รายงานภาวะเศรษฐกิจรายสัปดาห์ (Weekly) ณ 1 ก.ย. 66

ข่าวเศรษฐกิจ Monday September 4, 2023 13:44 —กระทรวงการคลัง

เศรษฐกิจไทย

ดัชนีผลผลิตอุตสาหกรรม (MPI) ในเดือน ก.ค. 66 หดตัวร้อยละ -4.4 ต่อปี

? ปริมาณการจาหน่ายเหล็กและผลิตภัณฑ์เหล็กรวมภายในประเทศในเดือน ก.ค. 66 ขยายตัว

ร้อยละ 7.5 ต่อปี

? จานวนนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติที่เดินทางเข้ามาในประเทศไทยในเดือน ก.ค. 66 ขยายตัว

ร้อยละ 119.5 ต่อปี

? หนี้สาธารณะคงค้าง ณ สิ้นเดือน ก.ค. 66 คิดเป็นร้อยละ 61.69 ของ GDP

ภาคการเงิน

? ดุลบัญชีเดินสะพัดเดือน ก.ค. 66 ขาดดุลที่ -444.94 ล้านดอลลาร์สหรัฐ

? สินเชื่อในสถาบันการเงินในเดือน ก.ค. 66 ขยายตัวร้อยละ 0.2 จากช่วงเดียวกันปีก่อน ขณะที่

เงินฝากในสถาบันการเงินเดือน ก.ค. 66 ขยายตัวร้อยละ 1.7 จากช่วงเดียวกันปีก่อน

เศรษฐกิจต่างประเทศ

? GDP (ปรับปรุงครั้งที่ 1) สหรัฐอเมริกา ไตรมาส 2 ปี 66 ขยายตัวร้อยละ 2.5 จากช่วง

เดียวกันปีก่อน

เครื่องชี้เศรษฐกิจไทย

ปริมาณการจาหน่ายเหล็กและผลิตภัณฑ์เหล็กรวมภายในประเทศเดือน ก.ค.66 ขยายตัวที่ร้อยละ 7.57.5เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน และขยายตัวตัวที่ร้อยละ 6.16.1เมื่อเทียบกับเดือนก่อนหน้าหลังขจัดผลทางฤดูกาล

ปริมาณการจาหน่ายเหล็กในประเทศเดือน ก.ค.66 ขยายตัวโดยมีปัจจัยสาคัญมาจากการเพิ่มขึ้นของโครงการก่อสร้างทั้งภาครัฐและกลุ่มธุรกิจอสังหาริมทรัพย์ โดยปริมาณการจาหน่ายที่เพิ่มขึ้นมาจากเหล็กประเภท อาทิ เหล็กแผ่นรีดร้อนชนิดม้วน เหล็กโครงสร้างรูปประพรรณ ชนิดร้อนและเหล็กเส้นกลม ขยายตัวร้อยละ 48.6 44.944.9และ 21.321.3เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน แต่ขณะที่ดัชนีผลผลิตอุตสาหกรรมเหล็กยังคงหดตัว เนื่องจากการนาเข้าสินค้าเหล็กราคาถูกจากจีน

ที่มา : สานักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม

ดัชนีผลผลิตอุตสาหกรรม (MPI) เดือน ก.ค. 66หดตัวที่ร้อยละ -4.4ต่อปี แต่ขยายตัวร้อยละ 00.6เมื่อเทียบกับเดือนก่อนหน้าหลังขจัดผลของฤดูกาล

โดยดัชนีปรับลดลงติดต่อกันเป็นเดือนที่ 10 จากอุปสงค์ในกลุ่มสินค้าส่งออกสาคัญหลายชนิดยังลดลงต่อเนื่องตามเศรษฐกิจประเทศคู่ค้า โดยเฉพาะกลุ่มอุตสาหกรรมคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ และเฟอร์นิเจอร์ ที่หดตัวร้อยละ -18.2 และ -44.9 ต่อปี ตามลาดับ* อย่างไรก็ดี อุตสาหกรรมสาคัญทั้ง อุตสาหกรรมยานยนต์ และ อุตสาหกรรมปิโตรเลียม ขยายตัวอยู่ที่ร้อยละ 4.4 และ 5.0 ต่อปี ตามลาดับ* (*เรียงตามสัดส่วนใน MPI ในระบบ TSIC 2 หลัก ยังคงเป็นตัวสนับสนุนภาพรวม MPI ในเดือนนี้

?เดือน ก.ค. 66จานวนนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติส่งสัญญาณปรับตัวดีขึ้นจากเดือนก่อน โดยรับปัจจัยสนับสนุนจากช่วง Summer HolidayHolidayในหลายประเทศ เช่นเดียวกับจานวนผู้เยี่ยมเยือนชาวไทยที่เพิ่มขึ้นเช่นกัน โดยได้รับอานิสงค์จากช่วงวันหยุดยาวในช่วงวันคล้ายวันพระราชสมภพ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 10 ?

จานวนนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติ (ล้านคน)

จานวนผู้เยี่ยมเยือนชาวไทย (ล้านคน)

จานวนนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติที่เดินทางเข้ามาในประเทศไทยเดือน ก.ค. 66 มีจานวน 2.49 ล้านคน ขยายตัวที่ร้อยละ 119.5 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน โดยมีสาเหตุมาจากปัจจัยฐานต่าจากการแพร่ระบาดของโรคโควิด-19ในปี 65โดยนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติส่วนใหญ่เป็นนักท่องเที่ยวชาวจีน มาเลเซีย เกาหลีใต้ อินเดีย และเวียดนาม ตามลาดับ โดยเมื่อขจัดผลทางฤดูกาลแล้วพบว่า ขยายตัวในอัตราร้อยละ 0.3ทั้งนี้ จานวนนักท่องเที่ยวชาวจีนที่เดินทางเข้ามามีจานวน 4.10 แสนคน เพิ่มขึ้นจากเดือนก่อนเล็กน้อยที่มีจานวน 3.12 แสนคน จากการฟื้นตัวของสายการบินที่ยังฟื้นตัวไม่เต็มที่ และความเชื่อมั่นของนักท่องเที่ยวชาวจีนที่มีต่อประเทศไทย โดยเฉพาะในเรื่องของความปลอดภัย ขณะที่จานวนนักท่องเที่ยวชาวมาเลเซียลดลงเล็กน้อยจากการที่มาเลเซียมีวันหยุดน้อยลง

การท่องเที่ยวของชาวไทย สะท้อนจากจานวนผู้เยี่ยมเยือนชาวไทยใน ก.ค. 66 มีจานวน 19.8 ล้านคน ขยายตัวในอัตราชะลอที่ร้อยละ 18.2 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน อย่างไรก็ดี เมื่อขจัดผลทางฤดูกาล พบว่า ยังคงขยายตัวได้ใกล้เคียงกับเดือนก่อนหน้าที่ร้อยละ 2.1 โดยจานวนผู้เยี่ยมเยือนในเดือน ก.ค. 66 ที่เพิ่มขึ้นเนื่องจากเป็นผลจากการเข้าสู่ฤดูกาลท่องเที่ยวช่วงหน้ากลางปี อีกทั้งยังได้รับปัจจัยสนับสนุนจากช่วงวันหยุดยาวในช่วงวันคล้ายวันพระราชสมภพ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 10 ทั้งนี้ รายได้จากการท่องเที่ยวของชาวไทยเดือน ก.ค. อยู่ที่ 62,280 ล้านบาท ขยายตัวในอัตราชะลอที่ร้อยละ 18.9 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน

หนี้สาธารณะคงค้าง ณ สิ้นเดือน ก.ค. 66 มีจานวนทั้งสิ้น 10,972,094.03ล้านบาท หรือคิดเป็นร้อยละ 61.69 ของ GDPGDPและเมื่อเปรียบเทียบกับเดือนก่อนหน้า พบว่า หนี้สาธารณะคงค้างเพิ่มขึ้นสุทธิ 48,910 57ล้านบาท

ทั้งนี้ สถานะหนี้สาธารณะของไทยถือว่ามีความมั่นคง สะท้อนได้จากสัดส่วนหนี้สาธารณะต่อ GDPGDPยังอยู่ในระดับต่ากว่ากรอบวินัยในการบริหารหนี้สาธารณะที่ตั้งไว้ไม่เกินร้อยละ 770 ของ GDPGDPและหนี้สาธารณะส่วนใหญ่เป็นหนี้ระยะยาว โดยแบ่งตามอายุคงเหลือคิดเป็นร้อยละ 87.82ของยอดหนี้สาธารณะและเป็นหนี้ในประเทศคิดเป็นร้อยละ 98.48ของยอดหนี้สาธารณะ

ดุลบัญชีเดินสะพัดเดือน ก.ค. 666ขาดดุลที่ 444.94444.94ล้านดอลลาร์สหรัฐหลังเกินดุลในเดือนก่อนหน้าที่ 1,448.811,448.81ล้านดอลลาร์สหรัฐ

โดยเดือน ก.ค. 666ดุลบริการ รายได้ และเงินโอน ขาดดุลที่ 800.12800.12ล้านดอลลาร์สหรัฐ ขาดดุลเพิ่มขึ้นจากเดือนก่อนหน้า ขณะที่ดุลการค้า (ตามระบบ BOP) เกินดุลลดลงจากเดือนก่อนหน้ามาอยู่ที่355.18355.18ล้านดอลลาร์สหรัฐ สาหรับดุลบัญชีเดินสะพัดในปี 666เกินดุลรวม 1,125.461,125.46ล้านดอลลาร์สหรัฐ

สินเชื่อในสถาบันการเงินเดือน ก.ค. 666มียอดคงค้าง 20.3 44ล้านล้านบาท คิดเป็นการขยายตัวที่ร้อยละ 0.20.2จากช่วงเดียวกันปีก่อน

เงินฝากในสถาบันการเงินเดือน ก.ค. 666มียอดคงค้าง 24. 4848ล้านล้านบาท คิดเป็นการขยายตัวที่ร้อยละ 1.71.7จากช่วงเดียวกันปีก่อน

หรือหดตัวที่ร้อยละ -0.11จากเดือนก่อนหน้า (หลังขจัดผลทางฤดูกาล) เมื่อแยกประเภทการขอสินเชื่อพบว่า สินเชื่อเพื่อธุรกิจหดตัวเร่งขึ้นที่ร้อยละ 2.92.9จากช่วงเดียวกันของปีก่อน ขณะที่สินเชื่อเพื่อการอุปโภคบริโภคขยายตัวชะลอลงที่ร้อยละ 2.02.0จากช่วงเดียวกันของปีก่อน

หรือหากขจัดผลทางฤดูกาลแล้วหดตัวที่ร้อยละ

0.10.1จากเดือนก่อนหน้า โดยเงินฝากในธนาคารพาณิชย์ขยายตัวชะลอลงที่ร้อยละ 0.70.7จากช่วงเดียวกันของปีก่อนและเงินฝากในสถาบันการเงินเฉพาะกิจขยายตัวชะลอลงที่ร้อยละ 4.74.7จากช่วงเดียวกันของปีก่อน

เครื่องชี้เศรษฐกิจต่างประเทศ

ที่มา: ฐานข้อมูล CEIC และ TradingeconomicsTradingeconomicsรวมรวบโดย สศค.

GDP

GDPไตรมาส 2 ปี 66 (ปรับปรุงครั้งที่ 1) ขยายตัวที่ร้อยละ 2.5 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน เร่งขึ้นจากไตรมาสก่อนหน้าที่ร้อยละ 1.8 จากช่วงเดียวกันปีก่อน หรือคิดเป็นการขยายตัวที่ร้อยละ 2.1 เมื่อคานวนแบบ annualized rate และเป็นการขยายตัวที่ร้อยละ 0.5เมื่อเทียบกับไตรมาสก่อนหน้า (หลังขจัดผลทางฤดูกาลแล้ว)

ดัชนีราคากลางบ้าน เดือน มิ.ย. 66 ขยายตัวที่ร้อยละ 0.3 จากเดือนก่อนหน้า (หลังขจัดผลทางฤดูกาลแล้ว) ชะลอลงจากเดือนก่อนหน้าที่อยู่ที่ร้อยละ 0.7 โดยดัชนีราคากลางบ้านปรับตัวลดลงในเขต Midwest, West South Central, และ East South Central เป็นสาคัญ

จานวนผู้ขอรับสวัสดิการว่างงานครั้งแรกรายสัปดาห์ (20 -26 ส.ค. 66) อยู่ที่ 2.28 แสนราย ลดลงจากสัปดาห์ก่อนหน้าที่ระดับ 2.32แสนราย และต่ากว่าที่ตลาดคาดการณ์ไว้ที่ 2.35แสนราย ขณะที่ จานวนผู้ขอรับสวัสดิการว่างงานเฉลี่ย 4 สัปดาห์ (four week moving

average) ซึ่งขจัดความผันผวนรายสัปดาห์แล้ว ใกล้เคียงกับสัปดาห์ก่อนหน้าที่ 2.37 แสนราย

สหรัฐอเมริกา

ดัชนีฯ PMIPMIภาคอุตสาหกรรม (NBS) เดือน ส.ค. 66 อยู่ที่ระดับ 49.7 จุด เพิ่มขึ้นจากเดือนก่อนหน้าที่ระดับ 49.3 จุด และสูงกว่าที่ตลาดคาดการณ์ไว้ที่ 49.4จุด โดยดัชนีฯ ยังคงอยู่ในระดับต่ากว่า 50จุด ต่อเนื่องเป็นเดือนที่ 5ติดต่อกัน ซึ่งบ่งชี้ถึงการหดตัวของกิจกรรมในภาคอุตสาหกรรม

ดัชนีฯ PMIPMIนอกภาคอุตสาหกรรม (NBS) เดือน ส.ค. 66 อยู่ที่ระดับ 51.0 จุด ลดลงจากเดือนก่อนหน้าที่ระดับ 51.5 จุด และต่ากว่าที่ตลาดคาดการณ์ไว้เล็กน้อยที่ 51.1จุด โดยเป็นการลดลงต่อเนื่องเป็นเดือนที่ 5ติดต่อกัน อย่างไรก็ดี ดัชนีที่สูงกว่าระดับ 50บ่งชี้ว่าภาคบริการของจีนยังคงมีการขยายตัว

ดัชนีฯ PMI ภาคอุตสาหกรรม (Caixin) เดือน ส.ค. 66 อยู่ที่ระดับ 51.0 จุด เพิ่มขึ้นจากเดือนก่อนหน้าที่ระดับ 49.2จุด สูงกว่าที่ตลาดคาดการณ์ไว้ที่ 49.3จุด และเป็นระดับที่สูงที่สุดในรอบ 6เดือน

จีน

ดัชนี PMI ภาคอุตสาหกรรม เดือน ส.ค. 66 อยู่ที่ระดับ 53.9 จุด เพิ่มขึ้นจากเดือนก่อนหน้าที่อยู่ที่ระดับ 53.3 สูงกว่าระดับ 50.0 จุด เป็นเดือนที่ 24ติดต่อกัน และเป็นการเติบโตสูงสุดนับตั้งแต่เดือน พ.ย. 64โดยทั้งผลผลิตและการจ้างงานเพิ่มขึ้นมากที่สุดในรอบ 1ปี

อัตราเงินเฟ้อ เดือน ก.ค. 66 อยู่ที่ร้อยละ 3.3 จากช่วงเดียวกันปีก่อน เพิ่มขึ้นจากเดือน ส.ค. 66ที่อยู่ที่ร้อยละ 3.1จากช่วงเดียวกันปีก่อน

อัตราการว่างงาน เดือน ก.ค. 66 อยู่ที่ร้อยละ 2.7เพิ่มขึ้นจากเดือนก่อนหน้าที่อยู่ที่ร้อยละ 2.5

ดัชนีความเชื่อมั่นผู้บริโภค เดือน ส.ค. 66 อยู่ที่ระดับ 36.2 ลดลงจากระดับ 37.1ในเดือนก่อนหน้า

ยอดค้าปลีก เดือน ก.ค. 66 ขยายตัวร้อยละ 6.8 จากปีก่อนหน้า เพิ่มขึ้นจากเดือนก่อนหน้าที่ขยายตัวร้อยละ 5.6ต่อปี โดยการค้าปลีกขยายตัวต่อเนื่องเป็นเดือนที่ 17เนื่องจากการบริโภคที่แข็งแกร่ง

ดัชนีผู้จัดการฝ่ายจัดซื้อ (PMI) ภาคการผลิตขั้นสุดท้ายของญี่ปุ่น ณ เดือน ส.ค. ของญี่ปุ่น อยู่ที่ระดับ 49.6 เท่ากับเดือนก่อนหน้า และต่ากว่าระดับที่ตลาดคาดการณ์ไว้ที่ 49.7 ทั้งนี้ ดัชนีอยู่ต่ากว่าระดับ 50 ซึ่งบ่งชี้ว่ากิจกรรมภาดการผลิตญี่ปุ่นยังดงอยู่ในภาวะหดตัวต่อเนื่องเป็นเดือนที่ 3จากการหดตัวของคาสั่งซื้อใหม่ และการลดลงของอุปสงค์จากต่างประเทศ เป็นสาคัญ

ญี่ปุ่น

ผลผลิตภาคอุตสาหกรรม เดือน ก.ค. 66 หดตัวร้อยละ 8.0 จากปีก่อนหน้า ซึ่งเป็นการหดตัวต่อเนื่องเป็นเดือนที่ 10

ยอดค้าปลีก เดือน ก.ค. 66 หดตัวร้อยละ -3.2 ต่อปี นับเป็นการหดตัวที่มากที่สุดนับจาก ก.ค. 63เป็นต้นมา

ยอดค้าปลีก เดือน ส.ค. 66 ขยายตัวร้อยละ 7.6 จากช่วงเดียวกันปีก่อน เร่งขึ้นจากเดือนก่อนหน้าที่ขยายตัวร้อยละ 7.1และนับเป็นการขยายตัวติดต่อกันเป็นเดือนที่ 21

อัตราเงินเฟ้อ เดือน ส.ค. 66 อยู่ที่ร้อยละ 2.96 จากช่วงเดียวกันปีก่อน เพิ่มขึ้นจากเดือนก่อนหน้าที่อยู่ที่ร้อยละ 2.06จากช่วงเดียวกันปีก่อน

ผลผลิตภาคอุตสาหกรรม เดือน ส.ค. 66 ขยายตัวร้อยละ 2.6 จากช่วงเดียวกันปีก่อน เร่งขึ้นจากเดือนก่อนหน้าที่ขยายตัวร้อยละ 2.3จากช่วงเดียวกันปีก่อน และนับเป็นการขยายตัวเป็นเดือนที่ 4ติดต่อกัน

มูลค่าส่งออก เดือน ส.ค. 66 หดตัวที่ร้อยละ -7.6 จากช่วงเดียวกันปีก่อน จากเดือนก่อนหน้าที่หดตัวร้อยละ -2.2จากช่วงเดียวกันปีก่อน

มูลค่าการนาเข้า เดือน ส.ค. 66 หดตัวที่ร้อยละ -8.3 จากช่วงเดียวกันปีก่อน จากเดือนก่อนหน้าที่หดตัวร้อยละ -11.6จากช่วงเดียวกันปีก่อน

ดุลการค้า เดือน ส.ค. 66 เกินดุลอยู่ที่ 28.6 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ ลดลงจากเดือนก่อนหน้าที่เกินดุลอยู่ที่ 27.0พันล้านดอลลาร์สหรัฐ

เวียดนาม

ยอดผลิตรถยนต์เดือน ก.ค. 66 อยู่ที่ 76,451 คัน ขยายตัวร้อยละ 31.6 จากปีก่อนหน้า และเป็นการเพิ่มขึ้นต่อเนื่องเป็นเดือนที่ 6เนื่องจากผู้ผลิตคลี่คลายปัญหาการขาดแคลนชิปทั่วโลกลง อย่างไรก็ตาม ผลผลิตยังคงต่ากว่าช่วงก่อนเกิดโรคระบาดในเดือน ก.ค. 62ถึงร้อยละ 29.4

สหราชอาณาจักร

ดัชนี PMIPMIภาคอุตสาหกรรม เดือน ส.ค. 66 อยู่ที่ระดับ 49.7 จุด ลดลงจากเดือนก่อนหน้าที่อยู่ที่ระดับ 51.9จุด นับเป็นระดับต่ากว่า 50.0จุด เป็นครั้งแรกในรอบ 2ปี ส่งสัญญาณถดถอยของภาคการผลิต

ฟิลิปปินส์

ดัชนี PMIPMIภาคอุตสาหกรรม เดือน ส.ค. 66 อยู่ที่ระดับ 47.8 จุด ไม่เปลี่ยนแปลงจากเดือนก่อนหน้า นับเป็นการหดตัวครั้งที่ 12ติดต่อกัน เนื่องจากการผลิตยังคงซบเซาท่ามกลางยอดคาสั่งซื้อใหม่ที่ลดลง

ดัชนีผู้จัดการฝ่ายจัดซื้อภาคอุตสาหกรรม (PMI) เดือน ส.ค. 66 อยู่ที่ระดับ 44.3 จุด เพิ่มขึ้นจากเดือนก่อนหน้าที่ระดับ 44.1 จุด ดัชนีอยู่ในระดับต่ากว่า 50 บ่งชี้การหดตัวของภาคอุตสาหกรรม โดยดัชนีหดตัวต่อเนื่องเป็นเดือนที่ 15ท่ามกลางความต้องการสินค้าอุตสาหกรรมที่ลดลงอันเนื่องจากอุปสงค์โลกที่ยังคงชะลอตัว

ดัชนีฯ PMIPMIภาคอุตสาหกรรม เดือน ส.ค. 66 คงที่จากเดือนก่อนหน้าอยู่ที่ระดับ 499.66จุด

เครื่องชี้ตลาดเงิน ตลาดอัตราแลกเปลี่ยน

ดัชนี SETSETปรับตัวเพิ่มขึ้นจากสัปดาห์ก่อน สอดคล้องกับตลาดหลักทรัพย์อื่นๆ ในภูมิภาคที่ปรับตัวเพิ่มขึ้นจากสัปดาห์ก่อน เช่นNikkei 225225(ญี่ปุ่น) TWSE ไต้หวัน และ Shanghai จีน) เป็นต้น เมื่อวันที่ 31ส.ค. 666ดัชนีปิดที่ระดับ 1,51,565 94จุด ด้วยมูลค่าซื้อขายเฉลี่ยระหว่างวันที่ 228 31ส.ค. 6666อยู่ที่65,590.4865,590.48ล้านบาทต่อวันโดยนักลงทุนทั่วไปในประเทศ และนักลงทุนต่างชาติเป็นผู้ขายสุทธิ ขณะที่นักลงทุนสถาบันในประเทศ และนักลงทุนบัญชีบริษัทหลักทรัพย์เป็นผู้ซื้อสุทธิ ทั้งนี้ระหว่างวันที่ 228 -31ส.ค. 66 นักลงทุนต่างชาติ ขายหลักทรัพย์สุทธิ -4 225.47ล้านบาท

อัตราผลตอบแทนพันธบัตรรัฐบาลอายุ 11เดือน ถึง 99ปี ส่วนใหญ่ปรับตัวเพิ่มขึ้นในช่วง 11-3 bpsbpsขณะที่อัตราผลตอบแทนพันธบัตรรัฐบาลอายุ 10 -20 ปี ปรับตัวลดลงในช่วง -1 ถึง -6 bpsbpsโดยในสัปดาห์นี้นักลงทุนมีการประมูลพันธบัตรรัฐบาลอายุ 115 ปี ซึ่งมีนักลงทุนสนใจ 1.1.8 เท่าของวงเงินประมูล ทั้งนี้ ระหว่างวันที่28 31 ส.ค. 6666กระแสเงินทุนของนักลงทุนต่างชาติ ไหลออกจากตลาดพันธบัตรสุทธิ -5 352.73ล้านบาท และหากนับจากต้นปีจนถึงวันที่31ส.ค.6666กระแสเงินทุนของนักลงทุนต่างชาติ ไหลออกจากตลาดพันธบัตรสุทธิ

11114 626.34 ล้านบาท

เงินบาทอ่อนค่าลงจากสัปดาห์ก่อน โดย ณ วันที่31 ส.ค. 666เงินบาทปิดที่ 34.934.93บาทต่อดอลลาร์สหรัฐ อ่อนค่าลงร้อยละ 0.07จากสัปดาห์ก่อนหน้า สอดคล้องกับเงินสกุลอื่น ๆ ในภูมิภาค อาทิ เงินสกุลเยน เปโซ และดอลลาร์ไต้หวัน ที่ปรับตัวอ่อนค่าลงจากสัปดาห์ก่อนหน้า เมื่อเทียบกับดอลลาร์สหรัฐ ขณะที่เงินสกุลยูโร ริงกิตวอน ดอลลาร์สิงค์โปร์ และหยวน ปรับตัวแข็งค่าขึ้นจากสัปดาห์ก่อนหน้า เมื่อเทียบกับดอลลาร์สหรัฐ ทั้งนี้ เงินบาทอ่อนค่าน้อยกว่าเงินสกุลอื่น ๆ ในภูมิภาคส่งผลให้ดัชนีค่าเงินบาท (NEERNEER) อยู่ที่ร้อยละ -0.12

ที่มา: สำนักงานเศรษฐกิจการคลัง กระทรวงการคลัง


เว็บไซต์นี้มีการใช้งานคุกกี้ ศึกษารายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และ ข้อตกลงการใช้บริการ รับทราบ