียด พบว่า ภาษีมูลค่าเพิ่มที่จัดเก็บจากการใช้จ่ายภายในประเทศ ขยายตัวที่ร้อยละ 1.61.6ต่อปี ส่วนหนึ่งเป็นผลมาจากภาคการท่องเที่ยวที่ฟื้นตัวทั้งจากจานวนนักท่องเที่ยวต่างชาติและนักท่องเที่ยวไทย และมาตรการช่วยเหลือของภาครัฐที่มีส่วนช่วยสนับสนุนกาลังซื้อผู้บริโภค อาทิ การเพิ่มเงินพิเศษให้ผู้ถือบัตรสวัสดิการแห่งรัฐเพื่อบรรเทาภาระค่าครองชีพ การตรึงค่าไฟฟ้าของครัวเรือน เป็นต้น ขณะที่ภาษีมูลค่าเพิ่มที่จัดเก็บจากการนาเข้าหดตัวที่ร้อยละ -5.55.5ต่อปีจากปัจจัยฐานสูงในปีก่อนที่มีเร่งนาเข้าสินค้าเชื้อเพลิง ประกอบกับการนาเข้าของประเทศที่เริ่มมีทิศทางชะลอลง

ภาษีจากการทาธุรกรรมอสังหาริมทรัพย์ในเดือน ก.พ.66 ขยายตัวที่ร้อยละ 13.7เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน และเพิ่มขึ้นร้อยละ 5.4เมื่อเทียบกับเดือนก่อนหน้าหลังขจัดผลทางฤดูกาล

การจัดเก็บภาษีจากการทาธุรกรรมอสังหาริมทรัพย์ในเดือน ก.พ.66 มีการขยายตัวจากช่วงเดือนเดียวกันของปีก่อน และมีการขยายตัวอย่างต่อเนื่อง โดยมีปัจจัยมาจากการฟื้นตัวของเศรษฐกิจภายในประเทศ และจากความเชื่อมั่นของผู้บริโภคที่เพิ่มขึ้น เครื่องชี้ภาคการเงิน

ดุลบัญชีเดินสะพัดเดือน ก.พ. 666เกินดุลที่ 1,332.331,332.33ล้านดอลลาร์สหรัฐหลังขาดดุลในเดือนก่อนหน้าที่ 2,148.912,148.91ล้านดอลลาร์สหรัฐ

โดยเดือน ก.พ. 666ดุลบริการ รายได้ และเงินโอน เกินดุลที่ 21.7721.77ล้านดอลลาร์สหรัฐ เกินดุลลดลงจากเดือนก่อนหน้า ขณะที่ดุลการค้า (ตามระบบ BOP) เกินดุลเพิ่มขึ้นจากเดือนก่อนหน้ามาอยู่ที่ 1,310.551,310.55ล้านดอลลาร์สหรัฐ สาหรับดุลบัญชีเดินสะพัดในปี 666ขาดดุลรวม 816.58816.58ล้านดอลลาร์สหรัฐ สินเชื่อในสถาบันการเงินเดือน ก.พ. 666มียอดคงค้าง 20.320.3ล้านล้านบาท คิดเป็นการขยายตัวที่ร้อยละ 1.91.9จากช่วงเดียวกันปีก่อน

เงินฝากในสถาบันการเงินเดือน ก.พ. 666มียอดคงค้าง 24.6124.61ล้านล้านบาท คิดเป็นการขยายตัวที่ร้อยละ 3.73.7จากช่วงเดียวกันปีก่อน

หรือขยายตัวชะลอลงที่ร้อยละ 0.11จากเดือนก่อนหน้า (หลังขจัดผลทางฤดูกาล) เมื่อแยกประเภทการขอสินเชื่อพบว่า สินเชื่อเพื่อธุรกิจ และสินเชื่อเพื่อการอุปโภคบริโภคขยายตัวชะลอลงที่ร้อยละ 1.31.3และ 2.22.2จากช่วงเดียวกันของปีก่อน ตามลาดับ

หรือหากขจัดผลทางฤดูกาลแล้วขยายตัวเร่งขึ้นที่ร้อยละ 0.130.13จากเดือนก่อนหน้า โดยเงินฝากในธนาคารพาณิชย์และเงินฝากในสถาบันการเงินเฉพาะกิจขยายตัวชะลอลงที่ร้อยละ 3.33.3และ 3.23.2จากช่วงเดียวกันของปีก่อน ตามลาดับ เครื่องชี้ภาคการเงิน

ระดับหนี้ครัวเรือนไทยล่าสุด ณ สิ้นสุดไตรมาส 4ปี 25652565มีสัดส่วนร้อยละ 86.86.9 ต่อ GDP

หรือคิดเป็นประมาณ15.1ล้านล้านบาท

โดยหนี้ครัวเรือนไทยไตรมาส 4ปี 25652565อยู่ที่ระดับร้อยละ 86.986.9ต่อ GDPGDPลดลงจากไตรมาสก่อนหน้าที่อยู่ที่ร้อยละ 87.87.0 ต่อ GDPGDPและลดลงจากช่วงเดียวกันของปีก่อนที่อยู่ที่ร้อยละ 90.2ต่อ GDPGDPทั้งนี้ การลดลงของสัดส่วนหนี้ครัวเรือนต่อ GDPGDPในไตรมาส 4ปี 25652565ส่วนหนึ่งเป็นผลจาก GDPGDPณ ราคาปัจจุบัน ณ ไตรมาสที่ 4ปี 6565ที่ขยายตัวร้อยละ 1.4 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน ตลอดจน การชะลอตัวในส่วนของหนี้รถยนต์และรถจักรยานยนต์ และหนี้เพื่ออุปโภคบริโภคส่วนบุคคล และหนี้เพื่อประกอบอาชีพ

เครื่องชี้เศรษฐกิจต่างประเทศ

GDPไตรมาส 4/65 (Final) ขยายตัวที่ร้อยละ 0.9 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน ขยายตัวชะลอลงจากไตรมาสก่อนหน้าที่ร้อยละ 1.9 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน หรือคิดเป็นการขยายตัวที่ร้อยละ 2.6 เมื่อคานวนแบบ annualized rate ขยายตัวชะลอลงจากไตรมาสก่อนหน้าที่ร้อยละ 3.2 และหากเทียบกับไตรมาสก่อนหน้าจะคิดเป็นเป็นการขยายตัวที่ร้อยละ 0.6 (หลังขจัดผลทางฤดูกาลแล้ว) ส่งผลให้ GDP สหรัฐฯ ทั้งปี 65ขยายตัวได้ที่ร้อยละ 2.1จากช่วงเดียวกันของปีก่อน

สหรัฐอเมริกา

ดัชนีราคากลางบ้าน เดือน ม.ค. 66 ขยายตัวที่ร้อยละ 0.2 จากเดือนก่อนหน้า (หลังขจัดผลทางฤดูกาลแล้ว) หลังจากจากเดือนก่อนหน้าหดตัวที่ร้อยละ -0.1 เป็นผลจากดัชนีราคากลางบ้านที่ปรับตัวดีขึ้นในเขต Midwest South Atlantic และ Northeast เป็นสาคัญ

จานวนผู้ขอรับสวัสดิการว่างงานครั้งแรกรายสัปดาห์ (19-25 มี.ค. 66) อยู่ที่ 1.98 แสนราย เพิ่มขึ้นจากสัปดาห์ก่อนหน้าที่ 1.91 แสนราย เป็นระดับที่สูงที่สุดในรอบ 3 สัปดาห์ และสูงว่าที่นักวิเคราะห์คาดการณ์ที่ 1.93 แสนราย แต่ยังต่ากว่าค่าเฉลี่ยในช่วงก่อนการแพร่ระบาดที่ 2.15 แสนราย สอดคล้องกับจานวนผู้ขอรับสวัสดิการว่างงานเฉลี่ย 4 สัปดาห์ (four week

moving average) ซึ่งขจัดความผันผวนรายสัปดาห์แล้ว เพิ่มขึ้นจากสัปดาห์ก่อนหน้ามาอยู่ที่ 1.98แสนราย

ยูโรโซน

ดัชนีความเชื่อมั่นผู้บริโภค เดือน มี.ค. 66 อยู่ที่ระดับ -19.2 จุด ลดลงจากเดือนก่อนหน้าที่อยู่ที่ระดับ -19.1จุด โดยผู้บริโภคมีมุมมองเป็นบวกน้อยลงต่อสถานการณ์เศรษฐกิจของยูโรโซน ขณะที่ ความต้องการซื้อสินค้าปรับดีขึ้น นอกจากนี้ มุมมองของผู้บริโภคเกี่ยวกับสถานการณ์ทางการเงินในอนาคตยังคงค่อนข้างมีเสถียรภาพ

จีน

ดัชนีฯ PMI ภาคอุตสาหกรรม (NBS) เดือน มี.ค. 66 อยู่ที่ 51.9 จุด แม้ว่าจะลดลงจากเดือนก่อนหน้าที่ 52.6จุด แต่ยังคงขยายตัวสูงกว่าที่ตลาดคาดไว้ที่ 51.5จุด นับเป็นการขยายตัวในกิจกรรมภาคอุตสาหกรรมต่อเนื่องกันเป็นเดือนที่ 3ซึ่งเป็นผลมาจากการยกเลิกมาตรการโควิดเป็นศูนย์ และการปรับตัวสูงขึ้นของดัชนีฯ ในหมวดคาสั่งซื้อใหม่ และผลิตผล เป็นสาคัญ

ดัชนีฯ PMI นอกภาคอุตสาหกรรม (NBS) เดือน มี.ค. 66 อยู่ที่ 58.2 จุดเพิ่มขึ้นจากเดือนก่อนหน้าที่ 56.3 จุด นับเป็นการขยายตัวที่มากที่สุดนับตั้งแต่ เดือน มิ.ย. 54และขยายตัวต่อเนื่องกันเป็นเดือนที่ 3ของกิจกรรมภาคบริการ ซึ่งเป็นผลมาจากการยกเลิกมาตรการโควิดเป็นศูนย์

เครื่องชี้เศรษฐกิจต่างประเทศ

ญี่ปุ่น

อัตราการว่างงาน เดือน ก.พ. 66 อยู่ที่ร้อยละ 2.6 ของกาลังแรงงานรวม เพิ่มขึ้นจากเดือนก่อนหน้าที่อยู่ที่ร้อยละ 2.4ของกาลังแรงงานรวม

ยอดค้าปลีก เดือน ก.พ. 66 ขยายตัวร้อยละ 6.6 จากช่วงเดียวกันปีก่อน เร่งขึ้นจากเดือนก่อนหน้าที่ขยายตัวร้อยละ 5.0จากช่วงเดียวกันปีก่อน

เวียดนาม

GDPเวียดนาม ไตรมาสที่ 1 ปี 66 ขยายตัวร้อยละ 3.3 จากช่วงเดียวกันปีก่อน ชะลอลงจากไตรมาสก่อนหน้าที่ขยายตัวที่ร้อยละ 5.9จากช่วงเดียวกันปีก่อน หรือคิดเป็นการขยายตัวที่ร้อยละ 1.1เมื่อเทียบกับไตรมาสก่อนหน้า (หลังขจัดผลทางฤดูกาลแล้ว)

ผลผลิตภาคอุตสาหกรรม เดือน มี.ค. 66 หดตัวที่ร้อยละ 1.6 จากช่วงเดียวกันปีก่อน จากเดือนก่อนหน้าที่ขยายตัวร้อยละ 7.2จากช่วงเดียวกันปีก่อน และเป็นการหดตัวครั้งที่ 2นับตั้งแต่ต้นปี 66เป็นต้นมา

ยอดค้าปลีก เดือน มี.ค. 66 ขยายตัวร้อยละ 13.4 จากช่วงเดียวกันปีก่อน เร่งขึ้นจากเดือนก่อนหน้าที่ขยายตัวร้อยละ 13.2 จากช่วงเดียวกันปีก่อน ท่ามกลางการบริโภคที่ฟื้นตัวต่อเนื่อง ในขณะที่เศรษฐกิจกลับมาเปิดอย่างเต็มที่จากข้อจากัดการแพร่ระบาด

อัตราเงินเฟ้อ เดือน มี.ค. 66 อยู่ที่ร้อยละ 3.4 จากช่วงเดียวกันปีก่อน ลดลงต่อเนื่องจากเดือนก่อนหน้าที่อยู่ที่ร้อยละ 4.3จากช่วงเดียวกันปีก่อน และลดลงเป็นเดือนที่ 3ติดต่อกัน

มูลค่าการส่งออก เดือน มี.ค. 66 หดตัวร้อยละ -14.8 จากช่วงเดียวกันปีก่อน จากเดือนก่อนหน้าที่ขยายตัวร้อยละ 11.7จากช่วงเดียวกันปีก่อน

มูลค่าการนาเข้า เดือน มี.ค. 66 หดตัวร้อยละ -11.1 จากช่วงเดียวกันปีก่อน หดตัวต่อเนื่องจากเดือนก่อนหน้าที่หดตัวร้อยละ -7.9จากช่วงเดียวกันปีก่อน และหดตัวติดต่อเป็นเดือนที่ 5ติดต่อกัน

ดุลการค้า เดือน มี.ค. 66 เกินดุลอยู่ที่ 2.9 หมื่นล้านดอลลาร์สหรัฐ เพิ่มขึ้นจากเดือนก่อนหน้าที่เกินดุล 2.3หมื่นล้านดอลลาร์สหรัฐ

ฮ่องกง

มูลค่าการส่งออก เดือน ก.พ. 66 หดตัวที่ร้อยละ -8.8 จากช่วงเดียวกันของปีก่อนหดตัวชะลอลงจากเดือนก่อนหน้าที่หดตัวที่ร้อยละ -36.7จากช่วงเดียวกันของปีก่อน

มูลค่าการนาเข้า เดือน ก.พ. 66 หดตัวที่ร้อยละ -4.1 จากช่วงเดียวกันของปีก่อนหดตัวชะลอลงจากเดือนก่อนหน้าที่หดตัวที่ร้อยละ -30.2จากช่วงเดียวกันของปีก่อน

ดุลการค้า เดือน ก.พ. 66 ขาดดุลที่ระดับ -45.4 พันล้านดอลลาร์ฮ่องกงขาดดุลเพิ่มขึ้นจากเดือนก่อนหน้าที่ขาดดุลที่ร้อยละ -25.4พ้นล้านดอลลาร์ฮ่องกง

ดัชนีความเชื่อมั่นผู้บริโภค เดือน มี.ค. 66 อยู่ที่ระดับ 64.5 จุด เพิ่มขึ้นจากเดือนก่อนหน้าที่อยู่ที่ระดับ 62.5จุด

ดัชนีฯ PMIPMIภาคอุตสาหกรรม เดือน มี.ค. 66 อยู่ที่ระดับ 48.6 จุด ลดลงจากเดือนก่อนหน้าที่อยู่ที่ระดับ 49.0จุด

เครื่องชี้เศรษฐกิจต่างประเทศ

ที่มา: ฐานข้อมูล CEIC และ TradingeconomicsTradingeconomicsรวมรวบโดย สศค.

ออสเตรเลีย

ยอดค้าปลีก (เบื้องต้น) เดือน ก.พ. 66 ขยายตัวที่ร้อยละ 6.4 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน ชะลอลงจากเดือนก่อนหน้าที่ขยายตัวที่ร้อยละ 7.5จากช่วงเดียวกันของปีก่อน

เครื่องชี้ตลาดเงิน ตลาดอัตราแลกเปลี่ยน

ดัชนี SETSETปรับตัวเพิ่มขึ้นจากสัปดาห์ก่อน สอดคล้องกับตลาดหลักทรัพย์อื่นๆ ในภูมิภาคที่ปรับตัวเพิ่มขึ้นจากสัปดาห์ก่อน เช่นShanghaiShanghai(จีน) Nikkei 225225(ญี่ปุ่น) STISTI(สิงคโปร์) และ TWSETWSE(ไต้หวัน) เป็นต้น เมื่อวันที่ 3030มี.ค. 666ดัชนีปิดที่ระดับ 1,605.421,605.42จุด ด้วยมูลค่าซื้อขายเฉลี่ยระหว่างวันที่ 27 3030มี.ค. 6666อยู่ที่ 44,054.6244,054.62ล้านบาทต่อวันโดยนักลงทุนต่างชาติ และนักลงทุนบัญชีบริษัทหลักทรัพย์เป็นผู้ขายสุทธิ ขณะที่นักลงทุนทั่วไปในประเทศ และนักลงทุนสถาบันในประเทศเป็นผู้ซื้อสุทธิ ทั้งนี้ระหว่างวันที่ 27 3030มี.ค. 6666นักลงทุนต่างชาติ ขายหลักทรัพย์สุทธิ 547.55 ล้านบาท

อัตราผลตอบแทนพันธบัตรรัฐบาลอายุ 11เดือน ถึง 1515ปี ปรับตัวเพิ่มขึ้นในช่วง 11ถึง 7 bpsbpsขณะที่อัตราผลตอบแทนพันธบัตรรัฐบาลอายุ 1919ถึง 2020ปี ปรับตัวลดลงในช่วง 11ถึง 3 bpsbpsโดยในสัปดาห์นี้นักลงทุนมีการประมูลพันธบัตรรัฐบาลอายุ ซึ่งมีนักลงทุนสนใจ 22เท่าของวงเงินประมูล ทั้งนี้ ระหว่างวันที่ 27 3030มี.ค. 6666กระแสเงินทุนของนักลงทุนต่างชาติ ไหลออกจากตลาดพันธบัตรสุทธิ

951.02951.02ล้านบาท และหากนับจากต้นปีจนถึงวันที่3030มี.ค.6666กระแสเงินทุนของนักลงทุนต่างชาติ ไหลออกจากตลาดพันธบัตรสุทธิ

25,778.8125,778.81ล้านบาท

เงินบาทอ่อนค่าลงจากสัปดาห์ก่อน โดย ณ วันที่3030มี.ค. 666เงินบาทปิดที่ 34.2834.28บาทต่อดอลลาร์สหรัฐ อ่อนค่าลงร้อยละ 0.470.47จากสัปดาห์ก่อนหน้า สอดคล้องกับเงินสกุลอื่น ๆ ในภูมิภาค อาทิ เงินสกุลเยน ดอลลาร์ไต้หวันใหม่ ดอลลาร์สิงคโปร์ และหยวน ที่ปรับตัวอ่อนค่าลงจากสัปดาห์ก่อนหน้า เมื่อเทียบกับดอลลาร์สหรัฐขณะที่เงินสกุลยูโร ริงกิตเปโซ และวอน ที่ปรับตัวแข็งค่าขึ้นจากสัปดาห์ก่อนหน้า เมื่อเทียบกับดอลลาร์สหรัฐทั้งนี้ เงินบาทอ่อนค่ามากกว่าเงินสกุลอื่น ๆ ในภูมิภาค ส่งผลให้ดัชนีค่าเงินบาท (NEERNEER) อยู่ที่ร้อยละ 0.34

ที่มา: สำนักงานเศรษฐกิจการคลัง กระทรวงการคลัง


เว็บไซต์นี้มีการใช้งานคุกกี้ ศึกษารายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และ ข้อตกลงการใช้บริการ รับทราบ