ภาวะเศรษฐกิจไทยไตรมาสแรกของปี 2567 และแนวโน้มปี 2567

ข่าวเศรษฐกิจ Monday May 20, 2024 09:47 —สภาพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ

NESDCECONOMICREPORTQ1/2024ภาวะเศรษฐกิ กิจไทยไตรมาสแรกของปี 2567และแนวโน้ น้มปี 2567สำ สำ นั นักงานสภาพั พัฒนาการเศรษฐกิ กิจและสั สังคมแห่ ห่งชาติ ติ

แถลงข่ ข่าว

:20 พฤษภาคม 2567 เวลา 09.30 น.

เศรษฐกิจไทยในไตรมาสแรกของปี 2567 และแนวโน้มปี 2567

เศรษฐกิจไทยในไตรมาสแรกของปี 2567 ขยายตัวร้อยละ 1.5

ต่อเนื่องจากการขยายตัวร้อยละ 1.7 ในไตรมาสที่สี่ของปี 2566

(%YoY) และเมื่อปรับผลของฤดูกาลออกแล้ว เศรษฐกิจไทยใน

ไตรมาสที่หนึ่งของปี 2567 ขยายตัวร้อยละ 1.1 จากไตรมาสที่สี่

ของปี 2566 (QoQ_SA)

ด้านการใช้จ่าย การส่งออกบริการและการอุปโภคบริโภค

ภาคเอกชนขยายตัวในเกณฑ์สูง การลงทุนภาคเอกชนขยายตัว

ในเกณฑ์ดี ขณะที่การส่งออกสินค้า การใช้จ่ายเพื่อการอุปโภค

ของรัฐบาลและการลงทุนภาครัฐลดลง

ด้านการผลิต สาขาที่พักแรมและบริการด้านอาหาร สาขาขนส่งและ

สถานที่เก็บสินค้า สาขาไฟฟ้า ก๊าซฯ และสาขาข้อมูลข่าวสารและ

สื่อสาร ขยายตัวเร่งขึ น ส่วนสาขาการขายส่งขายปลีกและ

การซ่อมฯ ขยายตัวต่อเนื่อง ขณะที่สาขาการผลิตสินค้าอุตสาหกรรม

สาขาก่อสร้าง และสาขาเกษตรกรรมปรับตัวลดลง

แนวโน้มเศรษฐกิจไทยในปี 2567

คาดว่าจะขยายตัวในช่วงร้อยละ 2.0 - 3.0 (ค่ากลางการประมาณการร้อยละ 2.5) ปรับตัวดีขึ นอย่างช้า ๆ จากการขยายตัวร้อยละ 1.9

ในปี 2566 ทั งนี คาดว่าการอุปโภคบริโภคและการลงทุนภาคเอกชนจะขยายตัวร้อยละ 4.5 และร้อยละ 3.2 ตามล้าดับ มูลค่าการส่งออกในรูป

ดอลลาร์ สรอ. ขยายตัวร้อยละ 2.0 อัตราเงินเฟ้อเฉลี่ยอยู่ในช่วงร้อยละ 0.1 - 1.1 และดุลบัญชีเดินสะพัดเกินดุลร้อยละ 1.2 ของ GDP

ปัจจัยสนับสนุน

? การเพิ่มขึ นของแรงสนับสนุนจากการใช้จ่ายและการลงทุนภาครัฐ

ในช่วงทเ หลอื ของปี

? การฟนื้ ตวั อยา งตอ่ เนอื่ งของภาคการทอ่ งเทยี่ ว ตามการเพมิ่ ขนึ ของ

นักทอ่ งเทยี่ วตา งชาติ

? การขยายตัวในเกณฑ์ดีของการอุปโภคบริโภคภายในประเทศ

โดยเฉพาะในหมวดบรกิ ร

? การขยายตวั อยา งตอ่ เนอื่ งของการลงทนุ ภาคเอกชน สอดคลอ้ งกบั

การขยายตัวของการน้าเข้าสินค้าทุน รวมทั งการส่งเสริมการลงทุน

ในพนื ทนิ่คมอุตสาหกรรม

? การกลบั มาขยายตวั อยา งช้า ๆ ของการสง่ ออกสนิ คา ตามการฟนื้ ตวั

ของการค้าโลก

ข้อจากัดและปัจจัยเสี่ยง

? ภาระหนสี นิ ครวั เรอื นและภาคธรุ กจิ ทอี่ ยใ นระดบั สงู และการเพมิ่ ขนึ

ของภาระดอกเบยี สง่ ผลให้สถาบันการเงนิ ระมดั ระวงั การให้สนิ เชอื่

มากขนึ

? ผลกระทบจากการเปลยี่ นแปลงของสภาพภมู อิ กาศ

? ความเสี่ยงจากความผันผวนของระบบเศรษฐกิจและการค้าโลก

ที่อาจเพิ่มขึนตามสถานการณ์ความขัดแย้งทางภูมิรัฐศาสตร

การปรับทิศทางนโยบายการเงินของประเทศเศรษฐกิจหลัก และ

การชะลอตัวของเศรษฐกิจจีน

การบริหารนโยบายเศรษฐกิจมหภาคในช่วงที่เหลือของปี 2567 ควรให้ความส้าคัญกับ

การเร่งรัดการเบิกจ่ายงบประมาณเพื่อให้เม็ดเงินรายจ่ายภาครัฐ

เข้าสู่ระบบเศรษฐกิจโดยเร็ว

การดูแลสภาพคล่องให้เพียงพอสาหรับภาคธุรกิจโดยเฉพาะ

ธุรกิจ SMEs ที่มีศักยภาพแต่ประสบปัญหาการเข้าถึงสภาพคล่อง

ควบคู่ไปกับการยกระดับศักยภาพการผลิตและเพิ่มขีดความสามารถ

ให้แก่ผู้ประกอบการ SMEs

การดูแลการผลิตภาคเกษตรและรายได้เกษตรกร โดย (1) การติดตาม

และวางแผนแนวทางในการบริหารจัดการทรัพยากรน้า (2) การเตรียม

ความพร้อมต่อปัญหาอุทกภัย (3) การฟื้นฟูภาคเกษตรที่ได้รับ

ผลกระทบจากภัยแล้งให้กลับมาฟื้นตัวโดยเร็ว (4) การสนับสนุน

งานวิจัยและพัฒนาเพื่อการปรับปรุงพันธุ์พืช (5) การเสริมสร้าง

ภูมิคุ้มกันแก่เกษตรกรผ่านการส่งเสริมรูปแบบและพัฒนาระบบ

ประกันภัยพืชผล และ (6) การเฝ้าระวัง ติดตาม การปราบปราม

การลักลอบการน้าเข้าสินค้าเกษตรผิดกฎหมาย

การขับเคลื่อนการส่งออกสินค้าที่มีศักยภาพและเป็นที่ต้องการของ

ตลาดโลก ควบคู่ไปกับการปรับโครงสร้างเศรษฐกิจทั้งภาคการผลิต

และภาคบริการ โดย (1) การเพิ่มผลิตภาพการผลิตผ่านการใช้

นวัตกรรมและเทคโนโลยีขั นสูง (2) การสร้างความเชื่อมั่นและเตรียม

ความพร้อมของระบบนิเวศที่เหมาะสมเพื่อดึงดูดอุตสาหกรรม

เป้าหมายให้เข้ามาลงทุนในประเทศไทย (3) การดึงดูดนักท่องเที่ยว

ที่มีศักยภาพและมีก้าลังซื อสูง

การเตรียมมาตรการเพื่อรองรับผลกระทบและใช้ประโยชน์จาก

ความเสี่ยงที่อาจเกิดขึ้นในระยะต่อไป ทั งจากการยกระดับ

ความรุนแรงของความตึงเครียดทางภูมิรัฐศาสตร์ การกีดกันทาง

การค้า การเปลี่ยนแปลงของสภาพภูมิอากาศ และความผันผวน

ในระบบเศรษฐกิจและตลาดการเงินโลก

เศรษฐกิจไทยในไตรมาสแรกของปี 2567

การอุปโภคบริโภคภาคเอกชน ขยายตัวในเกณฑ์สูงร้อยละ 6.9 ต่อเนื่องจาก

ร้อยละ 7.4 ในไตรมาสก่อนหน้า สอดคล้องกับการปรับตัวดีขึ นของภาคบริการ

ด้านการท่องเที่ยว และความเชื่อมั่นผู้บริโภคที่อยู่ในระดับสูงสุดในรอบ 18 ไตรมาส

โดยการใช้จ่ายในหมวดบริการขยายตัวในเกณฑ์สูงร้อยละ 13.7 ตามการขยายตัว

ของการใช้จ่ายในกลุ่มโรงแรมและภัตตาคารและกลุ่มบริการทางการเงินร้อยละ

42.7 และร้อยละ 8.0 ตามล้าดับ การใช้จ่ายหมวดสินค้าไม่คงทนขยายตัวร้อยละ

4.7 และเป็นอัตราการขยายตัวสูงสุดในรอบ 45 ไตรมาส ตามการขยายตัวเร่งขึ น

ของการใช้จ่ายกลุ่มอาหารและเครื่องดื่ม และการขยายตัวของการใช้จ่ายกลุ่มไฟฟ้า

ก๊าซ และน้ามันเชื อเพลิง สอดคล้องกับอุณหภูมิเฉลี่ยที่ปรับตัวเพิ่มขึ น ส่วนการใช้

จ่ายหมวดสินค้ากึ่งคงทนขยายตัวร้อยละ 3.3 เร่งขึ นจากร้อยละ 0.3 ในไตรมาสก่อน

ตามการขยายตัวของการใช้จ่ายกลุ่มเสื อผ้าและรองเท้า และกลุ่มเครื่องเรือนและเครื่องตกแต่ง ขณะที่การใช้จ่ายในหมวดสินค้าคงทนลดลง

ร้อยละ 6.8 ซึ่งเป็นการลดลงมากที่สุดในรอบ 10 ไตรมาส ตามการลดลงของการใช้จ่ายเพื่อซื อยานพาหนะร้อยละ 13.9 ส้าหรับดัชนีความเชื่อมั่นของ

ผู้บริโภคเกี่ยวกับภาวะเศรษฐกิจโดยรวมในไตรมาสนี อยู่ที่ระดับ 57.2 สูงสุดในรอบ 18 ไตรมาสนับตั งแต่ไตรมาสที่สี่ของปี 2562 การใช้จ่ายเพื่อ

การอุปโภคของรัฐบาล ลดลงร้อยละ 2.1 เทียบกับการลดลงร้อยละ 3.0 ในไตรมาสก่อนหน้า โดยค่าซื อสินค้าและบริการลดลงร้อยละ 7.6 และรายจ่าย

การโอนเพื่อสวัสดิการสังคมที่ไม่เป็นตัวเงินส้าหรับสินค้าและบริการในระบบตลาดลดลงร้อยละ 10.7 ขณะที่ค่าตอบแทนแรงงานขยายตัวร้อยละ 1.9

ส้าหรับอัตราการเบิกจ่ายงบประมาณรายจ่ายประจ้าในไตรมาสนี อยู่ที่ร้อยละ 19.7 (ต้ากว่าอัตราเบิกจ่ายร้อยละ 32.0 ในไตรมาสก่อนหน้า และร้อยละ

23.4 ในไตรมาสเดียวกันของปีก่อน)

การลงทุนรวม ลดลงรอ้ ยละ 4.2 ตอ่ เนอื่ งจากการลดลงรอ้ ยละ 0.4 ในไตรมาส

ก่อนหน้า ตามการลดลงของการลงทุนภาครัฐ ติดต่อกันเป็นไตรมาสที่ 4 ร้อยละ

27.7 เทียบกับการลดลงร้อยละ 20.1 ในไตรมาสก่อนหน้า โดยเป็นผลจาก

การลงทุนรัฐบาลที่ลดลงร้อยละ 46.0 เนื่องจากความล่าช้าของกระบวนการ

การงบประมาณรายจ่ายประจ้าปี 2567 ส่วนการลงทุนรัฐวิสาหกิจลดลงร้อยละ

2.8 ส้าหรับอัตราการเบิกจ่ายงบประมาณรายจ่ายลงทุนในไตรมาสนี อยู่ที่ร้อยละ

5.2 (ต้ากว่าอัตราเบิกจ่ายร้อยละ 6.4 และร้อยละ 17.7 ในไตรมาสก่อนหน้าและ

ในไตรมาสเดียวกันของปีก่อนตามล้าดับ) ขณะที่การลงทุนภาคเอกชน ขยายตัว

ในเกณฑ์ดรี อ้ ยละ 4.6 ตอ่ เนอื่ งจากการขยายตวั รอ้ ยละ 5.0 ในไตรมาสกอ่ นหน้า

โดยการลงทุนในหมวดเครื่องจักรเครื่องมือขยายตัวร้อยละ 4.5 ต่อเนื่องจาก

ร้อยละ 5.2 ในไตรมาสก่อนหน้า ส่วนการลงทุนในหมวดก่อสร้างขยายตัวร้อยละ

5.2 เร่งขึ นจากร้อยละ 3.4 ในไตรมาสก่อนหน้า

การส่งออกสินค้า มีมูลค่า 69,592 ล้านดอลลาร์ สรอ. ลดลงร้อยละ 1.0

ตามการลดลงของปริมาณส่งออกร้อยละ 2.3 ขณะที่ราคาส่งออกเพิ่มขึ นร้อยละ

1.3 กลุ่มสินค้าที่มีมูลค่าส่งออกลดลง อาทิ ทุเรียน (ลดลงร้อยละ 53.2) น้าตาล

(ลดลงร้อยละ 29.1) ผลิตภัณฑ์ยาง (ลดลงร้อยละ 19.2) เครื่องปรับอากาศ (ลดลง

ร้อยละ 15.4) รถกระบะและรถบรรทุก (ลดลงร้อยละ 15.3) แผงวงจรรวมและ

ชนิ สว่ น (ลดลงรอ้ ยละ 11.3) และชนิ สว่ นและอุปกรณค์ อมพวิ เตอร (ลดลงรอ้ ยละ

6.9) เป็นต้น กลุ่มสินค้าที่มีมูลค่าส่งออกเพิ่มขึ้น ข้าว (ร้อยละ 43.2) ยางพารา

(ร้อยละ 24.9) คอมพิวเตอร์ (ร้อยละ 172.5) เหล็กและเหล็กกล้า (ร้อยละ 62.4)

และอุปกรณ์สื่อสารโทรคมนาคม (ร้อยละ 24.3) เป็นต้น

สาขาเกษตรกรรม การป่าไม้ และการประมง ลดลงร้อยละ 3.5 ต่อเนื่องจากการลดลงร้อยละ 0.6 ในไตรมาสก่อนหน้า เนื่องจาก

สภาพอากาศที่ไม่เอื ออ้านวยประกอบกับปริมาณน้าอยู่ในระดับต้ากว่าช่วงเดียวกันของปีก่อน ส่งผลกระทบให้ผลผลิตหมวดพืชผลส้าคัญลดลง

โดยเฉพาะปาล์มน้ามัน กลุ่มผลไม้ ข้าวเปลือก อ้อย และมันส้าปะหลัง ในขณะที่ผลผลิตหมวดปศุสัตว์ขยายตัวต่อเนื่องเป็นไตรมาสที่ 7 ผลผลิตสินค้า

เกษตรสาคัญที่ปรับตัวลดลง ได้แก่ ปาล์มน้ามัน (ลดลงร้อยละ 20.9) อ้อย (ลดลงร้อยละ 12.2) และมันส้าปะหลัง (ลดลงร้อยละ 9.0) กลุ่มไม้ผล

(ลดลงร้อยละ 6.8) โดยเฉพาะทุเรียน (ลดลงร้อยละ 50.0) และข้าวเปลือก (ลดลงร้อยละ 6.0) ตามล้าดับ ในขณะที่ผลผลิตสินค้าเกษตรที่ปรับตัว

เพิ่มขึ้น ได้แก่ สุกร (ร้อยละ 4.0) โคเนื อ (ร้อยละ 4.8) ข้าวโพดเลี ยงสัตว์ (ร้อยละ 3.0) ตามล้าดับ ในขณะที่ดัชนีราคาสินค้าเกษตร เพิ่มขึ นต่อเนื่อง

เป็นไตรมาสที่ 2 ร้อยละ 5.6 ตามการเพิ่มขึ นของดัชนีราคาสินค้าเกษตรส้าคัญ อาทิ ยางพารา (ร้อยละ 49.8) ข้าวเปลือก (ร้อยละ 11.8) อ้อย

(ร้อยละ 28.9) ปาล์มน้ามัน (ร้อยละ 15.4) และมันส้าปะหลัง (ร้อยละ 6.0) ตามล้าดับ การเพิ่มขึ นของดัชนีราคาสินค้าเกษตร ส่งผลให้ดัชนีรายได้

เกษตรกรโดยรวมกลับมาขยายตัวครั งแรกในรอบ 4 ไตรมาส ร้อยละ 0.3

เศรษฐกิจไทยในไตรมาสแรกของปี 2567

สาขาการผลิตสินค้าอุตสาหกรรม ลดลงต่อเนื่องเป็นไตรมาสที่ 6 ร้อยละ 3.0 เทียบกับการลดลงร้อยละ 2.4 ในไตรมาสก่อนหน้า ตามการลดลง

ของทุกกลุ่มการผลิต โดยเฉพาะกลุ่มการผลิตที่มีสัดส่วนการส่งออกในช่วงร้อยละ 30 - 60 และกลุ่มการผลิตเพื่อการส่งออก (สัดส่วนส่งออกมากกว่า

ร้อยละ 60) เป็นส้าคัญ สอดคล้องกับการลดลงของดัชนีผลผลิตอุตสาหกรรมร้อยละ 3.7 เทียบกับการลดลงร้อยละ 2.9 ในไตรมาสก่อนหน้า โดยดัชนี

ผลผลิตอุตสาหกรรมที่มีสัดส่วนการส่งออกในช่วงร้อยละ 30 - 60 ลดลงต่อเนื่องเป็นไตรมาสที่ 4 ร้อยละ 7.5 การผลิตสินค้าส้าคัญ ๆ ที่ปรับตัวลดลง

ได้แก่ การผลิตยานยนต์ (ลดลงร้อยละ 16.7) และการผลิตน้าตาล (ลดลงร้อยละ 7.8) ส่วนดัชนีผลผลิตอุตสาหกรรมกลุ่มการผลิตเพื่อส่งออก

(สัดส่วนส่งออกมากกว่าร้อยละ 60) ลดลงต่อเนื่องเป็นไตรมาสที่ 6 ร้อยละ 5.3 เทียบกับ

การลดลงร้อยละ 10.1 ในไตรมาสก่อนหน้า การผลิตสินค้าส้าคัญ ๆ ที่ปรับตัวลดลง ได้แก่

การผลติ ชนิ สว่ นและแผน่ วงจรอิเลก็ ทรอนิกส (ลดลงรอ้ ยละ 17.2) และการผลติ คอมพวิ เตอรแ ละ

อุปกรณ์ต่อพ่วง (ลดลงร้อยละ 16.7) และดัชนีผลผลิตอุตสาหกรรมกลุ่มการผลิตเพื่อบริโภค

ภายในประเทศ (สัดส่วนส่งออกน้อยกว่าร้อยละ 30) ลดลงครั งแรกในรอบ 3 ไตรมาส ร้อยละ

0.4 เทียบกับการเพิ่มขึ นร้อยละ 3.9 ในไตรมาสก่อนหน้า การผลิตสินค้าส้าคัญ ๆ ที่ปรับตัวลดลง

ได้แก่ การผลิตน้ามันปาล์ม (ลดลงร้อยละ 20.6) และการผลิตเหล็กและเหล็กกล้าขั นมูลฐาน

(ลดลงร้อยละ 6.8) อย่างไรก็ตาม การผลิตปุ๋ยเคมีและสารประกอบไนโตรเจนปรับตัวเพิ่มขึ น

ร้อยละ 41.0 ส้าหรับอัตราการใช้กาลังการผลิตเฉลี่ยอยู่ที่ร้อยละ 60.45 สูงกว่าร้อยละ 57.38

ในไตรมาสก่อนหน้า แต่ต้ากว่าร้อยละ 64.19 ในไตรมาสเดียวกันของปีก่อน

สาขาที่พักแรมและบริการด้านอาหาร ขยายตัวในเกณฑ์สูงร้อยละ 11.8 ต่อเนื่องจาก

การขยายตัวร้อยละ 9.8 ในไตรมาสก่อนหน้า ตามการเพิ่มขึ นของจ้านวนนักท่องเที่ยว

ต่างประเทศและการท่องเที่ยวภายในประเทศ (ไทยเที่ยวไทย) โดยในไตรมาสนี มีนักท่องเที่ยว

ต่างประเทศที่เดินทางเข้ามาในประเทศไทยจ้านวน 9.370 ล้านคน (คิดเป็นร้อยละ 92.01 ของ

ช่วงก่อนการแพร่ระบาดของโรคโควิด-19) เพิ่มขึ นร้อยละ 43.5 ส่งผลให้มูลค่าบริการรับ

ด้านการท่องเที่ยวในไตรมาสนี อยู่ที่ 3.71 แสนล้านบาท (คิดเป็นร้อยละ 74.40 ของช่วงก่อน

การแพร่ระบาดของโรคโควิด-19) เพิ่มขึ นร้อยละ 38.3 ส่วนการท่องเที่ยวภายในประเทศของ

นักท่องเที่ยวชาวไทย (ไทยเที่ยวไทย) มีจ้านวน 67.990 ล้านคน-ครั ง เพิ่มขึ นต่อเนื่องร้อยละ 8.6

สรา งรายรบั จากนกั ท่องเทยี่ วชาวไทยอยทู่ 2.32 แสนล้านบาท เพมิ่ ขนึ ตอ่ เนอื่ งเป็นไตรมาสที่ 9

ร้อยละ 10.2 เทียบกับการขยายตัวร้อยละ 26.4 ในไตรมาสก่อนหน้า ส่งผลให้ในไตรมาสนี มีรายรับรวมจากการท่องเที่ยว 6.03 แสนล้านบาท

เพิ่มขึ้นร้อยละ 26.0 ส้าหรับอัตราการเข้าพักเฉลี่ยในไตรมาสนี อยู่ที่ร้อยละ 75.27 สูงกว่าร้อยละ 73.55 ในไตรมาสก่อนหน้า และสูงกว่าร้อยละ

70.24 ในไตรมาสเดียวกันของปีก่อน และเป็นอัตราการเข้าพักสูงสุดในรอบ 20 ไตรมาส

สาขาการขายส่งและการขายปลีก การซ่อมยานยนต์และจักรยานยนต์ เพิ่มขึ นร้อยละ 4.3 ชะลอตัวลงจากการขยายตัวร้อยละ 5.1

ในไตรมาสก่อนหน้า ตามการชะลอตัวของการใช้จ่ายภาคครัวเรือน โดยดัชนีการขายปลีก (ยกเว้นยานยนต์และจักรยานยนต์) ขยายตัวในเกณฑ์สูง

ร้อยละ 10.7 แต่ชะลอตัวลงจากการขยายตัวร้อยละ 17.9 ในไตรมาสก่อนหน้า ตามการชะลอตัวของหมวดร้านขายปลีกสินค้าประเภทอื่น ๆ อาทิ

ร้านเครื่องประดับ และร้านเครื่องส้าอาง และหมวดการขายปลีกในร้านค้าทั่วไป โดยเฉพาะการขายปลีกในร้านดิสเคาท์สโตร์/ซุปเปอร์เซ็นเตอร์/ไฮเปอร์

มาร์เก็ต ในขณะที่ดัชนีการขายส่ง การขายปลีก การซ่อมยานยนต์และจักรยานยนต์ ลดลงร้อยละ 16.9 เทียบกับการลดลงร้อยละ 12.2 ในไตรมาส

กอ่ นหน้า ตามการลดลงในทกุ หมวด อาทิ หมวดการขายยานยนต และหมวดการขายชนิ สว่ นและอุปกรณเ สรมิ ของยานยนต และดชั นกี รขายสง่ (ยกเว้น

ยานยนต์และจักรยานยนต์) ลดลงร้อยละ 0.8 เทียบกับการลดลงร้อยละ 3.9 ในไตรมาสก่อนหน้า ตามการลดลงของหมวดการขายส่งสินค้าทั่วไป

สาขาการขนส่งและสถานที่เก็บสินค้า เพิ่มขึ นร้อยละ 9.4 เร่งขึ นจากการขยายตัวร้อยละ 7.0 ในไตรมาสก่อนหน้า ตามการขยายตัวของบริการ

ขนส่งในทุกประเภท ประกอบด้วย (1) บริการขนส่งทางบกและท่อล้าเลียง ขยายตัวร้อยละ 5.7 (2) บริการขนส่งทางอากาศ ขยายตัวร้อยละ 24.1 และ

(3) บริการขนส่งทางน้า ขยายตัวร้อยละ 5.4 ส้าหรับบริการสนับสนุนการขนส่งเพิ่มขึ นร้อยละ 9.9 ชะลอตัวลงจากร้อยละ 12.3 ในไตรมาสก่อนหน้า และ

บริการไปรษณีย์เพิ่มขึ นร้อยละ 15.8 เร่งขึ นจากร้อยละ 11.8 ในไตรมาสก่อนหน้า

สาขาการก่อสร้าง ลดลงร้อยละ 17.3 ต่อเนื่องจากการลดลงร้อยละ 8.8 ในไตรมาสก่อนหน้า ตามการลดลงของการก่อสร้างภาครัฐ โดยเฉพาะ

การกอ่ สรา งของรฐั บาล เนอื่ งจากความลา ช้าของการประกาศใช้พระราชบัญญตั งิ บประมาณรายจา ยประจ้าปีงบประมาณ พ.ศ. 2567 เป็นส้าคญั ในขณะที่

การกอ่ สรา งของรฐั วสิ หกจิ เพมิ่ ขนึ ตอ่ เนอื่ งเป็นไตรมาสที่ 8 สว่ นการกอ่ สรา งภาคเอกชนเพมิ่ ขนึ ตอ่ เนอื่ งเป็นไตรมาสที่ 7 ตามการขยายตวั ในเกณฑ์ดขี อง

การก่อสร้างอาคารที่มิใช่ที่อยู่อาศัย โดยเฉพาะอาคารโรงงานและอาคารพาณิชย์

1. ภาวะเศรษฐกิจไทยไตรมาสแรกของปี 2567

ด้านการใช้จ่าย

การอุปโภคบริโภคภาคเอกชน: ขยายตัวในเกณฑ์สูงร้อยละ 6.9 ต่อเนื่องจากร้อยละ 7.4 ในไตรมาสก่อนหน้า

สอดคล้องกับการปรับตัวดีขึ้นของภาคบริการด้านการท่องเที่ยว และความเชื่อมั่นผู้บริโภคที่อยู่ในระดับสูงสุด

ในรอบ 18 ไตรมาส โดยการใช้จ่ายในหมวดบริการขยายตัวในเกณฑ์สูงร้อยละ 13.7 ตามการขยายตัวของการใช้จ่าย

ในกลุ่มโรงแรมและภัตตาคารและกลุ่มบริการทางการเงินร้อยละ 42.7 และร้อยละ 8.0 ตามล้าดับ การใช้จ่าย

หมวดสินค้าไม่คงทนขยายตัวร้อยละ 4.7 และเป็นอัตราการขยายตัวสูงสุดในรอบ 45 ไตรมาส ตามการขยายตัวเร่งขึ น

ของการใช้จ่ายกลุ่มอาหารและเครื่องดื่ม และการขยายตัวของการใช้จ่ายกลุ่มไฟฟ้า ก๊าซ และน้ามันเชื อเพลิง

สอดคล้องกับอุณหภูมิเฉลี่ยที่ปรับตัวเพิ่มขึ น ส่วนการใช้จ่ายหมวดสินค้ากึ่งคงทนขยายตัวร้อยละ 3.3 เร่งขึ นจาก

ร้อยละ 0.3 ในไตรมาสก่อน ตามการขยายตัวของการใช้จ่ายกลุ่มเสื อผ้าและรองเท้า และกลุ่มเครื่องเรือนและ

เครื่องตกแต่ง ขณะที่การใช้จ่ายในหมวดสินค้าคงทนลดลงร้อยละ 6.8 ซึ่งเป็นการลดลงมากที่สุดในรอบ 10

ไตรมาส ตามการลดลงของการใช้จ่ายเพื่อซื อยานพาหนะร้อยละ 13.9 สอดคล้องกับการเพิ่มความเข้มงวด

ในการปล่อยสินเชื่อของสถาบันการเงิน และการรอความชัดเจนของการผลิตรถยนต์ไฟฟ้าในประเทศและการเปิดตัว

รถยนต์รุ่นใหม่ ส้าหรับดัชนีความเชื่อมั่นของผู้บริโภคเกี่ยวกับภาวะเศรษฐกิจโดยรวมในไตรมาสนี อยู่ที่ระดับ 57.2

เพิ่มขึ นจากระดับ 55.2 ในไตรมาสก่อนหน้า สูงสุดในรอบ 18 ไตรมาสนับตั งแต่ไตรมาสที่สี่ของปี 2562

การลงทุนภาคเอกชน: ขยายตัวในเกณฑ์ดีร้อยละ 4.6 ต่อเนื่องจากการขยายตัวร้อยละ 5.0 ในไตรมาสก่อนหน้า

และเป็นการขยายตัวติดต่อกันเป็นไตรมาสที่ 9 ตามการขยายตัวของการลงทุนในหมวดเครื่องจักรเครื่องมือ

และหมวดก่อสร้าง โดยการลงทุนในหมวดเครื่องจักรเครื่องมือ ขยายตัวร้อยละ 4.5 ต่อเนื่องจากร้อยละ 5.2

ในไตรมาสก่อนหน้า สอดคล้องกับการเพิ่มขึ นของการการลงทุนในหมวดเครื่องใช้ส้านักงานที่เกี่ยวกับ

คอมพิวเตอร์ ซอฟต์แวร์ และเครื่องใช้ไฟฟ้า ส่วนการลงทุนในหมวดก่อสร้างขยายตัวร้อยละ 5.2 เร่งขึ นจาก

ร้อยละ 3.4 ในไตรมาสก่อนหน้า ตามการขยายตัวเร่งขึ นของการก่อสร้างโรงงานอุตสาหกรรม สอดคล้องกับ

พื นที่ได้รับอนุญาตก่อสร้างทั่วประเทศที่กลับมาขยายตัวร้อยละ 10.2 เทียบกับการลดลงร้อยละ 0.8 ในไตรมาส

ก่อนหน้า อย่างไรก็ตาม การก่อสร้างที่อยู่อาศัยชะลอตัว ส้าหรับดัชนีความเชื่อมั่นทางธุรกิจในไตรมาสนี อยู่ที่

ระดับ 48.8 จากระดับ 49.0 ในไตรมาสก่อนหน้า และต้ากว่าระดับ 50 ต่อเนื่องเป็นไตรมาสที่ 3

การส่งออก: มูลค่าการส่งออกในรูปเงินดอลลาร์ สรอ. ปรับตัวลดลงตามการลดลงของปริมาณการส่งออก

ในขณะที่ราคาส่งออกปรับตัวเพิ่มขึ้น การส่งออกสินค้าในไตรมาสแรกของปี 2567 มีมูลค่า 69,592 ล้านดอลลาร์

สรอ. ลดลงร้อยละ 1.0 เทียบกับการขยายตัวร้อยละ 4.6 ในไตรมาสก่อนหน้า โดยดัชนีปริมาณการส่งออก ลดลง

ร้อยละ 2.3 ตามการลดลงของดัชนีปริมาณการส่งออกสินค้าอุตสาหกรรมและสินค้าเกษตร ขณะที่ดัชนีราคาสินค้า

ส่งออก เพิ่มขึ นต่อเนื่องเป็นไตรมาสที่ 14 ร้อยละ 1.3 ตามดัชนีราคาส่งออกสินค้าเกษตรที่ยังขยายตัวในเกณฑ์สูง

ร้อยละ 7.9 เมื่อหักการส่งออกทองคาออกแล้ว มูลค่าการส่งออกปรับตัวลดลงร้อยละ 0.6 และเมื่อหัก

การส่งออกทองค้า น้ามัน และอาวุธยุทโธปกรณ์ออกแล้ว มูลค่าการส่งออกขยายตัวร้อยละ 0.4 ส่วนการส่งออก

ในรูปของเงินบาท มีมูลค่า 2,483 พันล้านบาท ขยายตัวต่อเนื่องเป็นไตรมาสที่ 2 ร้อยละ 3.9

มูลค่าการส่งออกสินค้าเกษตร ขยายตัวต่อเนื่องเป็นไตรมาสที่ 3 ที่ร้อยละ 4.5 โดยเป็นผลจากการเพิ่มขึ นของ

ดัชนีราคาส่งออกร้อยละ 7.9 ขณะที่ดัชนีปริมาณการส่งออกลดลงร้อยละ 3.2 สอดคล้องกับการลดลงของ

ผลผลิตทางการเกษตรที่ได้รับผลกระทบจากสภาพภูมิอากาศที่ไม่เอื ออ้านวย โดยมูลค่าการส่งออก ข้าว

เพิ่มขึ นร้อยละ 43.2 ซึ่งเป็นผลจากการเพิ่มขึ นของทั งราคาและปริมาณการส่งออกร้อยละ 19.9 และร้อยละ

19.4 ตามล้าดับ ตามการส่งออกไปยังตลาดอินโดนีเซีย สหรัฐฯ และฟิลิปปินส์ เป็นส้าคัญ ยางพารา เพิ่มขึ น

ร้อยละ 24.9 เพิ่มขึ นทั งปริมาณและราคาส่งออกร้อยละ 8.3 และร้อยละ 15.3 ตามล้าดับ ตามการส่งออกไปยัง

ตลาดจีน สหรัฐฯ และมาเลเซีย เป็นส้าคัญ ขณะที่ทุเรียน ลดลงร้อยละ 53.2 โดยปริมาณการส่งออกลดลง

ขณะที่ราคาส่งออกเพิ่มขึ น ตามการส่งออกไปยังตลาดจีน เป็นส้าคัญ มูลค่าการส่งออกสินค้าอุตสาหกรรม

เพิ่มขึ นร้อยละ 0.4 ชะลอจากร้อยละ 4.7 ในไตรมาสก่อนหน้า ตามการเพิ่มขึ นของดัชนีราคาส่งออก ขณะที่

ปริมาณการส่งออกลดลง มูลค่าการส่งออกสินค้าอุตสาหกรรมส้าคัญที่ขยายตัว เช่น คอมพิวเตอร์ (ร้อยละ 172.5)

เหล็กและเหล็กกล้า (ร้อยละ 62.4) และอุปกรณ์สื่อสารโทรคมนาคม (ร้อยละ 24.3) เป็นต้น มูลค่าการส่งออกสินค้า

อุตสาหกรรมส้าคัญที่ลดลง เช่น น้าตาล (ลดลงร้อยละ 29.1) ผลิตภัณฑ์ยาง (ลดลงร้อยละ 19.2) เครื่องปรับอากาศ

(ลดลงร้อยละ 15.4) รถกระบะและรถบรรทุก (ลดลงร้อยละ 15.3) แผงวงจรรวมและชิ นส่วน (ลดลงร้อยละ 11.3)

และชิ นส่วนและอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ (ลดลงร้อยละ 6.9) เป็นต้น มูลค่าการส่งออกสินค้าประมง เพิ่มขึ นร้อยละ

16.8 สินค้าที่มีมูลค่าการส่งออกเพิ่มขึ น ได้แก่ กุ้ง ปู กั งและล็อบสเตอร์ (ร้อยละ 17.3) และปลา (ร้อยละ 27.8)

สินค้าส่งออกอื่น ๆ ลดลงร้อยละ 25.2 ส่วนหนึ่งมาจากการลดลงของมูลค่าการส่งออกทองค้าที่ยังไม่ขึ นรูปร้อยละ

16.0 เป็นส้าคัญ

ตลาดส่งออก: การส่งออกสินค้าไปยังตลาดหลักบางส่วนลดลงโดยเฉพาะตลาดจีน ญี่ปุ่น อาเซียน (5) และ

อินเดีย ขณะที่การส่งออกไปยังตลาดสหรัฐฯ สหภาพยุโรป (27) ไม่รวม UK และออสเตรเลียขยายตัว

โดยการส่งออกไปยัง ตลาดจีน ลดลงร้อยละ 5.1 ตามการลดลงของการส่งออกผลไม้สด แช่เย็น แช่แข็งและแห้ง

ผลิตภัณฑ์ยาง และเม็ดพลาสติก เป็นส้าคัญ ตลาดญี่ปุ่น ลดลงต่อเนื่องเป็นไตรมาสที่ 2 ร้อยละ 9.0 ตามการลดลง

ของการส่งออกเครื่องจักรกลและส่วนประกอบ เคมีภัณฑ์ และเครื่องคอมพิวเตอร์ อุปกรณ์และส่วนประกอบ

เป็นส้าคัญ ตลาดอาเซียน (5) ลดลงร้อยละ 5.2 ตามการส่งออกไปยังตลาดมาเลเซียและอินโดนีเซีย เป็นส้าคัญ

และตลาดอินเดีย ลดลงร้อยละ 3.4 ตามการส่งออกเม็ดพลาสติก เครื่องปรับอากาศและส่วนประกอบ

และไขมันและน้ามันจากพืชและสัตว์ เป็นส้าคัญ ตลาดส่งออกที่ยังคงขยายตัว เช่น ตลาดสหรัฐฯ เพิ่มขึ น

ต่อเนื่องเป็นไตรมาสที่ 4 ร้อยละ 9.9 ตามการส่งออกเครื่องคอมพิวเตอร์ อุปกรณ์และส่วนประกอบ ผลิตภัณฑ์

ยาง และเครื่องโทรศัพท์ อุปกรณ์และส่วนประกอบ เป็นส้าคัญ ตลาดสหภาพยุโรป (27) ไม่รวม UK กลับมา

ขยายตัวเป็นครั งแรกในรอบ 6 ไตรมาส ร้อยละ 2.4 ตามการส่งออกเครื่องคอมพิวเตอร์ อุปกรณ์และ

ส่วนประกอบ อัญมณีและเครื่องประดับ และรถยนต์ อุปกรณ์และส่วนประกอบ เป็นส้าคัญ ตลาดออสเตรเลีย

เพิ่มขึ นร้อยละ 24.8 ต่อเนื่องเป็นไตรมาสที่ 4 ตามการเพิ่มขึ นของการส่งออกรถยนต์ อุปกรณ์และ

ส่วนประกอบ เหล็ก เหล็กกล้าและผลิตภัณฑ์ และเครื่องคอมพิวเตอร์ อุปกรณ์และส่วนประกอบ เป็นส้าคัญ

ตลาดซาอุดีอาระเบีย ขยายตัวต่อเนื่องเป็นไตรมาสที่ 10 ร้อยละ 4.3 ตามการส่งออกรถยนต์ อุปกรณ์และ

ส่วนประกอบ ไม้และผลิตภัณฑ์ไม้ และตู้เย็นและส่วนประกอบ เป็นส้าคัญ และ กลุ่มประเทศ CLMV ขยายตัวร้อยละ

6.5 ตามการส่งออกไปยังตลาดกัมพูชา และลาว เป็นส้าคัญ

การนาเข้าสินค้าในรูปเงินดอลลาร์ สรอ. มีมูลค่า 67,982 ล้านดอลลาร์ สรอ. เพิ่มขึ นร้อยละ 3.2 ชะลอลงจาก

ร้อยละ 6.1 ในไตรมาสก่อนหน้า โดยปริมาณการน้าเข้าเพิ่มขึ นร้อยละ 4.5 ชะลอลงจากการขยายตัวร้อยละ

5.3 ในไตรมาสก่อนหน้า ส่วนราคาน้าเข้าลดลงร้อยละ 1.2 เทียบกับการเพิ่มขึ นร้อยละ 0.7 ในไตรมาส

ก่อนหน้า ทั งนี หากไม่รวมการน้าเข้าทองค้า มูลค่าการน้าเข้าขยายตัวร้อยละ 1.2 ชะลอลงจากร้อยละ 6.3

ในไตรมาสก่อนหน้า ในรูปของเงินบาท การน้าเข้าสินค้ามีมูลค่ารวม 2,424 พันล้านบาท ขยายตัวร้อยละ 8.6

เทียบกับการขยายตัวร้อยละ 4.1 ในไตรมาสก่อนหน้า สอดคล้องกับการอ่อนค่าของเงินบาท

ในรายหมวด มูลค่าการน้าเข้าสินค้าวัตถุดิบและสินค้าขั นกลาง และสินค้าอุปโภคบริโภคปรับตัวลดลง ขณะที่

มูลค่าการน้าเข้าสินค้าทุนขยายตัวสูงขึ น โดยมูลค่าการนาเข้าหมวดสินค้าวัตถุดิบและสินค้าขั้นกลางลดลง

ร้อยละ 2.2 เทียบกับการขยายตัวร้อยละ 3.5 ในไตรมาสก่อนหน้า โดยปริมาณการน้าเข้าเพิ่มขึ นร้อยละ 0.5 ชะลอลง

จากร้อยละ 5.7 ในไตรมาสก่อนหน้า ส่วนราคาน้าเข้าลดลงต่อเนื่องเป็นไตรมาสที่ 4 ร้อยละ 2.7 สินค้าส้าคัญที่มี

มูลค่าการน้าเข้าลดลง เช่น เคมีภัณฑ์และผลิตภัณฑ์ และวัสดุที่ท้าด้วยโลหะ เป็นต้น มูลค่าการนาเข้าหมวด

สินค้าอุปโภคบริโภคลดลงร้อยละ 3.6 เทียบกับการขยายตัวร้อยละ 9.6 ในไตรมาสก่อนหน้า ตามปริมาณ

การน้าเข้าที่ลดลงร้อยละ 4.7 เทียบกับการขยายตัวร้อยละ 7.6 ในไตรมาสก่อนหน้า ส่วนราคาน้าเข้าเพิ่มขึ น

ร้อยละ 1.2 สินค้าส้าคัญที่มีมูลค่าการน้าเข้าลดลง เช่น ยานพาหนะ และยาและเวชภัณฑ์ เป็นต้น มูลค่าการนาเข้า

หมวดสินค้าทุนเพิ่มขึ นร้อยละ 24.0 เร่งขึ นจากร้อยละ 11.8 ในไตรมาสก่อนหน้า โดยปริมาณการน้าเข้าเพิ่มขึ น

ร้อยละ 24.6 ส่วนราคาน้าเข้าลดลงร้อยละ 0.5 สินค้าส้าคัญที่มีมูลค่าการน้าเข้าเพิ่มขึ น เช่น คอมพิวเตอร์ และ

อากาศยาน เรือ แท่นฯ เป็นต้น มูลค่าการนาเข้าหมวดสินค้าอื่น ๆ เพิ่มขึ นในเกณฑ์สูงร้อยละ 46.0 เร่งขึ นจาก

ร้อยละ 3.8 ในไตรมาสก่อนหน้า ตามการน้าเข้าสินค้ากลุ่มทองค้า (ไม่รวมทองรูปพรรณ) ที่เพิ่มขึ นร้อยละ 95.3

อัตราการค้า (Term of Trade) ปรับตัวเพิ่มขึ น เนื่องจากราคาส่งออกเพิ่มขึ นร้อยละ 1.3 ตามการเพิ่มขึ นของ

ราคาส่งออกสินค้าเกษตรเป็นส้าคัญ ขณะที่ราคาน้าเข้าลดลงร้อยละ 1.2 ตามการลดลงของราคาน้าเข้าสินค้า

วัตถุดิบและสินค้าทุนร้อยละ 2.7 และร้อยละ 0.5 ตามล้าดับ ส่งผลให้อัตราการค้าอยู่ที่ระดับ 99.0 เพิ่มขึ นจาก

ระดับ 96.5 ในไตรมาสเดียวกันของปีก่อน และเพิ่มขึ นจากระดับ 97.6 ในไตรมาสก่อนหน้า

ดุลการค้าเกินดุล ในไตรมาสแรกของปี 2567 ดุลการค้าเกินดุล 1.6 พันล้านดอลลาร์ สรอ. ต้ากว่าการเกินดุล

3.5 พันล้านดอลลาร์ สรอ. ในไตรมาสก่อนหน้า และต้ากว่าการเกินดุล 4.5 พันล้านดอลลาร์ สรอ. ในไตรมาสเดียวกัน

ของปีก่อน เมื่อคิดในรูปเงินบาท ดุลการค้าเกินดุล 58.6 พันล้านบาท ต้ากว่าการเกินดุล 122.6 พันล้านบาท ในไตรมาส

ก่อนหน้า และต้ากว่าการเกินดุล 156.4 พันล้านบาท ในไตรมาสเดียวกันของปีก่อน

ขีดความสามารถในการส่งออกสินค้าไทย : ความท้าทายเชิงโครงสร้างการผลิต

การลงทุนโดยตรงจากต่างประเทศ (Foreign Direct Investment: FDI) นับเป็นปัจจัยขับเคลื่อนส้าคัญต่อการผลิต การลงทุน และการส่งออก

สินค้า รวมไปถึงการสนับสนุนการยกระดับเทคโนโลยีการผลิตในประเทศผู้รับการลงทุน ซึ่งไทยถือเป็นหนึ่งในประเทศที่ได้รับประโยชน์จากการเข้า

มาลงทุนโดยตรงจากต่างประเทศและช่วยขับเคลื่อนภาคการผลิตและการส่งออกของไทยในช่วงหลายทศวรรษที่ผ่านมา ในฐานะการเป็นประเทศ

ผู้ผลิตสินค้าขั นกลางและปลายน้าที่รับจ้างผลิตและประกอบสินค้าเพื่อส่งออกไปยังประเทศที่สามเป็นส้าคัญ อย่างไรก็ตาม ภายใต้การเปลี่ยนแปลง

ของห่วงโซ่มูลค่าโลกและการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วทางด้านเทคโนโลยีและดิจิทัลในปัจจุบัน ประกอบกับแนวโน้มความต้องการสินค้า

ที่เปลี่ยนแปลงไปเป็นสินค้าที่ใช้เทคโนโลยีขั นสูง (High-Tech) หรือสินค้าทุนเข้มข้น (Capital-Intensive) มากขึ น ส่งผลให้ประเทศผู้ส่งออกสินค้า

ในกลุ่มดังกล่าวได้รับประโยชน์จากการขยายตัวของการส่งออกที่ช่วยสร้างให้เกิดมูลค่าเพิ่มในประเทศ ( Domestic Value Added: DVA)

ได้ค่อนข้างสูงเมื่อเทียบกับประเทศที่ยังเป็นผู้ผลิตสินค้าในกลุ่มเทคโนโลยีขั นกลาง (Medium-Tech) ซึ่งส่วนใหญ่จะเป็นผู้รับจ้างการผลิตสินค้า

เพื่อส่งออกไปยังประเทศที่สาม

จากข้อมูลในปี 2566 การส่งออกสินค้าของไทยมีสัดส่วนคิดเป็นร้อยละ 54.5 ของ GDP ของประเทศ สะท้อนให้เห็นบทบาทที่เกี่ยวโยงกับ

ภาคเศรษฐกิจในช่วงหลายสิบปีที่ผ่านมา อย่างไรก็ตาม ในช่วงไตรมาสที่ 1 ของปี 2567 มูลค่าการส่งออกสินค้าของไทยปรับตัวลดลงร้อยละ 1. 0

สอดคล้องกับการลดลงของดัชนีผลผลิตอุตสาหกรรมซึ่งลดลงร้อยละ 3.7 (ลดลงติดต่อกันเป็นไตรมาสที่ 6) โดยส่วนหนึ่งเป็นผลมาจากการส่งออก

สินค้าอุตสาหกรรมที่ลดลง โดยเฉพาะยานยนต์ ชิ นส่วนอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ แผงวงจรรวม ชิ นส่วนเครื่องใช้ไฟฟ้า และเครื่องปรับอากาศ ขณะ ที่

สินค้าเกษตรส้าคัญทั งข้าวและยางพารายังขยายตัวในเกณฑ์ดี ขณะที่ประเทศที่พึ่งพาการส่งออกสินค้าอิเล็กทรอนิกส์ อาทิ ฮ่องกง เกาหลีใต้

ไต้หวัน และเวียดนาม จะพบว่าการส่งออกยังคงเร่งตัวขึ นตามวัฏจักรการฟื้นตัวของสินค้าอิเล็กทรอนิกส์ซึ่งเป็นที่ต้องการในตลาดโลก สถานการณ์

ดังกล่าวสะท้อนให้เห็นศักยภาพในการส่งออกสินค้าที่มีความแตกต่างกัน โดยเป็นผลจากความสามารถในการยกระดับเทคโนโลยีการผลิต

อุตสาหกรรมในอันที่จะช่วยสร้างมูลค่าเพิ่มภายในประเทศที่แตกต่างกัน

หากพิจารณามูลค่าการส่งออกสินค้าของประเทศที่มุ่งเน้นการส่งออกสินค้าที่ใช้เทคโนโลยีขั นสูง (High-Tech) พบว่า มูลค่าการส่งออกสินค้าใน

กลุ่มประเทศดังกล่าวยังคงขยายตัวในเกณฑ์ดีต่อเนื่อง เช่น ฮ่องกง เกาหลีใต้ สิงคโปร์ และไต้หวัน รวมทั งเวียดนามที่ได้ประโยชน์จากการเป็นฐาน

การผลิตเพื่อส่งออกสินค้าอิเล็กทรอนิกส์ขั นปลาย (Downstream Industry) ตามการฟื้นตัวของความต้องการสินค้าที่ใช้เทคโนโลยีขั นสูง อาทิ

คอมพิวเตอร์ เซมิคอนดักเตอร์ และสมาร์ทโฟน ขณะที่การส่งออกสินค้าอิเล็กทรอนิกส์ของไทยส่วนใหญ่ยังเป็นสินค้าขั นกลาง เช่น วงจรรวม

(Integrated Circuit: IC) และแผงวงจรพิมพ์ (Printed Circuit Board: PCB) ซึ่งแม้ว่าจะสามารถเกาะเกี่ยวกับวัฏจักรการฟื้นตัวของสินค้า

อิเล็กทรอนิกส์โลกได้บ้างแต่ต้องเผชิญกับสินค้าที่มีการแข่งขันทั งทางด้านราคาและเทคโนโลยีที่สูงขึ น และเป็นสินค้าที่สร้างมูลค่าเพิ่มได้ค่อนข้างน้อย

เนื่องจากส่วนหนึ่งยังคงต้องพึ่งพาการน้าเข้าสินค้าทุนและสินค้าวัตถุดิบและสินค้าขั นกลางในสัดส่วนที่สูง โดยข้อมูลจากตารางปัจจัยการผลิตและ

ผลผลิตของประเทศไทยปี 2558 (Input-output table of Thailand 2015) ชี ว่าสินค้าอุตสาหกรรมยังคงต้องพึ่งพาสินค้าน้าเข้าถึงร้อยละ 30.8

ของมูลค่าผลผลิตรวม (Gross output) สอดคล้องกับข้อมูลจากตารางปัจจัยการผลิตและผลผลิตหลายภูมิภาค ( Multi-Regional Input

Output Tables: MRIOTs) จัดท้าโดยธนาคารพัฒนาเอเชีย (ADB) ซึ่งสะท้อนให้เห็นว่า ในช่วง 20 กว่าปีที่ผ่านมา อุตสาหกรรมไทยที่

สร้างมูลค่าเพิ่มในประเทศ (DVA) ลดลงมากที่สุด ได้แก่ ผลิตภัณฑ์แร่ที่ไม่ใช่โลหะ รองลงมาคือ ปิโตรเลียม โลหะขั นมูลฐาน เครื่องจักรกลและอุปกรณ์เครื่องใช้ไฟฟ้า ตามล้าดับ โดยมีสาเหตุหลักมาจากการต้องพึ่งพาปัจจัยการผลิตจากต่างประเทศในสัดส่วนที่เพิ่มขึ น ขณะเดียวกันสินค้า

ส่งออกส้าคัญของไทยยังเป็นสินค้าเทคโนโลยีขั นกลาง (Medium-Tech) ที่สร้างมูลค่าเพิ่มในประเทศไม่สูงนัก จึงไม่ได้รับประโยชน์จากกระแส

ความต้องการสินค้าในตลาดโลกที่เปลี่ยนแปลงไปเท่าที่ควร

นอกจากนี แม้ว่าในช่วงหลายปีที่ผ่านมาภูมิภาคอาเซียนจะได้ประโยชน์จากการย้ายฐานการผลิตสินค้าออกจากจีนเพื่อหลีกเลี่ยงผลกระทบจาก

มาตรการกีดกันการค้าของสหรัฐฯ แต่เมื่อพิจารณามูลค่าเงินลงทุนจากต่างประเทศที่เข้ามาในกลุ่มประเทศอาเซียน 4 ประเทศ (ASEAN-4) ได้แก่

อินโดนีเซีย มาเลเซีย เวียดนาม และไทย พบว่า การลงทุนโดยตรงจากต่างประเทศของไทยต้าสุดในกลุ่มประเทศส้าคัญในอาเซียน ในปี 2566

เงินลงทุนโดยตรงจากต่างประเทศสุทธิ (FDI Netflow) ของไทยอยู่ที่เพียง 2,969 ล้านดอลลาร์ สรอ. ต้ากว่าอินโดนีเซีย เวียดนาม และมาเลเซีย

ซึ่งอยู่ที่ 21,701 ล้านดอลลาร์ สรอ., 18,500 ล้านดอลลาร์ สรอ. และ 8,255 ล้านดอลลาร์ สรอ. ตามล้าดับ และยังมีทิศทางปรับตัวลดลงต่อเนื่อง

ขณะที่การลงทุนในอุตสาหกรรมดั งเดิมของไทยอย่างอุตสาหกรรมปิโตรเลียมมีการลงทุนลดลงอย่างเห็นได้ชัดและถือเป็นการลดลงครั งแรกในรอบ

3 ปี สถานการณ์ดังกล่าวสะท้อนให้เห็นว่า อุตสาหกรรมที่เป็นแรงขับเคลื่อนเศรษฐกิจไทยในอดีตที่ผ่านมาเริ่มมีบทบาทต่อภาคการผลิตและ

การส่งออกของไทยลดต้าลง

ภายใต้สถานการณ์การลงทุนโดยตรงจากต่างประเทศของไทยและขีดความสามารถในการส่งออกสินค้าที่ลดต้าลงเมื่อเปรียบเทียบกับประเทศ

ส้าคัญในอาเซียน จึงจ้าเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องสร้างแรงจูงใจและส่งเสริมให้ผู้ประกอบการภาคการผลิตยกระดับเทคโนโลยีการผลิตไปสู่การผลิตสินค้า

ที่ใช้นวัตกรรมและเทคโนโลยีขั นสูง ควบคู่ไปกับการให้ความส้าคัญกับการพัฒนาอุตสาหกรรมที่เกี่ยวเนื่องกับการผลิตสินค้าวัตถุดิบและสินค้า

ขั นกลางภายในประเทศ รวมทั งการผลิตก้าลังคนและพัฒนาทักษะฝีมือแรงงานให้สามารถตอบสนองต่อความต้องการแรงงานในอุตสาหกรรม

เป้าหมาย ซึ่งจะเป็นแรงขับเคลื่อนส้าคัญที่จะช่วยให้ภาคการผลิตและการส่งออกไทยยังคงรักษาขีดความสามารถในการแข่งขันท่ามกลางบริบทโลก

ที่เปลี่ยนแปลงไป

ความสามารถในการสร้างรายได้จากการค้าระหว่างประเทศในแต่ละประเภทสินค้าของประเทศสาคัญใน ASEAN

ในช่วงทศวรรษที่ผ่านมา (ปี 2556 - 2566) ผ่านดุลการค้าเฉลี่ยของประเทศต่าง ๆ 1

ท่ามกลางสถานการณ์ความไม่แน่นอนของเศรษฐกิจโลกนับตั งแต่สงครามการค้าระหว่างสหรัฐฯ และจีนที่ยังคงยืดเยื อมาตั งแต่ปี 2561

ส่งผลให้การค้าโลกเปลี่ยนแปลงไป จึงเป็นประเด็นที่น่าสนใจว่าแต่ละประเทศโดยเฉพาะประเทศก้าลังพัฒนาในภูมิภาคอาเซียนได้รับ

ผลประโยชน์หรือผลกระทบจากการค้าระหว่างประเทศมากน้อยเพียงใด เมื่อพิจารณาจากข้อมูลดุลการค้าเฉลี่ยของแต่ละประเทศในภูมิภาค

อาเซียน (ไทย มาเลเซีย เวียดนามและอินโดนีเซีย) นับตั งแต่ในช่วงหลังการแพร่ระบาดของโรคโควิด-19 (พ.ศ. 2564 - 2566) พบว่า ไทยขาดดุล

การค้าเฉลี่ย 4.5 ล้านล้านดอลลาร์ สรอ. ต่อปี และเป็นประเทศเดียวที่ขาดดุลการค้าเฉลี่ยในช่วงเวลาดังกล่าว ในขณะที่ประเทศส่วนใหญ่

เกินดุล โดยมาเลเซียเกินดุล 55.4 ล้านล้านดอลลาร์ สรอ. อินโดนีเซียเกินดุล 45.2 ล้านล้านดอลลาร์ สรอ. เวียดนามเกินดุล 12.4 ล้านล้าน

ดอลลาร์ สรอ. ตามล้าดับ และเมื่อพิจารณาถึงประเภทของสินค้าจ้าแนกตามเทคโนโลยี2 พบว่า สินค้าที่ไทยเกินดุล คือ สินค้าเกษตร (อาทิ

ข้าว ผักและผลไม้) อาหาร (อาทิ ปลาและเนื อสัตว์แปรรูป น้าตาล และผลไม้แปรรูป) และสินค้าที่ใช้เทคโนโลยีขั้นกลาง (อาทิ ยานยนต์และ

ชิ นส่วน พลาสติกและผลิตภัณฑ์ และเครื่องปรับอากาศ) ขณะที่สินค้าที่ใช้เทคโนโลยีขั้นสูง ไทยขาดดุลเฉลี่ย 0.8 ล้านล้านดอลลาร์ สรอ.

(แผงวงจรรวม ยารักษาโรค และอุปกรณ์เกี่ยวกับการวัดขั นสูง) และสินค้าที่ใช้เทคโนโลยีขั้นต่า ไทยขาดดุลเฉลี่ย 0.4 ล้านล้านดอลลาร์ สรอ.

(กระดาษและผลิตภัณฑ์ เซรามิก และใยส้าหรับสิ่งทอ) รวมทั งสินค้าที่ใช้ทรัพยากรธรรมชาติ ไทยขาดดุลเฉลี่ย 46.1 ล้านล้านดอลลาร์ สรอ.

จากการขาดดุลสินค้าน้ามันปิโตรเลียม ทองแดง เหล็กและผลิตภัณฑ์ เป็นส้าคัญ

เมื่อพิจารณาประเทศอื่น ๆ พบว่า ในส่วนของสินค้าที่ใช้เทคโนโลยีขั นสูง มาเลเซียและเวียดนามเกินดุลสูงสุดเป็นอันดับ 1 และ 2

ตามล้าดับ โดยมาเลเซียเกินดุลเฉลี่ยอยู่ที่ 42.0 ล้านล้านดอลลาร์ สรอ. (แผงวงจรรวม เซมิคอนดักเตอร์และส่วนประกอบ และโทรศัพท์และ

อุปกรณ์) และเวียดนามเกินดุลเฉลี่ย 23.8 ล้านล้านดอลลาร์ สรอ. (โทรศัพท์และอุปกรณ์ ชิ นส่วนอิเล็กทรอนิกส์ และเซมิคอนดักเตอร์และ

ส่วนประกอบ) ส่วนสินค้าที่ใช้เทคโนโลยีขั นต้า เวียดนามเกินดุลเฉลี่ยสูงเป็นอันดับ 1 ที่ 48.0 ล้านล้านดอลลาร์ สรอ. (รองเท้า เครื่องนุ่งห่ม

ใยส้าหรับสิ่งทอ) และอินโดนีเซียเกินดุล 14.1 ล้านล้านดอลลาร์ สรอ. ส้าหรับสินค้าที่ใช้ทรัพยากรธรรมชาติ อินโดนีเซียเกินดุลเฉลี่ยอยู่ที่ 42.0

ล้านล้านดอลลาร์ สรอ. เป็นการเกินดุลจากสินค้าถ่านหิน ทองแดง ลิกไนต์ เป็นส้าคัญ และมาเลเซียเกินดุลเฉลี่ยอยู่ที่ 3.1 ล้านล้านดอลล ร์

สรอ. เป็นการเกินดุลจากก๊าซธรรมชาติและอะลูมิเนียม เป็นส้าคัญ

ความสามารถในการสร้างรายได้จากการค้าระหว่างประเทศในแต่ละประเภทสินค้าของประเทศสาคัญใน ASEAN

ในช่วงทศวรรษที่ผ่านมา (ปี 2556 - 2566) ผ่านดุลการค้าเฉลี่ยของประเทศต่าง ๆ 1

-40,000,000

-20,000,000

0

20,000,000

40,000,000

60,000,000

80,000,000

ดุลการค้าของประเทศสาคัญใน ASEAN ตั้งแต่ปี

ไทย มาเลเซีย เวียดนาม อินโดนีเซีย

ล้านดอลลาร์ สรอ

ที่มา : Trade map

-50,000,000

-30,000,000

-10,000,000

10,000,000

30,000,000

50,000,000

ดุลการค้าเฉลี่ยของไทยกับประเทศสาคัญใน ASEAN

ในช่วงหลังการแพร่ระบาดของโรคโควิด ปี

ไทย มาเลเซีย เวียดนาม อินโดนีเซีย

ล้านดอลลาร์ สรอ

ที่มา : Trade map

0

5,000,000

10,000,000

15,000,000

20,000,000

25,000,000

30,000,000

ดุลการค้าสินค้าเกษตร

ไทย มาเลเซีย เวียดนาม อินโดนีเซีย

ล้านดอลลาร์ สรอ

ที่มา : Trade map

-5,000,000

0

5,000,000

10,000,000

15,000,000

20,000,000

ดุลการค้าสินค้าอาหาร

ไทย มาเลเซีย เวียดนาม อินโดนีเซีย

ล้านดอลลาร์ สรอ

ที่มา : Trade map

-50,000,000

-30,000,000

-10,000,000

10,000,000

30,000,000

50,000,000

ดุลการค้าสินค้าทรัพยากรธรรมชาติ

ไทย มาเลเซีย เวียดนาม อินโดนีเซีย

ล้านดอลลาร์ สรอ

ที่มา : Trade map

1 ดุลการค้าในบทความนี เป็นดุลการค้าตามระบบศุลกากรการค้านวณจากมูลค่าการส่งออกบนราคา F.O.B. - มูลค่าการน้าเข้าบนราคา C.I.F. ซึ่งมูลค่าของดุลการค้าจะแตกต่างจากการค้านวณดุลการค้าบน

ดุลบัญชีเดินสะพัดแบบน้ามูลค่าส่งออกบนราคา F.O.B - มูลค่าน้าเข้าบนราคา F.O.B. อย่างไรก็ตาม เนื่องจากดุลการค้าตามระบบดุลบัญชีเดินสะพัดไม่มีการค้านวณในรายสินค้า ดังนั น เพื่อให้เห็นภาพ

ดุลการค้าในรายสินค้าของไทยเปรียบเทียบกับประเทศต่าง ๆ จึงจ้าเป็นต้องใช้การใช้ดุลการค้าตามระบบศุลกากรซึ่งเหมาะสมที่สุดในขณะนี ส้า หรับที่มาของข้อมูลทั งหมดในบทความนี มาจาก website

www.trademap.org

2 การแบ่งสินค้าตามเทคโนโลยีขั นสูง ขั นกลาง ขั นต้า และจากทรัพยากรธรรมชาติ เป็นการน้า SITC Rev.3.1 จ้าแนกตามเทคโนโลยีที่จัดกลุ่มโดย UN Comtrade Database มาจัดกลุ่มร่วมกับ HS Code

ระดับ 4 หลัก (จ้านวน 1263 Code) ตาม Statistical Papers Series M No.34/Rev.3 ซึ่งเป็นการ Mapping สินค้าระหว่าง Code ทั ง 2 ที่มีการใช้อย่างแพร่หลาย ส่วนสินค้าเกษตรนั น เป็นการใช้ HS

Code รหัส 01 - 15 ส่วนสินค้าอาหารนั นใช้ HS Code รหัส 16 - 24 ส้าหรับสินค้าอื่น ๆ นั น เป็นกลุ่มที่ไม่สามารถจัดกลุ่มได้ มีจ้านวน 156 ชนิด

ความสามารถในการสร้างรายได้จากการค้าระหว่างประเทศในแต่ละประเภทสินค้าของประเทศสาคัญใน ASEAN

ในช่วงทศวรรษที่ผ่านมา (ปี 2556 - 2566) ผ่านดุลการค้าเฉลี่ยของประเทศต่าง ๆ

นอกจากนี หากพจิ รณาโดยแบ่งออกเป็น 4 ช่วงเวลา ไดแ ก่ ปี 2556 - 2559, ปี 2560 - 2561, ปี 2562 - 2563 และปี 2564 - 2566 นนั พบวา

ในส่วนของสินค้าเกษตร ในทุกช่วงเวลา ทุกประเทศเกินดุลการค้าเฉลี่ยทั งสิ น โดยที่อินโดนีเซียเกินดุลการค้ามากเป็นอันดับ 1 อย่างต่อเนื่อง โดยมีทั ง

มาเลเซีย เวียดนามและไทยสลับกันเป็นอันดับ 2 3 และ 4 มาโดยตลอด ส้าหรับสินค้าอาหาร ไทยเป็นประเทศเดียวที่มีการเกินดุลเฉลี่ยเพิ่มขึ นอย่าง

ต่อเนื่อง ในขณะที่อีก 3 ประเทศขาดดุลเฉลี่ยอย่างต่อเนื่อง โดยเฉพาะเวียดนามขาดดุลเฉลี่ยเพิ่มขึ นอย่างต่อเนื่อง ในส่วนของ สินค้าที่ใช้

ทรัพยากรธรรมชาติ พบว่า อินโดนีเซียและมาเลเซียเป็น 2 ประเทศที่มีการเกินดุลเฉลี่ย ส่วนไทยและเวียดนามมีแนวโน้มการขาดดุลที่เพิ่มขึ นในสินค้า

กลมุ่ นี ส้าหรบั สนิ คา ทใ ชเ ทคโนโลยรี ดบั ต่า พบวา เวยี ดนามเกนิ ดลุ เฉลยี่ อยใ นระดบั สงู และเพมิ่ ขนึ อยา งตอ่ เนอื่ ง ในขณะทอิ่นโดนีเซยี เกนิ ดลุ เฉลยี่ อยู่

ในระดับทรงตัว ขณะที่มาเลเซียขาดดุลในสินค้าดังกล่าวอย่างต่อเนื่อง ในส่วนของไทยในช่วงปี 2556 - 2563 ไทยยังคงเกินดุลเฉลี่ยอยู่เล็กน้อย

แต่ในช่วงปี 2564 - 2566 ไทยขาดดุลเฉลี่ยในกลุ่มสินค้าดังกล่าว ในส่วนของ สินค้าที่ใช้เทคโนโลยีระดับกลาง พบว่า ไทยเป็นประเทศเดียวที่มี

การเกินดุลเฉลี่ยในสินค้ากลุ่มนี ในขณะที่ทั ง 3 ประเทศขาดดุลอย่างต่อเนื่อง โดยอินโดนีเซียและมาเลเซียมีแนวโน้มการขาดดุลที่ลดลง ขณะที่

เวียดนามยังคงขาดดุลในระดับสูงในสินค้ากลุ่มนี และสินค้าที่ใช้เทคโนโลยีระดับสูง พบว่า ในช่วงปี 2556 - 2566 ทั งมาเลเซีย (อันดับ 1)

และเวยี ดนาม (อันดบั 2) เกนิ ดลุ เฉลยี่ เพมิ่ ขนึ อยา งตอ่ เนอื่ ง ในสว่ นของอินโดนีเซยี มแ นวโน้มขาดดลุ เฉลยี่ เพมิ่ ขนึ สว่ นไทยขาดดลุ เฉลยี่ เลก็ น้อยในสนิ คา

กลมุ่ นแ ตม่ แ นวโน้มขาดดลุ เพมิ่ ขนึ

ความสามารถในการสร้างรายได้จากการค้าระหว่างประเทศในแต่ละประเภทสินค้าของประเทศสาคัญใน ASEAN

ในช่วงทศวรรษที่ผ่านมา (ปี 2556 - 2566) ผ่านดุลการค้าเฉลี่ยของประเทศต่าง ๆ

-10,000,000

0

10,000,000

20,000,000

30,000,000

40,000,000

50,000,000

ดุลการค้าสินค้า Low Tech

ไทย มาเลเซีย เวียดนาม อินโดนีเซีย

ล้านดอลลาร์ สรอ

ที่มา : Trade map

-50,000,000

-30,000,000

-10,000,000

10,000,000

30,000,000

ดุลการค้าสินค้า Medium Tech

ไทย มาเลเซีย เวียดนาม อินโดนีเซีย

ล้านดอลลาร์ สรอ

ที่มา : Trade map

-30,000,000

-10,000,000

10,000,000

30,000,000

50,000,000

ดุลการค้าสินค้า High Tech

ไทย มาเลเซีย เวียดนาม อินโดนีเซีย

ล้านดอลลาร์ สรอ

ที่มา : Trade map

ดุ

ด้านการผลิต

สาขาเกษตรกรรม การป่าไม้ และการประมง: ลดลงร้อยละ 3.5 ต่อเนื่องจากการลดลงร้อยละ 0.6 ในไตรมาส

ก่อนหน้า โดยมีสาเหตุสาคัญมาจากปัญหาสภาพอากาศที่ร้อนและฝนทิ้งช่วง ประกอบกับปริมาณน้าอยู่ใน

ระดับต่ากว่าช่วงเดียวกันของปีก่อน สอดคล้องกับการลดลงของดัชนีผลผลิตสินค้าเกษตรร้อยละ 4.9 เทียบกับ

การลดลงร้อยละ 1.0 ในไตรมาสก่อนหน้า โดยผลิตหมวดพืชผลส้าคัญลดลงต่อเนื่องเป็นไตรมาสที่ 2 โดยเฉพาะ

ปาล์มน้ามัน กลุ่มผลไม้ ข้าวเปลือก อ้อย และมันส้าปะหลัง ในขณะที่ผลผลิตหมวดปศุสัตว์ขยายตัวต่อเนื่องเป็น

ไตรมาสที่ 7 ตามการเพิ่มขึ นของสุกร โคเนื อ ส่วนหมวดประมงกลับมาขยายตัวครั งแรกในรอบ 3 ไตรมาส

ตามการเพิ่มขึ นของกุ้งขาวแวนนาไมเป็นส้าคัญ ผลผลิตสินค้าเกษตรส้าคัญ ๆ ที่ปรับตัวลดลง ได้แก่ (1) กลุ่มพืช

น้ามันและพืชอาหาร ประกอบด้วย ปาล์มน้ามัน ลดลงร้อยละ 20.9 อ้อย ลดลงร้อยละ 12.2 และ

มันสาปะหลัง ลดลงร้อยละ 9.0 เนื่องจากสภาพอากาศ ร้อนและฝนทิ งช่วง ประกอบกับการแพร่ระบาดของ

โรคพืชในพื นที่เพาะปลูกอย่างต่อเนื่อง ท้าให้ผลผลิตต่อไร่ปรับตัวลดลง (2) กลุ่มไม้ผล ลดลงร้อยละ 6.8

ตามการลดลงของไม้ผลส้าคัญ ๆ โดยเฉพาะผลผลิตทุเรียน (ลดลงร้อยละ 50.0) เนื่องจากความแปรปรวนของ

ภูมิอากาศส่งผลกระทบต่อการออกดอกติดผล และ (3) ข้าวเปลือก ลดลงร้อยละ 6.0 โดยมีสาเหตุส้าคัญมาจาก

ภัยแล้งและฝนทิ งช่วงอย่างต่อเนื่อง ประกอบกับปริมาณน้าในเขื่อนและน้าในแหล่งน้าตามธรรมชาติมีปริมาณลดลง

รวมทั งการแพร่ระบาดของโรคและศัตรูพืช อย่างไรก็ตาม ผลผลิตสินค้าเกษตรส้าคัญ ๆ บางรายการปรับตัวเพิ่มขึ น

ได้แก่ สุกร (เพิ่มขึ นร้อยละ 4.0) โคเนื อ (เพิ่มขึ นร้อยละ 4.8) ข้าวโพดเลี ยงสัตว์ (เพิ่มขึ นร้อยละ 3.0) กุ้งขาวแวนนาไม

(เพิ่มขึ นร้อยละ 1.7) และไก่เนื อ (เพิ่มขึ นร้อยละ 0.1) ตามล้าดับ ในขณะที่ดัชนีราคาสินค้าเกษตรเพิ่มขึ น

ต่อเนื่องเป็นไตรมาสที่ 2 ร้อยละ 5.6 เร่งขึ นจากร้อยละ 0.1 ในไตรมาสก่อนหน้า ตามการเพิ่มขึ นของดัชนีราคา

สินค้าเกษตรส้าคัญ ๆ เช่น (1) ยางพารา เพิ่มขึ นร้อยละ 49.8 (2) ข้าวเปลือก เพิ่มขึ นร้อยละ 11.8 (3) อ้อย

เพิ่มขึ นร้อยละ 28.9 (4) ปาล์มน้ามัน เพิ่มขึ นร้อยละ 15.4 และ (5) มันสาปะหลัง เพิ่มขึ นร้อยละ 6.0 ตามล้าดับ

ขณะที่ดัชนีราคาสินค้าเกษตรส้าคัญ ๆ หลายรายการปรับตัวลดลง เช่น สุกร (ลดลงร้อยละ 29.5) กลุ่มไม้ผล (ลดลง

ร้อยละ 7.0) และไก่เนื อ (ลดลงร้อยละ 10.3) ตามล้าดับ การเพิ่มขึ นของดัชนีราคาสินค้าเกษตร ส่งผลให้ดัชนีรายได้

เกษตรกรโดยรวมกลับมาขยายตัวครั งแรกในรอบ 4 ไตรมาส ร้อยละ 0.3

สาขาที่พักแรมและบริการ

ด้านอาหารและสาขาการ

ขนส่งและสถานที่เก็บสินค้า

ขยายตัวเร่งขึ้นจากไตรมาส

ก่อนหน้า ส่วนสาขาการ

ขายส่งและการขายปลีก

การซ่อมยานยนต์และ

จักรยานยนต์ขยายตัว

ต่อเนื่อง ขณะที่สาขาการ

ผลิตสินค้าอุตสาหกรรม

สาขาการก่อสร้าง และ

สาขาเกษตรกรรม ปรับตัว

ลดลง

สาขาเกษตรกรรม

การป่าไม้ และการประมง

ลดลงต่อเนื่องเป็น

ไตรมาสที่ 2 ร้อยละ 3.5

ตามการลดลงของผลผลิต

หมวดพืชผลสาคัญ

ในขณะที่ดัชนีราคาสินค้า

เกษตรเพิ่มขึ้นต่อเนื่อง

เป็นไตรมาส 2 ส่งผลให้

ดัชนีรายได้เกษตรกร

โดยรวมกลับมาขยายตัว

ครั้งแรกในรอบ 4 ไตรมาส

สาขาอุตสาหกรรม: ลดลงต่อเนื่องเป็นไตรมาสที่ 6 ร้อยละ 3.0 เทียบกับการลดลงร้อยละ 2.4 ในไตรมาส

ก่อนหน้า ตามการลดลงของทุกกลุ่มการผลิต โดยเฉพาะกลุ่มการผลิตที่มีสัดส่วนการส่งออกในช่วงร้อยละ

30 - 60 และกลุ่มการผลิตเพื่อส่งออก สอดคล้องกับการลดลงของดัชนีผลผลิตอุตสาหกรรมร้อยละ 3.7 เทียบกับ

การลดลงร้อยละ 2.9 ในไตรมาสก่อนหน้า โดย ดัชนีผลผลิตอุตสาหกรรมที่มีสัดส่วนการส่งออกในช่วงร้อยละ

30 - 60 ลดลงต่อเนื่องเป็นไตรมาสที่ 4 ร้อยละ 7.5 โดยการผลิตสินค้าส้าคัญ ๆ ที่ปรับตัวลดลง ได้แก่ การผลิต

ยานยนต์ลดลงร้อยละ 16.7 ต่อเนื่องจากการลดลงร้อยละ 9.9 ในไตรมาสก่อนหน้า ตามการลดลงของ

อุปสงค์ภายในประเทศและการส่งออก โดยการผลิตรถยนต์เพื่อการพาณิชย์เพื่อจ้าหน่ายในประเทศลดลงร้อยละ

47.3 และรถยนต์นั่งส่วนบุคคลลดลงร้อยละ 24.0 การผลิตน้าตาลลดลงร้อยละ 7.8 เทียบกับการลดลงร้อยละ

15.6 ในไตรมาสก่อนหน้า เนื่องจากมีการปิดหีบเร็วกว่าก้าหนดโดยมีจ้านวนโรงงานที่ปิดหีบไปแล้ว 55 โรงงาน

จากทั งหมด 57 โรงงาน (ข้อมูล ณ วันที่ 31 มีนาคม 2567) ส่วนดัชนีผลผลิตอุตสาหกรรมกลุ่มการผลิตเพื่อ

ส่งออก (สัดส่วนส่งออกมากกว่าร้อยละ 60) ลดลงต่อเนื่องเป็นไตรมาสที่ 6 ร้อยละ 5.3 เทียบกับการลดลง

ร้อยละ 10.1 ในไตรมาสก่อนหน้า โดยการผลิตสินค้าส้าคัญ ๆ ที่ปรับตัวลดลง ได้แก่ การผลิตชิ นส่วนและ

แผ่นวงจรอิเล็กทรอนิกส์ลดลงต่อเนื่องเป็นไตรมาสที่ 6 ร้อยละ 17.2 เทียบกับการลดลงร้อยละ 19.0 ในไตรมาส

ก่อนหน้า ตามการลดลงของอุปสงค์จากต่างประเทศ อาทิ ฮ่องกง (ลดลงร้อยละ 13.92) สิงคโปร์ (ลดลงร้อยละ

13.36) และจีน (ลดลงร้อยละ 17.14) ตามล้าดับ และการผลิตคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ต่อพ่วงลดลงต่อเนื่อง

เป็นไตรมาสที่ 10 ร้อยละ 16.7 เทียบกับการลดลงร้อยละ 18.5 ในไตรมาสก่อนหน้า ตามการลดลงของ

การผลิตฮาร์ดดิสก์ไดรฟ์ (Hard Disk Drive: HDD) และปริ นเตอร์ เป็นส้าคัญ และดัชนีผลผลิตอุตสาหกรรม

กลุ่มการผลิตเพื่อบริโภคภายในประเทศ (สัดส่วนส่งออกน้อยกว่าร้อยละ 30) ลดลงครั งแรกในรอบ 3 ไตรมาส

ร้อยละ 0.4 เทียบกับการเพิ่มขึ นร้อยละ 3.9 ในไตรมาสก่อนหน้า โดยการผลิตสินค้าส้าคัญ ๆ ที่ปรับตัวลดลง ได้แก่

การผลิตน้ามันปาล์มลดลงร้อยละ 20.6 ตามการลดลงของผลผลิตปาล์มน้ามันเนื่องจากอากาศแปรปรวนส่งผลให้

ผลผลิตปาล์มน้ามันน้อยกว่าปกติ และการผลิตเหล็กและเหล็กกล้าขั นมูลฐานลดลงร้อยละ 6.8 ตามการปรับลด

ก้าลังการผลิตเหล็กของผู้ประกอบการ เนื่องจากผู้บริโภคเปลี่ยนไปน้าเข้าเหล็กจากต่างประเทศ อาทิ ญี่ปุ น

(ร้อยละ 5.1) และเยอรมนี (ร้อยละ 1.6)

ส้าหรับอัตราการใช้กาลังการผลิตในไตรมาสนี เฉลี่ยอยู่ที่ร้อยละ 60.45 สูงกว่าร้อยละ 57.38 ในไตรมาสก่อนหน้า

แต่ต้ากว่าร้อยละ 64.19 ในไตรมาสเดียวกันของปีก่อน โดยในอุตสาหกรรมส้าคัญ 30 รายการ มีอุตสาหกรรมที่

มีการใช้ก้าลังการผลิตสูงกว่าร้อยละ 80.00 จ้านวน 2 รายการ คือ น้าตาล (ร้อยละ 93.56) และผลิตภัณฑ์ที่ได้

จากการกลั่นปิโตรเลียม (ร้อยละ 86.14) ขณะที่อุตสาหกรรมที่มีการใช้ก้าลังการผลิตต้ากว่าร้อยละ 50.00

จ้านวน 11 รายการ เช่น บรรจุภัณฑ์พลาสติก (ร้อยละ 49.81) คอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ต่อพ่วง (ร้อยละ

45.53) และเหล็กและเหล็กกล้าขั นมูลฐาน (ร้อยละ 45.09) เป็นต้น

สาขาที่พักแรมและบริการด้านอาหาร: ขยายตัวในเกณฑ์สูงร้อยละ 11.8 ต่อเนื่องจากการขยายตัวร้อยละ

9.8 ในไตรมาสก่อนหน้า ตามการเพิ่มขึ้นของจานวนนักท่องเที่ยวต่างประเทศและการท่องเที่ยว

ภายในประเทศ (ไทยเที่ยวไทย) โดยในไตรมาสนี มีนักท่องเที่ยวต่างประเทศที่เดินทางเข้ามาท่องเที่ยว

ในประเทศไทยจานวน 9.370 ล้านคน (คิดเป็นร้อยละ 92.01 ของจ้านวนนักท่องเที่ยวต่างประเทศในช่วงก่อน

เกิดการแพร่ระบาดของโรคโควิด-19) เพิ่มขึ้นจากไตรมาสเดียวกันของปีก่อนร้อยละ 43.5 โดยนักท่องเที่ยว

ต่างประเทศที่เดินทางมาไทยสูงที่สุด 5 อันดับแรก ประกอบด้วย จีน 1.756 ล้านคน (สัดส่วนร้อยละ 18.74)

มาเลเซีย 1.169 ล้านคน (สัดส่วนร้อยละ 12.47) รัสเซีย 0.623 ล้านคน (สัดส่วนร้อยละ 6.65) เกาหลีใต้ 0.559

ล้านคน (สัดส่วนร้อยละ 5.96) และอินเดีย 0.473 ล้านคน (สัดส่วนร้อยละ 5.05 ) เป็นผลมาจากการด้าเนิน

มาตรการเชิงรุกด้านการอ้านวยความสะดวกในการเดินทางมาท่องเที่ยวในประเทศไทย (Ease of Traveling)

ของภาครัฐ อาทิ การยกเว้นการตรวจลงตราเพื่อการท่องเที่ยวให้กับนักท่องเที่ยวชาวจีนและชาวคาซัคสถาน

โดยพ้านักในไทยได้ไม่เกิน 30 วัน (ตั งแต่วันที่ 25 กันยายน 2566 ถึงวันที่ 29 กุมภาพันธ์ 2567) และยกเว้น

การตรวจลงตราถาวรเฉพาะนักท่องเที่ยวจีน ตั งแต่วันที่ 1 มีนาคม 2567 เป็นต้นไป ประกอบกับการเพิ่มขึ น

ของจ้านวนเที่ยวบินและเส้นทางการบินของสายการบินระหว่างประเทศ ส้าหรับ มูลค่าบริการรับด้าน

การท่องเที่ยว1 ในไตรมาสนี้อยู่ที่ 3.71 แสนล้านบาท (คิดเป็นร้อยละ 74.40 ของมูลค่าบริการรับด้าน

การท่องเที่ยวในช่วงก่อนเกิดการแพร่ระบาดของโรคโควิด-19) เพิ่มขึ้นต่อเนื่องเป็นไตรมาสที่ 11 ร้อยละ 38.3

ส่วนการท่องเที่ยวภายในประเทศของนักท่องเที่ยวชาวไทย (ไทยเที่ยวไทย) มีจานวน 67.990 ล้านคน-ครั้ง

ขยายตัวต่อเนื่องร้อยละ 8.6 โดยมีปัจจัยสนับสนุนจากช่วงวันหยุดยาวหลายช่วง รวมทั งการด้าเนินมาตรการ

ส่งเสริมการท่องเที่ยวผ่านงานเทศกาลและงานประจ้าปีในแต่ละจังหวัด จังหวัดที่มีผู้เยี่ยมเยือนคนไทยสูงที่สุด 5

อันดับแรก (ไม่รวมกรุงเทพมหานคร) ได้แก่ กาญจนบุรี 3.559 ล้านคน-ครั ง (สัดส่วนร้อยละ 5.24) ชลบุรี

3.078 ล้านคน-ครั ง (สัดส่วนร้อยละ 4.53) เพชรบุรี 2.921 ล้านคน-ครั ง (สัดส่วนร้อยละ 4.30) ประจวบคีรีขันธ์

2.861 ล้านคน-ครั ง (สัดส่วนร้อยละ 4.21) และพระนครศรีอยุธยา 2.380 ล้านคน-ครั ง (สัดส่วนร้อยละ 3.50)

ส้าหรับรายรับจากนักท่องเที่ยวชาวไทย2 ในไตรมาสนี้อยู่ที่ 2.32 แสนล้านบาท เพิ่มขึ้นต่อเนื่องเป็นไตรมาส

ที่ 9 ร้อยละ 10.2 เทียบกับการขยายตัวร้อยละ 26.4 ในไตรมาสก่อนหน้า ส่วนจังหวัดที่มีรายรับที่แท้จริงจาก

ผู้เยี่ยมเยือนคนไทยสูงที่สุด 5 อันดับแรก (ไม่รวมกรุงเทพมหานคร) ได้แก่ ชลบุรี (สัดส่วนร้อยละ 8.45)

เชียงใหม่ (สัดส่วนร้อยละ 7.48) ประจวบคีรีขันธ์ (สัดส่วนร้อยละ 5.00) เชียงราย (สัดส่วนร้อยละ 4.86) และ

เพชรบุรี (สัดส่วนร้อยละ 3.91) ตามล้าดับ การเพิ่มขึ นของทั งมูลค่าบริการรับด้านการท่องเที่ยวและมูลค่า

การใช้จ่ายของนักท่องเที่ยวชาวไทย ส่งผลให้ในไตรมาสนี มีรายรับรวมจากการท่องเที่ยวอยู่ที่3 6.03 แสนล้านบาท

เพิ่มขึ้นร้อยละ 26.0 ส้าหรับอัตราการเข้าพักในไตรมาสนี้เฉลี่ยอยู่ที่ร้อยละ 75.27 สูงกว่าร้อยละ 70.24

ในไตรมาสเดียวกันของปีก่อน และสูงสุดในรอบ 20 ไตรมาส นับตั งแต่ไตรมาสที่สองของปี 2562

สาขาการขายส่งและการขายปลีก การซ่อมยานยนต์และจักรยานยนต์: เพิ่มขึ้นร้อยละ 4.3 ชะลอตัวลงจาก

การขยายตัวร้อยละ 5.1 ในไตรมาสก่อนหน้า ตามการชะลอตัวของการใช้จ่ายภาคครัวเรือน สอดคล้องกับ

การชะลอตัวของดัชนีรวมการขายส่งและการขายปลีก การซ่อมยานยนต์และจักรยานยนต์ โดย (1) ดัชนี

การขายปลีก (ยกเว้นยานยนต์และจักรยานยนต์) ยังขยายตัวในเกณฑ์สูงร้อยละ 10.7 แต่ชะลอตัวลงจาก

การขยายตัวร้อยละ 17.9 ในไตรมาสก่อนหน้า ตามการชะลอตัวของหมวดร้านขายปลีกสินค้าประเภทอื่น ๆ

เช่น ร้านเครื่องประดับ ร้านเครื่องส้าอาง และร้านขายปลีกดอกไม้ต้นไม้และอุปกรณ์ที่เกี่ยวข้อง เป็นต้น และ

หมวดการขายปลีกในร้านค้าทั่วไป โดยเฉพาะการขายปลีกในร้านดิสเคาท์สโตร์/ซุปเปอร์เซ็นเตอร์/ไฮเปอร์มาร์

เก็ต (2) ดัชนีการขายส่ง การขายปลีก การซ่อมยานยนต์และจักรยานยนต์ ลดลงร้อยละ 16.9 เทียบกับ

การลดลงร้อยละ 12.2 ในไตรมาสก่อนหน้า ตามการลดลงในทุกหมวด อาทิ หมวดการขายยานยนต์ และหมวด

การขายชิ นส่วนและอุปกรณ์เสริมของยานยนต์ และ (3) ดัชนีการขายส่ง (ยกเว้นยานยนต์และจักรยานยนต์)

ลดลงร้อยละ 0.8 เทียบกับการลดลงร้อยละ 3.9 ในไตรมาสก่อนหน้า ตามการลดลงของหมวดการขายส่งสินค้าทั่วไป

และการขายส่งสินค้าเฉพาะประเภทอื่น ๆ (อาทิ การขายส่งสีทาน้ามันชักเงาและแลกเกอร์ และการขายส่ง

เคมีภัณฑ์ทางอุตสาหกรรม) อย่างไรก็ตาม หมวดอาหาร เครื่องดื่มและยาสูบ และหมวดของใช้ในครัวเรือน

ปรับตัวเพิ่มขึ น

สาขาการขนส่งและสถานที่เก็บสินค้า: เพิ่มขึ้นร้อยละ 9.4 เร่งขึ้นจากการขยายตัวร้อยละ 7.0 ในไตรมาส

ก่อนหน้า ตามการขยายตัวของภาคบริการด้านการท่องเที่ยวอย่างต่อเนื่อง สอดคล้องกับการขยายตัวเร่งขึ น

ของดัชนีบริการขนส่งทุกประเภท ประกอบด้วย (1) บริการขนส่งทางบกและท่อลาเลียง เพิ่มขึ นร้อยละ 5.7

เร่งขึ นจากร้อยละ 3.0 ในไตรมาสก่อนหน้า สอดคล้องกับการเพิ่มขึ นของปริมาณการใช้น้ามันดีเซลและเบนซิน

ส้าหรับยานยนต์ ปริมาณผู้โดยสารรถไฟฟ้า ปริมาณการขนส่งสินค้าทางบก และปริมาณการใช้ก๊าซปิโตรเลียม

เหลว ในขณะที่ปริมาณการใช้ก๊าซธรรมชาติ และปริมาณผู้ใช้บริการรถสาธารณะลดลง (2) บริการขนส่งทาง

อากาศ เพิ่มขึ นร้อยละ 24.1 เร่งขึ นจากร้อยละ 15.9 ในไตรมาสก่อนหน้า ตามการเพิ่มขึ นของปริมาณ

การขนส่งผู้โดยสารทางอากาศ และปริมาณการขนส่งสินค้าทางอากาศ และ (3) บริการขนส่งทางน้า เพิ่มขึ น

ร้อยละ 5.4 เร่งขึ นจากการขยายตัวร้อยละ 2.6 ในไตรมาสก่อนหน้า สอดคล้องกับการเพิ่มขึ นของดัชนีปริมาณ

ตู้สินค้าและปริมาณการขนส่งสินค้าระหว่างประเทศทางน้าของไทย และการเพิ่มขึ นของดัชนีปริมาณผู้โดยสาร

ทางน้า ส้าหรับบริการสนับสนุนการขนส่งเพิ่มขึ นร้อยละ 9.9 ชะลอตัวลงจากร้อยละ 12.3 ในไตรมาสก่อนหน้า

และบริการไปรษณีย์เพิ่มขึ นร้อยละ 15.8 เร่งขึ นจากร้อยละ 11.8 ในไตรมาสก่อนหน้า

สาขาการก่อสร้าง: ลดลงร้อยละ 17.3 ต่อเนื่องจากการลดลงร้อยละ 8.8 ในไตรมาสก่อนหน้า ตามการลดลง

ของการก่อสร้างภาครัฐ โดยเฉพาะการก่อสร้างของรัฐบาล ในขณะที่การก่อสร้างภาคเอกชนเพิ่มขึ้น

ต่อเนื่องเป็นไตรมาสที่ 7 โดยในไตรมาสนี การก่อสร้างภาครัฐลดลงต่อเนื่องเป็นไตรมาสที่ 4 ร้อยละ 30.1

เทียบกับการลดลงร้อยละ 18.4 ในไตรมาสก่อนหน้า โดยการก่อสร้างของรัฐบาลลดลงต่อเนื่องเป็นไตรมาสที่ 4

ร้อยละ 47.2 เทียบกับการลดลงร้อยละ 30.9 ในไตรมาสก่อนหน้า ตามการลดลงของการเบิกจ่ายรายจ่ายลงทุน

เนื่องจากความล่าช้าของการประกาศใช้พระราชบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจ้าปีงบประมาณ พ.ศ. 2567

เป็นส้าคัญ ในขณะที่การก่อสร้างของรัฐวิสาหกิจเพิ่มขึ นต่อเนื่องเป็นไตรมาสที่ 8 ร้อยละ 2.2 สอดคล้องกับ

การปรับตัวเพิ่มขึ นของการเบิกจ่ายรายจ่ายลงทุนในการพัฒนาโครงสร้างพื นฐานที่ส้าคัญ ๆ เช่น โครงการ

พัฒนาระบบรถไฟความเร็วสูง ช่วงกรุงเทพมหานคร-หนองคาย (ระยะที่ 1 ช่วงกรุงเทพมหานคร-นครราชสีมา)

(รฟท.) และโครงการปรับปรุงกิจการประปาแผนหลักครั งที่ 9 โดยเฉพาะการขยายก้าลังการผลิตน้าที่

โรงงานผลิตน้ามหาสวัสดิ์ (กปน.) ตามล้าดับ ส่วนการก่อสร้างภาคเอกชนเพิ่มขึ นต่อเนื่องเป็นไตรมาสที่ 7 ร้อยละ

5.2 เร่งขึ นจากร้อยละ 3.4 ในไตรมาสก่อนหน้า ตามการขยายตัวในเกณฑ์ดีของการก่อสร้างอาคารที่มิใช่ที่อยู่อาศัย

โดยเฉพาะอาคารโรงงานและอาคารพาณิชย์ ส่วนการก่อสร้างที่อยู่อาศัย อาทิ ห้องชุด และบ้านเดี่ยว ชะลอตัวลง

จากไตรมาสก่อนหน้า ในขณะที่การก่อสร้างอื่น ๆ ปรับตัวลดลงอย่างต่อเนื่อง ส้าหรับดัชนีราคาวัสดุก่อสร้าง

ลดลงต่อเนื่องเป็นไตรมาสที่ 4 ร้อยละ 1.1 ตามการลดลงของราคาหมวดเหล็ก (ลดลงร้อยละ 3.7) และราคา

หมวดวัสดุก่อสร้างอื่น ๆ (ลดลงร้อยละ 4.4) อาทิ ยางมะตอย และผลิตภัณฑ์อลูมิเนียม เป็นส้าคัญ ในขณะที่

ราคาวัสดุก่อสร้างส้าคัญ ๆ หลายหมวดปรับตัวเพิ่มขึ น เช่น หมวดไม้และผลิตภัณฑ์ไม้ (เพิ่มขึ นร้อยละ 5.0)

หมวดผลิตภัณฑ์คอนกรีต (เพิ่มขึ นร้อยละ 1.1) หมวดอุปกรณ์ไฟฟ้าและประปา (เพิ่มขึ นร้อยละ 0.8) และหมวด

ซีเมนต์ (เพิ่มขึ นร้อยละ 0.3) ตามล้าดับ

ผู้มีงานทา: จานวนผู้มีงานทาปรับตัวลดลงครั้งแรกในรอบ 15 ไตรมาส ตามการลดลงของผู้มีงานทาใน

ภาคเกษตร เป็นสาคัญ ในขณะที่ผู้มีงานทานอกภาคเกษตรเพิ่มขึ้นต่อเนื่องเป็นไตรมาสที่ 8 ส่วนอัตรา

การว่างงานสูงกว่าไตรมาสก่อนหน้าแต่ต่ากว่าไตรมาสเดียวกันของปีก่อน โดยในไตรมาสแรกของปี 2567

ผู้มีงานท้ามีจ้านวนทั งสิ น 39.58 ล้านคน ลดลงร้อยละ 0.1 เทียบกับการเพิ่มขึ นร้อยละ 1.7 ในไตรมาสก่อนหน้า

จ้าแนกเป็น ผู้มีงานท้าชาวไทยจ้านวน 36.27 ล้านคน (สัดส่วนร้อยละ 91.64) ลดลงร้อยละ 1.6 และผู้มีงานท้า

ชาวต่างด้าวจ้านวน 3.31 ล้านคน (สัดส่วนร้อยละ 8.36) เพิ่มขึ นร้อยละ 20.8 โดยผู้มีงานทาภาคเกษตร

(สัดส่วนร้อยละ 27.61) ปรับตัวลดลงครั งแรกในรอบ 3 ไตรมาส ร้อยละ 5.7 สอดคล้องกับการลดลงของ

ผลผลิตสินค้าเกษตรส้าคัญบางรายการ เช่น ปาล์มน้ามัน อ้อย มันส้าปะหลัง กลุ่มไม้ผล และข้าวเปลือก เป็นต้น

ในขณะที่ผู้มีงานทานอกภาคเกษตร (สัดส่วนร้อยละ 72.39) เพิ่มขึ นต่อเนื่องเป็นไตรมาสที่ 8 ร้อยละ 2.2

ตามการเพิ่มขึ นของผู้มีงานท้าในสาขาที่พักแรมและบริการด้านอาหาร สาขาก่อสร้าง และ สาขาอุตสาหกรรม

ตามล้าดับ เป็นส้าคัญ ในขณะที่ผู้มีงานท้าในสาขาขายส่งและการขายปลีก การซ่อมยานยนต์และ

รถจักรยานยนต์ ปรับตัวลดลงครั งแรกในรอบ 2 ไตรมาส ส้าหรับอัตราการว่างงานในไตรมาสนี อยู่ที่ร้อยละ

1.01 สูงกว่าร้อยละ 0.81 ในไตรมาสก่อนหน้า แต่ต้ากว่าร้อยละ 1.05 ในไตรมาสเดียวกันของปีก่อน โดยมี

ผู้ว่างงานเฉลี่ยจ้านวน 4.08 แสนคน สูงกว่าผู้ว่างงานจ้านวน 3.29 แสนคน ในไตรมาสก่อนหน้า แต่ต้ากว่า

ผู้ว่างงานจ้านวน 4.21 แสนคน ในไตรมาสเดียวกันของปีก่อนหน้า

สถานการณ์ด้านแรงงานในระบบประกันสังคม: จานวนผู้ประกันตนในระบบประกันสังคมเพิ่มขึ้นต่อเนื่อง

เป็นไตรมาสที่ 12 โดยสัดส่วนผู้ประกันตนที่ได้รับประโยชน์กรณีว่างงานตามมาตรา 33 สูงกว่าไตรมาสก่อนหน้า

แต่ต่ากว่าไตรมาสเดียวกันของปีก่อน ในไตรมาสแรกของปี 2567 ผู้ประกันตนในระบบประกันสังคมรวม

เพิ่มขึ นร้อยละ 0.7 ชะลอตัวลงจากร้อยละ 1.0 ในไตรมาสก่อนหน้า ประกอบด้วย ผู้ประกันตนภาคบังคับตาม

มาตรา 33 เพิ่มขึ นร้อยละ 1.7 เทียบกับร้อยละ 2.2 ในไตรมาสก่อนหน้า และผู้ประกันตนตามความสมัครใจ

(มาตรา 40) เพิ่มขึ นร้อยละ 0.6 เทียบกับร้อยละ 0.7 ในไตรมาสก่อนหน้า ในขณะที่ ผู้ประกันตนตาม

ความสมัครใจ (มาตรา 39) ลดลงต่อเนื่องเป็นไตรมาสที่ 7 ร้อยละ 5.1 เทียบกับการลดลงร้อยละ 4.4 ในไตรมาส

ก่อนหน้า ส้าหรับสัดส่วนผู้ประกันตนที่ได้รับประโยชน์กรณีว่างงานตามมาตรา 33 ในไตรมาสนี อยู่ที่ร้อยละ

1.84 สูงกว่าร้อยละ 1.74 ในไตรมาสก่อนหน้า แต่ต้ากว่าร้อยละ 1.94 ในไตรมาสเดียวกันของปีก่อน โดยมี

จานวนผู้ประกันตนที่ได้รับประโยชน์กรณีว่างงานตามมาตรา 33 เฉลี่ยจ้านวน 2.18 แสนคน สูงกว่าจ้านวน

2.07 แสนคน ในไตรมาสก่อนหน้า แต่ต้ากว่าจ้านวน 2.27 แสนคน ในไตรมาสเดียวกันของปีก่อน

จานวนผู้มีงานทาและชั่วโมงการทางานในสาขาการผลิตสินค้าอุตสาหกรรม

ข้อมูลจากการส้ารวจภาวะการท้างานของประชากรทั่วราชอาณาจักร (The Labor force Survey Whole Kingdom) ชี ให้เห็นว่า

ในไตรมาสแรกของปี 2567 ผู้มีงานท้าในสาขาการผลิตสินค้าอุตสาหกรรมมีจ้านวน 6.37 ล้านคน (สัดส่วนร้อยละ 16.28 ของผู้มีงานท้า) เพิ่มขึ น

ร้อยละ 0.7 โดยหากพิจารณาแต่ลูกจ้างเอกชนผู้มีงานท้าในสาขาการผลิตสินค้าอุตสาหกรรมมีจ้านวน 5.08 ล้านคน เพิ่มขึ นร้อยละ 1.0 จากช่วง

เดียวกันของปีก่อน มีจ้านวนเวลาการท้างานเฉลี่ยอยู่ที่ 45.31 ชั่วโมงต่อคนต่อสัปดาห์ (แรงงานรวมมีจ้านวนเวลาการท้างานเฉลี่ยอยู่ที่ 41.00

ชั่วโมงต่อคนต่อสัปดาห์) ลดลงจาก 45.76 ชั่วโมงต่อคนต่อสัปดาห์ หรือคิดเป็นการลดลงร้อยละ 1.0 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน นอกจากนี จ้านวน

ผู้ที่ท้างานล่วงเวลาของภาคอุตสาหกรรมในไตรมาสนี ลดลงร้อยละ 3.8 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน ซึ่งสอดคล้องกับการปรับตัวลดลงของการผลิต

สินค้าอุตสาหกรรมอย่างต่อเนื่อง และอัตราการใช้ก้าลังการผลิตที่อยู่ในระดับต้า โดยจากข้อมูลสะท้อนให้เห็นว่าแม้จ้านวนผู้มีงานท้าในสาขา

การผลิตสินค้าอุตสาหกรรมจะมีการปรับตัวเพิ่มขึ น แต่จ้านวนชั่วโมงการท้างานเฉลี่ยต่อคนต่อสัปดาห์ปรับตัวลดลง

จานวนผู้มีงานทาและชั่วโมงการทางานในสาขาการผลิตสินค้าอุตสาหกรรม (ต่อ)

เมื่อพิจารณาการผลิตสินค้าอุตสาหกรรมจ้าแนกกลุ่มการผลิตตามนวัตกรรม พบว่า

1. กลุ่มการผลิตที่ใช้วัตถุดิบภายในประเทศ มีผู้มีงานท้าจ้านวน 1.99 ล้านคน (สัดส่วนร้อยละ 39.27) ลดลงร้อยละ 0.2 จากช่วงเดียวกัน

ของปีก่อน โดยแรงงานกลุ่มการผลิตที่ใช้วัตถุดิบในประเทศมีจ้านวนเวลาการท้างานเฉลี่ยอยู่ที่ 45.23 ชั่วโมงต่อคนต่อสัปดาห์ ลดลงร้อยละ 1.1

จากช่วงเดียวกันของปีก่อน สอดคล้องกับดัชนีผลผลิตอุตสาหกรรมที่ลดลงร้อยละ 0.2 และอัตราการใช้ก้าลังการผลิตอยู่ที่ร้อยละ 58.92 ลดลง

ร้อยละ 0.5 โดยสาขาที่ส้าคัญได้แก่ การผลิตผลิตภัณฑ์อาหาร มีผู้มีงานท้าจ้านวน 1.06 ล้านคน และการผลิตผลิตภัณฑ์ยางและพลาสติก มีผู้มีงาน

ท้าจ้านวน 3.57 แสนคน โดยเป็นการลดลงในทุกองค์ประกอบ ทั งจ้านวนผู้มีงานท้าและชั่วโมงการท้างาน สอดคล้องกับการลดลงของดัชนีผลผลิต

และอัตราการใช้ก้าลังการผลิต

2. กลุ่มการผลิตที่ใช้แรงงานเข้มข้น มีผู้มีงานท้าจ้านวน 1.05 ล้านคน คน (สัดส่วนร้อยละ 20.70) เพิ่มขึ นร้อยละ 12.2 จากช่วงเดียวกัน

ของปีก่อน โดยแรงงานกลุ่มการผลิตที่ใช้แรงงานเข้มข้นมีจ้านวนเวลาการท้างานเฉลี่ยอยู่ที่ 44.44 ชั่วโมงต่อคนต่อสัปดาห์ ลดลงร้อยละ 0.3 จาก

ช่วงเดียวกันของปีก่อน สอดคล้องกับดัชนีผลผลิตอุตสาหกรรมที่ลดลงร้อยละ 4.7 และอัตราการใช้ก้าลังการผลิตอยู่ที่ร้อยละ 42.79 ลดลงร้อยละ

9.4 โดยสาขาที่ส้าคัญ ได้แก่ การผลิตเสื อผ้าเครื่องแต่งกาย มีผู้มีงานท้าจ้านวน 2.82 แสนคน โดยมีจ้านวนผู้มีงานท้าเพิ่มขึ น แต่ชั่วโมงการท้างาน

ลดลง สอดคล้องกับการลดลงของดัชนีผลผลิตและอัตราการใช้ก้าลังการผลิต

3. กลุ่มการผลิตที่ใช้เทคโนโลยี มีผู้มีงานท้าจ้านวน 2.03 ล้านคน (สัดส่วนร้อยละ 40.03) ลดลงร้อยละ 2.9 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน

โดยแรงงานกลุ่มการผลิตที่ใช้เทคโนโลยีมีจ้านวนเวลาการท้างานเฉลี่ยอยู่ที่ 45.83 ชั่วโมงต่อคนต่อสัปดาห์ ลดลงร้อยละ 1.0 จากช่วงเดียวกัน

ของปีก่อน สอดคล้องกับดัชนีผลผลิตอุตสาหกรรมที่ลดลงร้อยละ 6.0 และอัตราการใช้ก้าลังการผลิตอยู่ที่ร้อยละ 64.35 ลดลงร้อยละ 8.5 โดยสาขา

ที่ส้าคัญได้แก่ การผลิตยานยนต์ รถพ่วงและรถกึ่งพ่วง มีผู้มีงานท้าจ้านวน 4.45 แสนคน โดยมีจ้านวนผู้มีงานท้าและชั่วโมงการท้างานเพิ่มขึ น

ในขณะที่ดัชนีผลผลิตและอัตราการใช้ก้าลังการผลิตลดลง ส่วนหนึ่งสะท้อนประสิทธิภาพทางการผลิตที่ลดลง ซึ่งอาจเป็นผลของช่วงการเปลี่ยนผ่าน

เทคโนโลยี ที่จ้าเป็นต้องใช้ทักษะที่สูงขึ น และการผลิตผลิตภัณฑ์คอมพิวเตอร์ อิเล็กทรอนิกส์ และอุปกรณ์ทางทัศนศาสตร์ มีผู้มีงานท้าจ้านวน

4.35 แสนคน มีการลดลง ในทุก ๆ องค์ประกอบทั งการจ้างงานและชั่วโมงการท้างาน สอดคล้องกับการลดลงของดัชนีผลผลิตและอัตราการใช้

ก้าลังการผลิต

ในภาพรวมภาคอุตสาหกรรมต้องเผชิญความท้าทายในหลาย ๆ ด้าน ทั งปัจจัยภายในประเทศ (อาทิ การเข้าสู่สังคมสูงวัย การเปลี่ยนแปลง

ทางเทคโนโลยี (Technology Disruption) และปัจจัยจากต่างประเทศ (อาทิ ภูมิรัฐศาสตร์ อัตราแลกเปลี่ยน อัตราดอกเบี ย) ส่งผลให้ผู้ประกอบการ

และแรงงานในภาคอุตสาหกรรมจ้าเป็นต้องปรับตัวให้เข้ากับบริบทของประเทศที่เปลี่ยนแปลงไป และให้ความส้าคัญต่อการเพิ่มประสิทธิภาพ

ทั งทางด้านทุนและด้านแรงงาน ควบคู่ไปกับการยกระดับเทคโนโลยีและนวัตกรรมเพื่อยกระดับศักยภาพของการผลิตสินค้าอุตสาหกรรม

ด้านการคลัง

การจัดเก็บรายได้รัฐบาล ในไตรมาสที่สองของปีงบประมาณ 2567 (มกราคม - มีนาคม 2567) รัฐบาลจัดเก็บ

รายได้สุทธิ 545,376.1 ล้านบาท เพิ่มขึ นจากไตรมาสเดียวกันของปีก่อนร้อยละ 4.7 โดยเป็นผลมาจาก (1) การจัดเก็บ

ภาษีสรรพสามิตน้ามันและผลิตภัณฑ์น้ามันเพิ่มขึ นร้อยละ 99.9 เนื่องจากการปรับมาตรการลดภาษีสรรพสามิต

น้ามันดีเซลจากเดิมลิตรละ 5 บาท เป็นลิตรละ 1 บาท (2) การจัดเก็บภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาเพิ่มขึ นร้อยละ

4.6 ตามการขยายตัวของกิจกรรมทางเศรษฐกิจ (3) การน้าส่งรายได้ของส่วนราชการอื่นเพิ่มขึ นร้อยละ 7.9

เนื่องจากการน้าส่งรายได้สัมปทานในกิจการปิโตรเลียมระบบสัญญาแบ่งปันผลผลิต (ระบบ Production

Sharing Contract หรือ PSC) ของกรมเชื อเพลิงธรรมชาติ (4) การจัดเก็บภาษีเครื่องดื่มเพิ่มขึ นร้อยละ 13.8

ตามการเปลี่ยนแปลงอัตราภาษีความหวานระยะที่ 34 และ (5) การจัดเก็บภาษีมูลค่าเพิ่มเพิ่มขึ นร้อยละ 0.3

สอดคล้องกับการขยายตัวของการบริโภคในประเทศ อย่างไรก็ตาม การจัดเก็บภาษีสรรพสามิตรถยนต์และ

ภาษีสรรพสามิตยาสูบลดลงจากไตรมาสเดียวกันของปีก่อนร้อยละ 35.0 และร้อยละ 15.0 ตามล้าดับ ตามการลดลง

ของปริมาณการสั่งซื อรถยนต์และปริมาณการจ้าหน่ายยาสูบ

รวม 6 เดือนแรกของปีงบประมาณ 2567 รัฐบาลจัดเก็บรายได้สุทธิ 1,168,897.5 ล้านบาท เพิ่มขึ นจาก

ช่วงเดียวกันของปีก่อนร้อยละ 0.7 แต่ต้ากว่าประมาณการตามเอกสารงบประมาณร้อยละ 2.3 โดยการจัดเก็บ

รายได้ของกรมสรรพสามิตต้ากว่าประมาณการตามการลดลงของการจัดเก็บภาษีสรรพสามิตน้ามันดีเซลและ

น้ามันอื่น ๆ ที่คล้ายกัน และภาษีสรรพสามิตรถยนต์ เนื่องจากการด้าเนินมาตรการปรับลดอัตราภาษีน้ามัน

ดีเซลและน้ามันเบนซิน และมาตรการสนับสนุนยานยนต์ไฟฟ้า อย่างไรก็ตาม การจัดเก็บรายได้ของ

กรมสรรพากรและการน้าส่งรายได้ของรัฐวิสาหกิจสูงกว่าการประมาณการตามการจัดเก็บภาษีมูลค่าเพิ่มและ

การน้าส่งรายได้เหลื่อมปีของรัฐวิสาหกิจบางแห่ง ทั งนี หากไม่รวมการจัดเก็บรายได้พิเศษ 39,131 ล้านบาท

การจัดเก็บรายได้รัฐบาลสุทธิในช่วงครึ่งแรกของปีจะสูงกว่าช่วงเดียวกันของปีก่อนร้อยละ 4.2

การใช้จ่ายของรัฐบาล ในไตรมาสที่สองของปีงบประมาณ 2567 รัฐบาลมีการเบิกจ่ายรวม 671,897.2 ล้านบาท5

ลดลงจากช่วงเดียวกันของปีก่อนร้อยละ 17.7 ประกอบด้วย การเบิกจ่ายงบประมาณรายจ่ายประจาปี

งบประมาณ พ.ศ. 2567 จ้านวน 570,697.1 ล้านบาท ลดลงจากไตรมาสเดียวกันของปีงบประมาณก่อนร้อยละ

19.6 จ้าแนกเป็น (1) รายจ่ายประจ้า 529,465.3 ล้านบาท ลดลงจากช่วงเดียวกันของปีก่อนร้อยละ 11.8 โดยมี

อัตราการเบิกจ่ายร้อยละ 19.7 เทียบกับร้อยละ 23.4 ในไตรมาสเดียวกันของปีก่อน และ (2) รายจ่ายลงทุน

41,231.8 ล้านบาท ลดลงจากช่วงเดียวกันของปีก่อนร้อยละ 62.2 โดยมีอัตราการเบิกจ่ายร้อยละ 5.2 เทียบกับ

ร้อยละ 17.7 ในไตรมาสเดียวกันของปีก่อน เนื่องจากความล่าช้าของการประกาศใช้พระราชบัญญัติงบประมาณ

รายจ่ายประจ้าปี พ.ศ. 2567

การเบิกจ่ายงบประมาณกันไว้เบิกเหลื่อมปี 36,431.1 ล้านบาท ลดลงจากช่วงเดียวกันของปีก่อนร้อยละ 18.2

โดยมีอัตราการเบิกจ่ายร้อยละ 22.8 และการเบิกจ่ายงบลงทุนรัฐวิสาหกิจ (รวมบริษัท ปตท. จ้ากัด (มหาชน)

และบริษัทในเครือที่ลงทุนในประเทศ) 76,238.9 ล้านบาท6 ทรงตัวใกล้เคียงกับช่วงเดียวกันของปีก่อนหน้า

ทั งนี รัฐวิสาหกิจที่มีมูลค่าการเบิกจ่ายสูงสุด 5 อันดับแรก ได้แก่ บริษัท ปตท. จ้ากัด (มหาชน) และบริษัทในเครือ

การรถไฟแห่งประเทศไทย การรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนแห่งประเทศไทย การไฟฟ้าฝายผลิตแห่งประเทศไทย

และการไฟฟ้าส่วนภูมิภาค

รวม 6 เดือนแรกของปีงบประมาณ 2567 มีการเบิกจ่ายงบประมาณภาครัฐรวม 1,722,915.1 ล้านบาท

ลดลงจากช่วงเดียวกันของปีก่อนร้อยละ 13.6 ประกอบด้วย (1) การเบิกจ่ายจากงบประมาณรายจ่าย

ประจาปี 2567 จ้านวน 1,480,859.8 ล้านบาท (อัตราการเบิกจ่ายร้อยละ 42.6 ต้ากว่าร้อยละ 53.1 ในช่วง

เดียวกันของปีก่อน) แบ่งเป็นการเบิกจ่ายรายจ่ายประจ้า 1,388,568.5 ล้านบาท (อัตราการเบิกจ่ายร้อยละ 51.7

ต้ากว่าร้อยละ 56.8 ในช่วงเดียวกันของปีก่อน) และการเบิกจ่ายรายจ่ายลงทุน 92,291.2 ล้านบาท (อัตรา

การเบิกจ่ายร้อยละ 11.6 ต้ากว่าร้อยละ 37.8 ในช่วงเดียวกันของปีก่อน) (2) การเบิกจ่ายงบประมาณกันไว้

เบิกเหลื่อมปี 90,052.3 ล้านบาท ลดลงร้อยละ 12.9 (อัตราการเบิกจ่ายร้อยละ 56.2) และ (3) การเบิกจ่าย

งบลงทุนรัฐวิสาหกิจ (รวมบริษัท ปตท. จ้ากัด (มหาชน) และบริษัทในเครือที่ลงทุนในประเทศ) 169,474.4

ล้านบาท7 เพิ่มขึ นร้อยละ 0.3 ทั งนี รัฐวิสาหกิจที่มีการเบิกจ่ายงบลงทุนสูงสุด 5 อันดับแรก ได้แก่ บริษัท ปตท.

จ้ากัด (มหาชน) และบริษัทในเครือ การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค การรถไฟแห่งประเทศไทย การไฟฟ้าฝายผลิตแห่ง

ประเทศไทย และการรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนแห่งประเทศไทย

หนี้สาธารณะคงค้าง ณ สิ นเดือนมีนาคม 2567 มีมูลค่าทั งสิ น 11,474,154.0 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 63.4

ของ GDP เพิ่มขึ นจากร้อยละ 61.9 ณ สิ นปีงบประมาณ 2566 ประกอบด้วย เงินกู้ภายในประเทศ

11,332,794.5 ล้านบาท คิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 98.77 ของหนี สาธารณะทั งหมด และเงินกู้จากต่างประเทศ

141,359.5 ล้านบาท คิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 1.23 ของหนี สาธารณะทั งหมด โดยเป็นหนี รัฐบาล 10,087,188.4

ล้านบาท หนี รัฐวิสาหกิจที่ไม่ใช่เป็นสถาบันการเงิน 1,072,821.6 ล้านบาท หนี รัฐวิสาหกิจที่ท้าธุรกิจ

ในภาคการเงิน (รัฐบาลค้าประกัน) 202,269.2 ล้านบาท และหนี หน่วยงานของรัฐ 111,874.8 ล้านบาท

คิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 87.9 ร้อยละ 9.3 ร้อยละ 1.8 และร้อยละ 1.0 ของหนี สาธารณะทั งหมด ตามล้าดับ

ฐานะการคลัง ในไตรมาสที่สองของปีงบประมาณ 2567 รัฐบาลขาดดุลงบประมาณ 60,800 ล้านบาท เมื่อรวมกับ

การขาดดุลเงินนอกงบประมาณ 14,423 ล้านบาท และการกู้เงินเพื่อชดเชยการขาดดุล 240,350 ล้านบาท

ส่งผลให้รัฐบาลเกินดุลเงินสดสุทธิ 165,127 ล้านบาท และเมื่อรวมกับเงินคงคลัง ณ สิ นไตรมาสแรกของ

ปีงบประมาณ 2567 จ้านวน 209,616 ล้านบาท ส่งผลให้เงินคงคลัง ณ สิ นเดือนมีนาคม 2567 มีจ้านวนทั งสิ น

374,743 ล้านบาท

รวม 6 เดือนแรกของปีงบประมาณ 2567 รัฐบาลขาดดุลงบประมาณ 400,167 ล้านบาท เมื่อรวมกับการขาดดุล

เงินนอกงบประมาณ 24,496 ล้านบาท และมีการกู้เงินเพื่อชดเชยการขาดดุล 260,350 ล้านบาท ส่งผลให้

รัฐบาลยังคงขาดดุลเงินสดหลังกู้สุทธิ 164,313 ล้านบาท

ภาวะการเงิน

อัตราดอกเบี้ยนโยบายของไทยทรงตัวที่ร้อยละ 2.50 ต่อปี

ในไตรมาสแรกของปี 2567 คณะกรรมการนโยบายการเงิน (กนง.) ในการประชุมครั งที่ 1/2567 วันที่ 7 กุมภาพันธ์

2567 มีมติคงอัตราดอกเบี ยนโยบายไว้ที่ร้อยละ 2.50 ต่อปี เนื่องจากเห็นว่าอัตราดอกเบี ยปัจจุบันยังสอดคล้องกับ

แนวโน้มเศรษฐกิจและเงินเฟ้อ โดย กนง. ประเมินว่าเศรษฐกิจไทยปี 2567 มีแนวโน้มขยายตัวสูงขึ นจากปีก่อนหน้า

โดยมีปัจจัยสนับสนุนจากการบริโภคภาคเอกชนและการท่องเที่ยว รวมทั งการใช้จ่ายภาครัฐที่จะกลับมาเพิ่มขึ น

ในช่วงที่เหลือของปี ขณะที่การส่งออกมีแนวโน้มฟื้นตัวได้อย่างค่อยเป็นค่อยไป ด้านอัตราเงินเฟ้ออยู่ในระดับต้าจาก

ปัจจัยด้านอุปทานและมาตรการของภาครัฐ แต่มีแนวโน้มทยอยเข้าสู่กรอบเป้าหมายในช่วงปลายปี 2567 ทั้งนี้

ทิศทางการดาเนินนโยบายการเงินของไทยมีความสอดคล้องกับธนาคารกลางของประเทศเศรษฐกิจหลัก อาทิ

สหรัฐฯ แคนาดา สหภาพยุโรป และอังกฤษ ที่ยังคงอัตราดอกเบี ยนโยบายต่อเนื่องจากไตรมาสก่อนหน้าเพื่อควบคุม

อัตราเงินเฟ้อให้เข้าสู่กรอบเป้าหมายอย่างมีเสถียรภาพ เช่นเดียวกับธนาคารกลางของหลายประเทศในภูมิภาค

เอเชีย อาทิ เกาหลีใต้ อินเดีย เวียดนาม มาเลเซีย อินโดนีเซีย และฟิลิปปินส์ ซึ่งคงอัตราดอกเบี ยนโยบายเพื่อ

ลดแรงกดดันด้านเงินเฟ้อและเพื่อรักษาเสถียรภาพของอัตราแลกเปลี่ยน ส่วนธนาคารกลางจีนแม้จะคงอัตรา

ดอกเบี ยนโยบาย แต่มีการปรับลดอัตราส่วนการกันส้ารองของธนาคารพาณิชย์ (RRR) เพื่อเพิ่มสภาพคล่องในระบบ

เศรษฐกิจ และปรับลดอัตราดอกเบี ยเงินกู้ลูกค้าชั นดี (LPR) เพื่อลดภาระดอกเบี ยสินเชื่อที่อยู่อาศัยเดิมและกระตุ้น

การขอสินเชื่อที่อยู่อาศัยใหม่ ในขณะที่ธนาคารกลางญี่ปุ นปรับขึ นอัตราดอกเบี ยนโยบายเป็นครั งแรกในรอบ 17 ปี

พร้อมประกาศแผนทยอยลดการใช้เครื่องมือนโยบายการเงินเชิงผ่อนคลายอื่น ๆ

ในเดือนเมษายน 2567 คณะกรรมการนโยบายการเงินของธนาคารกลางอินโดนีเซียปรับขึ นอัตราดอกเบี ย

นโยบายร้อยละ 0.25 เพื่อลดแรงกดดันจากการอ่อนค่าของเงินรูเปียห์ ขณะที่ กนง. ในการประชุมครั งที่

2/2567 วันที่ 10 เมษายน 2567 มีมติคงอัตราดอกเบี ยนโยบายไว้ที่ร้อยละ 2.50 ต่อปี โดยคณะกรรมการ

ส่วนใหญ่เห็นว่าอัตราดอกเบี ยปัจจุบันอยู่ในระดับที่สอดคล้องกับการรักษาเสถียรภาพเศรษฐกิจและการเงิน

ธนาคารพาณิชย์ขนาดใหญ่และขนาดกลางคงอัตราดอกเบี้ยเงินฝากและเงินกู้ ด้านสถาบันการเงินเฉพาะกิจ

(SFIs) คงอัตราดอกเบี้ยเงินกู้แต่ปรับขึ้นดอกเบี้ยเงินฝาก ในไตรมาสแรกของปี 2567 ธนาคารพาณิชย์ขนาดใหญ่

และขนาดกลางคงอัตราดอกเบี ยเงินฝากประจ้า 12 เดือน ไว้ที่ร้อยละ 1.65 และร้อยละ 1.58 ตามล้าดับ และคงอัตรา

ดอกเบี ยเงินให้กู้ยืมแก่ลูกค้ารายใหญ่ชั นดี (MLR) ไว้ที่ร้อยละ 7.25 และร้อยละ 8.30 ตามล้าดับ ส่วนสถาบัน

การเงินเฉพาะกิจ (SFIs) คงอัตราดอกเบี ยเงินฝากประจ้า 12 เดือน ไว้ที่ร้อยละ 1.78 แต่มีการปรับขึ นอัตราดอกเบี ย

เงินให้กู้ยืมแก่ลูกค้ารายใหญ่ชั นดี (MLR) จากร้อยละ 6.43 เป็นร้อยละ 6.59 ทั้งนี้ อัตราดอกเบี้ยเงินฝากและเงินกู้

ที่แท้จริงเฉลี่ยทุกธนาคารปรับเพิ่มขึ้น จากร้อยละ 2.20 และร้อยละ 7.74 ในไตรมาสก่อนหน้า เป็นร้อยละ 2.45

และร้อยละ 8.04 ตามล้าดับ เนื่องจากอัตราเงินเฟ้อที่ลดลง

ในเดือนเมษายน 2567 ธนาคารพาณิชย์และสถาบันการเงินเฉพาะกิจคงอัตราดอกเบี ยเงินฝาก 12 เดือน และ

อัตราดอกเบี ยเงินกู้ยืมแก่ลูกค้ารายใหญ่ชั นดี (MLR) ไว้ที่ระดับเดิม อย่างไรก็ดี ได้มีการปรับลดอัตราดอกเบี ยกู้ยืม

แก่ลูกค้ารายย่อยชั นดี (MRR) เพื่อช่วยเหลือลูกค้ากลุ่มเปราะบางทั งที่เป็นลูกค้าบุคคล และผู้ประกอบการขนาดกลาง

และขนาดย่อม (SMEs)

ณ สิ้นไตรมาสแรกของปี 2567 สินเชื่อคงค้างภาคเอกชนของสถาบันรับฝากเงินขยายตัวร้อยละ 1.46 ชะลอลง

เล็กน้อยจากการขยายตัวร้อยละ 1.55 ในไตรมาสที่แล้ว ตามการชะลอตัวของสินเชื่อครัวเรือน

สินเชื่อคงค้างภาคเอกชนในระบบธนาคารพาณิชย์ลดลงร้อยละ 0.09 ใกล้เคียงกับการลดลงร้อยละ 0.10 ในไตรมาส

ก่อนหน้า โดยสินเชื่อภาคธุรกิจลดลงร้อยละ 0.32 ปรับตัวดีขึ้นเมื่อเทียบกับการลดลงร้อยละ 1.19 ในไตรมาส

ก่อนหน้า และเมื่อพิจารณาตามขนาดของธุรกิจ พบว่า สินเชื่อธุรกิจ SMEs ลดลงร้อยละ 4.77 ปรับตัวดีขึ้นจาก

การลดลงร้อยละ 5.73 ในไตรมาสที่แล้ว ตามการปรับตัวดีขึ นของสินเชื่อในสาขาการขายส่งและการขายปลีก

การซ่อมยานยนต์และจักรยานยนต์ และสาขาการผลิต เป็นส้าคัญ ในขณะที่สินเชื่อสาขาอสังหาริมทรัพย์ และ

สาขาที่พักแรมและบริการด้านอาหาร ยังคงลดลงต่อเนื่อง ขณะที่สินเชื่อธุรกิจขนาดใหญ่ลดลงร้อยละ 1.97

เป็นการลดลงครั งแรกตั งแต่ไตรมาสที่สองปี 2562 ซึ่งเป็นผลจากสินเชื่อในสาขากิจกรรมทางการเงินและ

การประกันภัยที่ลดลงร้อยละ 5.11 ส่วนหนึ่งเป็นผลจากฐานการขยายตัวที่สูงในปีก่อนหน้า และคุณภาพสินเชื่อ

ครัวเรือนที่ปรับลดลงต่อเนื่อง ขณะที่สินเชื่อในสาขาการผลิตกลับมาขยายตัวร้อยละ 0.64 หลังจากลดลงต่อเนื่อง

ตั งแต่ไตรมาสแรกของปีที่แล้ว ทั งนี ในไตรมาสแรกของปี 2567 ธนาคารเพิ่มความระมัดระวังในการให้สินเชื่อกับ

ธุรกิจขนาดใหญ่และธุรกิจ SMEs มากขึ น อาทิ การเพิ่มเงื่อนไขประกอบสัญญาเงินกู้ การเพิ่มหลักทรัพย์ค้าประกัน

สาหรับสินเชื่อภาคครัวเรือน ขยายตัวร้อยละ 1.12 ชะลอลงจากร้อยละ 2.30 ในไตรมาสก่อนหน้า

ตามการชะลอตัวของสินเชื่อในทุกวัตถุประสงค์ ประกอบด้วย สินเชื่อเพื่อการจัดหาที่อยู่อาศัย สินเชื่อเพื่อการซื อ

หรือเช่าซื อรถยนต์และรถจักรยานยนต์ และสินเชื่อเพื่อการบริโภคส่วนบุคคลอื่น ๆ ซึ่งเป็นผลจากภาระหนี สิน

ภาคครัวเรือนที่อยู่ในระดับสูง ส่งผลให้เครดิตของผู้กู้ปรับลดลง ประกอบกับคุณภาพสินเชื่อที่ปรับลดลง ส่งผลให้

ธนาคารพาณิชย์เพิ่มความระมัดระวังในการให้สินเชื่อมากขึ น

สินเชื่อภาคเอกชนของสถาบันการเงินเฉพาะกิจ ในไตรมาสแรกของปี 2567 ขยายตัวร้อยละ 4.47 ชะลอตัวจาก

การขยายตัวร้อยละ 5.10 ในไตรมาสก่อนหน้า ตามการชะลอลงของทั งสินเชื่อภาคธุรกิจและสินเชื่อครัวเรือน

โดยเฉพาะสินเชื่อภาคครัวเรือนที่เริ่มมีการชะลอตัวลงหลังจากขยายตัวได้ดีต่อเนื่องในช่วงก่อนหน้า ส่วนหนึ่งเป็น

ผลจากภาระหนี ของภาคครัวเรือนที่อยู่ในระดับสูงและคุณภาพสินเชื่อที่ลดลงต่อเนื่อง

ผลการดาเนินงานของธนาคารพาณิชย์ไทยเฉลี่ย ในไตรมาสแรกของปี 2567 ธนาคารพาณิชย์มีรายได้เพิ่มขึ น

ร้อยละ 13.74 เทียบกับการเพิ่มขึ นร้อยละ 20.50 ในไตรมาสก่อนหน้า และมีรายจ่ายเพิ่มขึ นร้อยละ 14.35

เทียบกับการเพิ่มขึ นร้อยละ 23.73 ในไตรมาสก่อนหน้า ขณะที่รายได้ดอกเบี ยสุทธิต่อสินทรัพย์ที่ก่อให้เกิดรายได้

ดอกเบี ยเฉลี่ย (NIM) อยู่ที่ร้อยละ 3.23 เทียบกับร้อยละ 3.20 ในไตรมาสก่อนหน้า และร้อยละ 3.00 ในช่วง

เดียวกันของปีก่อน

อัตราแลกเปลี่ยนเงินบาทต่อดอลลาร์ สรอ. เฉลี่ยในไตรมาสแรกของปี 2567 อยู่ในระดับที่ใกล้เคียงกับค่าเฉลี่ย

ในไตรมาสก่อนหน้า โดยในไตรมาสแรกของปี 2567 เงินบาทเฉลี่ยอยู่ที่ 35.65 บาทต่อดอลลาร์ สรอ. เทียบกับ

35.67 บาทต่อดอลลาร์ สรอ. ในไตรมาสที่แล้ว แต่เคลื่อนไหวในทิศทางอ่อนค่าตลอดทั งไตรมาส สอดคล้องกับ

ทิศทางค่าเงินของประเทศในภูมิภาคและการแข็งค่าของดัชนีดอลลาร์ สรอ. ส่วนหนึ่งเป็นผลมาจากการคาดการณ์

ทิศทางนโยบายการเงินของธนาคารกลางสหรัฐฯ ซึ่งมีแนวโน้มปรับลดอัตราดอกเบี ยล่าช้าออกไป ประกอบกับ

ค่าเงินบาทได้รับแรงกดดันจากปัจจัยภายในประเทศโดยเฉพาะความเสี่ยงที่เศรษฐกิจไทยอาจจะขยายตัวต้ากว่า

การคาดการณ์ และเงินทุนเคลื่อนย้ายที่ไหลออกอย่างต่อเนื่อง ทั งนี เมื่อเทียบกับประเทศคู่ค้า/คู่แข่ง พบว่า

เงินบาทเคลื่อนไหวในทิศทางอ่อนค่าลง เนื่องจากดัชนีค่าเงินบาท (NEER) เฉลี่ยอยู่ที่ 118.78 ลดลงร้อยละ 0.36

จากไตรมาสก่อนหน้า

ส้าหรับค่าเงินสกุลอื่นในภูมิภาคเมื่อเทียบกับเงินดอลลาร์ สรอ. อ่อนค่าลงจากไตรมาสก่อนหน้าในทิศทาง

เดียวกันกับค่าเงินบาท อาทิ เกาหลีใต้ (ร้อยละ 0.6) ญี่ปุ น (ร้อยละ 0.5) มาเลเซีย (ร้อยละ 0.5) อินโดนีเซีย

(ร้อยละ 0.2) และฮ่องกง (ร้อยละ 0.1) อย่างไรก็ดี ค่าเงินของประเทศในภูมิภาคที่แข็งค่าขึ น ได้แก่ ไต้หวัน

(ร้อยละ 1.2) สิงคโปร์ (ร้อยละ 0.8) จีน (ร้อยละ 0.6) อินเดีย (ร้อยละ 0.3) และฟิลิปปินส์ (ร้อยละ0.2)

ในเดือนเมษายน 2567 เงินบาทเฉลี่ยอยู่ที่ 36.79 บาทต่อดอลลาร์ สรอ. อ่อนค่าลงร้อยละ 2.33 สอดคล้องกับ

การเพิ่มขึ นของดัชนีดอลลาร์ สรอ. (Dollar Index) ร้อยละ 1.69 จากเดือนก่อนหน้า (จากค่าเฉลี่ย 103.66

ในเดือนมีนาคม เป็น 105.42 ในเดือนเมษายน 2567) ภายหลังธนาคารกลางสหรัฐฯ มีแนวโน้มชะลอการปรับ

ลดดอกเบี ยนโยบาย เนื่องจากข้อมูลเศรษฐกิจยังคงอยู่ในเกณฑ์ดีและเงินเฟ้อยังอยู่สูงกว่าเป้าหมาย ประกอบกับ

ความขัดแย้งระหว่างอิหร่านและอิสราเอลส่งผลให้นักลงทุนเพิ่มการถือสินทรัพย์สกุลเงินดอลลาร์ สรอ. ทั งนี

เมื่อเฉลี่ยในช่วง 4 เดือนแรก (มกราคม- เมษายน 2567) เงินบาทเฉลี่ยอยู่ที่ 35.94 บาทต่อดอลลาร์ สรอ.

อ่อนค่าลงร้อยละ 5.03 จาก ณ สิ นปี 2566

ดัชนีราคาตลาดหลักทรัพย์ (SET Index) ปรับตัวลดลงจากไตรมาสก่อนหน้า ณ สิ นไตรมาสแรกของปี 2567

ดัชนีราคาตลาดหลักทรัพย์ปิดที่ 1,377.9 จุด ลดลงร้อยละ 2.7 จากไตรมาสก่อนหน้า โดยมีปัจจัยส้าคัญมาจาก

(1) ความไม่แน่นอนในการปรับลดอัตราดอกเบี ยนโยบายของธนาคารกลางสหรัฐฯ ภายหลังข้อมูลเศรษฐกิจ

สหรัฐฯ สะท้อนการขยายตัวอย่างแข็งแกร่ง ขณะที่อัตราเงินเฟ้อยังคงอยู่ในระดับสูงกว่าเป้าหมาย สร้างแรงกดดัน

ต่อการลงทุนในสินทรัพย์เสี่ยง และ (2) การฟื้นตัวที่ล่าช้ากว่าที่คาดของเศรษฐกิจไทย ส่งผลให้หน่วยงานต่าง ๆ

ปรับลดประมาณการแนวโน้มเศรษฐกิจไทยในปี 2567 โดยในไตรมาสนี นักลงทุนต่างชาติขายสุทธิต่อเนื่อง

ติดต่อกันเป็นไตรมาสที่ 5 มูลค่า 69.3 พันล้านบาท สูงที่สุดในรอบ 5 ไตรมาส และเมื่อพิจารณาในรายกลุ่ม

อุตสาหกรรม พบว่า ดัชนีฯ ปรับตัวลดลงในทุกกลุ่มอุตสาหกรรม โดยเฉพาะกลุ่มเทคโนโลยี (ลดลงร้อยละ

15.4) กลุ่มสินค้าอุตสาหกรรม (ลดลงร้อยละ 10.9) กลุ่มอสังหาริมทรัพย์และก่อสร้าง (ลดลงร้อยละ 10.9) และ

กลุ่มสินค้าเกษตรและอุตสาหกรรมอาหาร (ลดลงร้อยละ 4.8) ขณะที่ดัชนีหลักทรัพย์ของหลายประเทศ

ส่วนใหญ่ทั งประเทศเศรษฐกิจหลักและประเทศในภูมิภาคปรับตัวเพิ่มขึ นจากไตรมาสก่อนหน้า ยกเว้น ฮ่องกง

และสิงคโปร์ ซึ่งดัชนีฯ ปรับตัวลดลงร้อยละ 3.0 และร้อยละ 0.5 ตามล้าดับ

ในเดือนเมษายน 2567 ดัชนีราคาตลาดหลักทรัพย์อยู่ที่ 1,368.0 จุด ลดลงจากเดือนมีนาคม 2567 ร้อยละ

0.7 สอดคล้องกับการลดลงของดัชนีหลักทรัพย์ทั งในประเทศเศรษฐกิจหลักและประเทศในภูมิภาคโดยมีปัจจัย

ส้าคัญมาจากแนวโน้มการชะลอปรับลดอัตราดอกเบี ยนโยบายของธนาคารกลางสหรัฐฯ และความขัดแย้งทาง

ภูมิศาสตร์ระหว่างอิหร่านและอิสราเอล กดดันการลงทุนในสินทรัพย์เสี่ยง

อัตราผลตอบแทนพันธบัตรระยะยาวปรับตัวลดลง ในไตรมาสแรกของปี 2567 อัตราผลตอบแทนพันธบัตรระยะยาว

(อายุ 1 ปีขึ นไป) ปรับตัวลดลงสอดคล้องกับดัชนีราคาพันธบัตรรัฐบาลที่ปรับตัวเพิ่มขึ น อย่างไรก็ดี อัตรา

ผลตอบแทนพันธบัตรรัฐบาลสหรัฐฯ อ้างอิงอายุ 10 ปี ปรับตัวเพิ่มขึ นจากไตรมาสก่อนหน้า ตามการคาดการณ์ว่า

ธนาคารกลางสหรัฐฯ จะชะลอการปรับลดอัตราดอกเบี ยนโยบาย ขณะที่อัตราผลตอบแทนพันธบัตรของไทยปรับตัว

ลดลงตามปัจจัยภายในประเทศเป็นส้าคัญ โดยเฉพาะผลการประชุมคณะกรรมการนโยบายการเงิน (กนง.) ที่มี

กรรมการบางส่วนเห็นควรให้ปรับลดอัตราดอกเบี ย และหน่วยงานเศรษฐกิจและศูนย์วิจัยหลายแห่งได้ปรับลด

คาดการณ์แนวโน้มเศรษฐกิจไทยในปี 2567 ลง ส่งผลให้ ณ สิ นไตรมาสแรก อัตราผลตอบแทนพันธบัตรรัฐบาล

อ้างอิงอายุ 2 ปี อยู่ที่ร้อยละ 2.15 ต่อปี ลดลงจากร้อยละ 2.34 ต่อปี ในไตรมาสที่แล้ว และอัตราผลตอบแทน

พันธบัตรรัฐบาลอ้างอิงอายุ 10 ปี อยู่ที่ร้อยละ 2.51 ต่อปี ลดลงจากร้อยละ 2.70 ต่อปี ในไตรมาสที่แล้ว ขณะที่

เงินลงทุนของนักลงทุนต่างชาติในตลาดตราสารหนี ไหลออกสุทธิ 34.5 พันล้านบาท เทียบกับการไหลเข้าสุทธิ 3.7

พันล้านบาทในไตรมาสก่อนหน้า ส้าหรับการระดมทุนใหม่ผ่านตลาดตราสารหนี มีมูลค่าทั งสิ น 410.7 พันล้านบาท

ส่วนใหญ่เป็นการระดมทุนของธุรกิจในกลุ่มเงินทุนและหลักทรัพย์ กลุ่มอสังหาริมทรัพย์ และกลุ่มเกษตรกรรม

ในเดือนเมษายน 2567 อัตราผลตอบแทนพันธบัตรรัฐบาลระยะยาวปรับตัวเพิ่มขึ นจากเดือนก่อนหน้า สอดคล้องกับ

ดัชนีราคาพันธบัตรรัฐบาลที่ปรับตัวลดลง การไหลออกของเงินลงทุนสุทธิของนักลงทุนต่างชาติทั งในพันธบัตร

ระยะสั นและระยะยาว มูลค่า 25.5 พันล้านบาท และการเพิ่มขึ นของอัตราผลตอบแทนพันธบัตรรัฐบาลสหรัฐฯ

ซึ่งเป็นผลจาก (1) ผลการประชุม กนง. ในเดือนเมษายนที่มีมติคงอัตราดอกเบี ยนโยบาย และ (2) แนวโน้มการชะลอ

การปรับลดอัตราดอกเบี ยนโยบายของสหรัฐฯ ภายหลังข้อมูลเศรษฐกิจยังอยู่ในเกณฑ์ดีและอัตราเงินเฟ้อยังอยู่

สูงกว่าเป้าหมาย ส่งผลให้ ณ สิ นเดือนเมษายน อัตราผลตอบแทนพันธบัตรรัฐบาลอายุ 2 ปี และอายุ 10 ปี ปรับตัว

เพิ่มขึ นอยู่ที่ร้อยละ 2.37 ต่อปี และร้อยละ 2.78 ต่อปี ตามล้าดับ

เงินทุนเคลื่อนย้าย ในไตรมาสสี่ของปี 2566 เงินทุนเคลื่อนย้ายไหลออกสุทธิ 4.5 พันล้านดอลลาร์ สรอ. เทียบกับ

การไหลออกสุทธิ 4.7 พันล้านดอลลาร์ สรอ. ในไตรมาสก่อนหน้า ซึ่งเป็นผลจากการไหลออกสุทธิทั งจากการลงทุน

โดยตรงและการลงทุนในหลักทรัพย์ อย่างไรก็ดี เงินทุนเคลื่อนย้ายในไตรมาสนี ไหลออกต้ากว่าไตรมาสก่อน

ตามการลดลงของการไหลออกสุทธิในหลักทรัพย์ของนักลงทุนต่างชาติ

รวมทั้งปี 2566 เงินทุนเคลื่อนย้ายไหลออกสุทธิ 14.3 พันล้านดอลลาร์ สรอ. ตามการขายสุทธิในหลักทรัพย์ไทย

ของนักลงทุนต่างชาติและการไหลออกของการลงทุนโดยตรงในต่างประเทศของนักลงทุนไทยเป็นส้าคัญ

ดุลบัญชีเดินสะพัดเกินดุล ในไตรมาสแรกของปี 2567 ดุลบัญชีเดินสะพัดเกินดุล 2.9 พันล้านดอลลาร์ สรอ.

(102.7 พันล้านบาท) สูงกว่าการเกินดุล 2.0 พันล้านดอลลาร์ สรอ. (71.2 พันล้านบาท) ในไตรมาสก่อนหน้า

แต่ต้ากว่าการเกินดุล 3.5 พันล้านดอลลาร์ สรอ. (122.7 พันล้านบาท) ในไตรมาสเดียวกันของปีก่อน ซึ่งเป็นผลมาจาก

การเกินดุลการค้า 1.6 พันล้านดอลลาร์ สรอ. (ต้ากว่าการเกินดุล 4.5 พันล้านดอลลาร์ สรอ. ในไตรมาสเดียวกัน

ของปีก่อน) ขณะที่ดุลบริการ รายได้ปฐมภูมิ และรายได้ทุติยภูมิ เกินดุลครั งแรกในรอบ 16 ไตรมาสที่ 1.2 พันล้าน

ดอลลาร์ สรอ. ปรับตัวดีขึ นจากการขาดดุล 1.4 พันล้านดอลลาร์ สรอ. ในไตรมาสก่อนหน้า และการขาดดุล 1.0

พันล้านดอลลาร์ สรอ. ในไตรมาสเดียวกันของปีก่อน

เงินสารองระหว่างประเทศ ณ สิ นเดือนมีนาคม 2567 อยู่ที่ 223,363.3 ล้านดอลลาร์ สรอ. ลดลงจาก

224,481.8 ล้านดอลลาร์ สรอ. ณ สิ นเดือนมีนาคม 2566 เมื่อคิดในรูปเงินบาท เงินส้ารองระหว่างประเทศ

ณ สิ นเดือนมีนาคม 2567 อยู่ที่ 8,141.6 พันล้านบาท สูงกว่า 7,653.7 พันล้านบาท ณ สิ นเดือนมีนาคม 2566

สถาบันการเงินเพิ่มความเข้มงวดในการให้สินเชื่อทั้งภาคธุรกิจและภาคครัวเรือน

ภาระหนี สินครัวเรือนและภาคธุรกิจที่เพิ่มขึ นอย่างมีนัยส้าคัญในช่วงโควิด-19 ประกอบกับภาระดอกเบี ยที่ปรับเพิ่มขึ น ท้าให้ครัวเรือนและ

ภาคธุรกิจบางกลุ่มเริ่มประสบปัญหาด้านสภาพคล่องเนื่องจากรายได้ยังไม่สามารถกลับมาฟื้นตัวได้ดีนัก จนส่งผลกระทบต่อคุณภาพสินเชื่อ

ประกอบกับเศรษฐกิจไทยที่มีแนวโน้มจะขยายตัวได้ต้ากว่าการคาดการณ์ ภายใต้เงื่อนไขดังกล่าวส่งผลให้สถาบันการเงินของไทยเพิ่มความ

เข้มงวดในการให้สินเชื่อทุกประเภท อ้างอิงข้อมูลจากรายงานผลการส้ารวจภาวะและแนวโน้มสินเชื่อเผยแพร่โดยธนาคารแห่งประเทศไทย 1

ระบุว่ามาตรฐานการให้สินเชื่อภาคธุรกิจโดยรวมในไตรมาสแรกของปี 2567 เข้มงวดขึ นทั งสินเชื่อธุรกิจและสินเชื่อครัวเรือน โดยสถาบัน

การเงินมีมุมมองต่อภาวะเศรษฐกิจและธุรกิจบางสาขาในทิศทางที่ชะลอลง ส่งผลให้มาตรฐานสินเชื่อธุรกิจขนาดใหญ่และธุรกิจขนาดกลางและ

ขนาดย่อม (SMEs) มีความเข้มงวดขึ น เช่นเดียวกับมาตรฐานการให้สินเชื่อภาคครัวเรือนที่เข้มงวดขึ นในทุกประเภท เนื่องจากสถาบันการเงินมี

ความกังวลต่อความเสี่ยงจากภาวะเศรษฐกิจ ความน่าเชื่อถือด้านเครดิตของผู้กู้ รวมถึงคุณภาพสินเชื่อในภาพรวมที่ปรับลดลง

การเพิ่มความเข้มงวดในการให้สินเชื่อของสถาบันการเงิน สอดคล้องกับสัดส่วนสินเชื่อต่อเงินฝากของธนาคารพาณิชย์ที่ปรับลดลงต่อเนื่อง

โดยในไตรมาสที่ 1 ของปี 2567 อัตราส่วนสินเชื่อต่อเงินฝาก (ไม่รวม Interbank) ของธนาคารพาณิชย์อยู่ที่ร้อยละ 90.09 ลดลงจากร้อยละ

90.61 ในไตรมาสแรกของปีที่แล้ว และลดลงจากร้อยละ 96.88 ในไตรมาสแรกของปี 2562 ซึ่งเป็นช่วงก่อนโควิด -19 และเมื่อพิจารณาเงิน

ลงทุนของธนาคารพาณิชย์ที่ลงทุนในพันธบัตรรัฐบาลและพันธบัตรของธนาคารแห่งประเทศไทยพบว่ามีมูลค่าเพิ่มขึ นอย่างต่อเนื่อง โดยเฉพาะ

ในช่วงไตรมาสแรกของปี 2567 สะท้อนให้เห็นว่าธนาคารพาณิชย์เริ่มมีความกังวลเกี่ยวกับการลงทุนในลูกหนี สินเชื่อมากขึ นเนื่องจากคุณภาพ

สินเชื่อที่ต้าลง จึงจ้าเป็นต้องติดตามและประเมินสถานการณ์ในระยะต่อไปภายใต้แนวโน้มเศรษฐกิจที่เริ่มฟื้นตัวดีขึ นในช่วงครึ่งหลังของปี

คุณภาพสินเชื่อภาคครัวเรือนปรับลดลง

ข้อมูลสินเชื่อที่เผยแพร่โดยธนาคารแห่งประเทศไทย (ธปท.) ชี ให้เห็นว่า สินเชื่อเพื่อการอุปโภคบริโภคส่วนบุคคลในไตรมาสแรกของปี 2567

มูลค่ารวม 5.43 ล้านล้านบาท ขยายตัวร้อยละ 1.1 ชะลอลงจากร้อยละ 2.3 ในไตรมาสก่อนหน้าและร้อยละ 2.1 ในช่วงเดียวกันของปีก่อน ตามการ

ลดลงและการชะลอลงของสินเชอื่ ประเภทตา ง ๆ ประกอบดว้ ย (1) สินเชอื่ เพอื่ การซอื้ หรือเชา ซื้อรถยนต์และรถจักรยานยนต์ มลู คา คงค้างอยู่ที่

1.16 ล้านล้านบาท ลดลงร้อยละ 3.0 เทียบกับการลดลงร้อยละ 0.4 ในไตรมาสก่อนหน้า (2) สินเชื่อส่วนบุคคลอื่น ๆ (Personal Loan) มูลค่า

คงค้าง 1.33 ล้านล้านบาท ขยายตัวร้อยละ 5.5 ชะลอลงจากร้อยละ 7.1 ในไตรมาสก่อนหน้า (3) สินเชื่อเพื่อที่อยู่อาศัย มูลค่าคงค้าง 2.68 ล้าน

ล้านบาท ขยายตัวร้อยละ 1.1 ชะลอลงจากร้อยละ 1.4 ในไตรมาสก่อนหน้า และ (4) สินเชื่อบัตรเครดิต มูลค่าคงค้าง 0.21 ล้านล้านบาท ขยายตัว

ร้อยละ 0.2 เทียบกับการขยายตัวร้อยละ 2.6 ในไตรมาสก่อนหน้า โดยการชะลอตัวของสินเชื่อส่วนหนึ่งเป็นผลจากสถาบันการเงินที่เพิ่มความ

เข้มงวดในการให้สินเชื่อมากขึ้น เนื่องจากภาระหนี ที่อยู่ในระดับสูงและคุณภาพสินเชื่อที่มีแนวโน้มปรับลดลง เห็นได้จากข้อมูลในไตรมาสที่ 4

ของปี 2566 ที่สินเชื่อเพื่อการอุปโภคบริโภคส่วนบุคคลที่ด้อยคุณภาพ (Non-Performing Loan: NPL)1 ต่อสินเชื่อรวม อยู่ที่ร้อยละ 2.88 เพิ่มขึ น

จากร้อยละ 2.79 ในไตรมาสก่อนหน้า และร้อยละ 2.62 ในช่วงเดียวกันของปีก่อน สะท้อนให้เห็นถึงคุณภาพสินเชื่อของภาคครัวเรือนที่ปรับลดลง

ต่อเนื่อง และเป็นการปรับลดลงในสินเชื่อทุกวัตถุประสงค์ โดยเฉพาะสินเชื่อบัตรเครดิตและสินเชื่อรถยนต์ที่มีสัดส่วนสินเชื่อด้อยคุณภาพหรือหนี เสีย

สูงขึ นเร็วกว่าสินเชื่อสาขาอื่น ๆ โดยสัดส่วนของสินเชื่อด้อยคุณภาพต่อสินเชื่อรวมของบัตรเครดิต อยู่ที่ร้อยละ 3.57 เพิ่มขึ นจากร้อยละ 3.34 ใน

ไตรมาสที่แล้ว และร้อยละ 3.12 ในไตรมาสเดียวกันของปีก่อน ขณะที่สัดส่วนสินเชื่อด้อยคุณภาพต่อสินเชื่อรวมของสินเชื่อรถยนต์อยู่ที่ร้อยละ 2.13

เพิ่มขึ นจากร้อยละ 2.10 ในไตรมาสที่แล้ว และร้อยละ 1.88 ในไตรมาสเดียวกันของปีก่อน

นอกจากนี เมื่อพิจารณาแนวโน้มของคุณภาพสินเชื่อภาคครัวเรือนจากสัดส่วนสินเชื่อจัดชั นกล่าวถึงเป็นพิเศษ (Special Mention Loans:

SM)2 ต่อสินเชื่อรวมของธนาคารพาณิชย์ ในไตรมาสที่ 4 ของปี 2566 พบว่า มีสัดส่วนอยู่ที่ร้อยละ 6.86 เพิ่มขึ นจากร้อยละ 6.66 ในไตรมาสก่อน

หน้า และร้อยละ 6.58 ในไตรมาสเดียวกันของปีก่อน โดยเป็นการเพิ่มขึ นในสินเชื่อที่อยู่อาศัยมีสัดส่วน SM ที่ร้อยละ 4.96 เพิ่มขึ นจากร้อยละ 4.45

ในไตรมาสที่แล้ว และเพิ่มขึ นจากร้อยละ 1.88 ณ สิ นปี 2562 ที่เป็นช่วงก่อนโควิด-19 เช่นเดียวกันกับสินเชื่อรถยนต์ที่มีสัดส่วน SM สูงถึงร้อยละ

14.29 เทียบกับร้อยละ 14.55 ในไตรมาสที่แล้ว และร้อยละ 7.43 ณ สิ นปี 2562 สะท้อนให้เห็นว่าคุณภาพของสินเชื่อในทั ง 2 สาขาดังกล่าว

จะยังคงมีแนวโน้มลดลงต่อเนื่องในระยะต่อไป

อัตราเงินเ อ ในไตรมาสแรกของปี 2567 อัตราเงินเฟ้อทั่วไปลดลงร้อยละ 0.8 เป็นการลดลงต่อเนื่องเป็น

ไตรมาสที่ 2 จากการลดลงร้อยละ 0.5 ในไตรมาสก่อนหน้า เนื่องจากดัชนีราคาหมวดอาหารและเครื่องดื่ม

ไม่มีแอลกอฮอล์ลดลงร้อยละ 0.9 ตามการลดลงของดัชนีราคาเนื อสัตว์ ผักและผลไม้ที่ร้อยละ 14.1 และร้อยละ

3.3 เป็นส้าคัญ เนื่องจากปริมาณผลผลิตเข้าสู่ตลาดเพิ่มขึ น ส่วนดัชนีราคาหมวดที่มิใช่อาหารและเครื่องดื่ม

ลดลงร้อยละ 0.7 ตามการลดลงของดัชนีราคากลุ่มพลังงานที่ร้อยละ 3.7 เนื่องจากมาตรการช่วยเหลือค่าครองชีพ

ด้านพลังงานของรัฐบาล (มาตรการลดภาษีสรรพสามิตน้ามันดีเซลและกลุ่มเบนซิน และลดค่าไฟฟ้า) ขณะที่

อัตราเงินเฟ้อพื นฐานเพิ่มขึ นร้อยละ 0.4 ลดลงจากร้อยละ 0.6 ในไตรมาสก่อนหน้า ส่วนหนึ่งเป็นผลจากฐานที่สูง

ในไตรมาสเดียวกันปีก่อน และการลดลงของดัชนีราคาหมวดเครื่องนุ่งห่มและรองเท้า และสิ่งที่เกี่ยวกับ

ท้าความสะอาด ขณะที่ดัชนีราคาหมวดการตรวจรักษาและบริการส่วนบุคคล หมวดยาสูบและเครื่องดื่ม

มีแอลกอฮอล์ เครื่องประกอบอาหาร อาหารส้าเร็จรูปยังเพิ่มขึ น

ในเดือนเมษายน 2567 อัตราเงินเฟ้อทั่วไปเพิ่มขึ นร้อยละ 0.2 โดยเป็นการเพิ่มขึ นครั งแรกในรอบ 7 เดือน

เนื่องจากการเพิ่มขึ นของราคาน้ามันเชื อเพลิงตามสถานการณ์พลังงานในตลาดโลก และการสิ นสุดมาตรการ

ลดภาษสี รรพสามติ น้ามนั ดเ ซลและกลมุ่ เบนซนิ รวมถงึ การเพมิ่ ขนึ ของราคาผกั และผลไมส้ ด เนอื่ งจากสภาพอากาศรอ้ น

และภาวะขาดแคลนน้าในบางพื นที่ส่งผลให้ปริมาณผลผลิตลดลง ส่วนอัตราเงินเฟ้อพื นฐานอยู่ที่ร้อยละ 0.4

-10.0

-5.0

0.0

5.0

10.0

15.0

Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1

%YoY

ดัชนีราคาผู้บริโภคทั่วไปในไตรมาสแรกของปี

ลดลงร้อยละ

ดัชนีราคาผู้บริโภคทั่วไป ดัชนีราคาผู้บริโภคพื นฐาน

ดัชนีราคาผู้ผลิต

ที่มา กระทรวงพาณิชย์

ดัชนีราคาผู้ผลิต ในไตรมาสแรกของปี 2567 ดัชนีราคาผู้ผลิตเพิ่มขึ นเป็นครั งแรกในรอบ 4 ไตรมาสร้อยละ 1.2

เทียบกับการลดลงร้อยละ 1.8 ในไตรมาสก่อน ตามการเพิ่มขึ นของดัชนีราคาหมวดผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม

ร้อยละ 1.8 สอดคล้องกับดัชนีราคาผลิตภัณฑ์ยางและพลาสติก ผลิตภัณฑ์อาหาร เครื่องจักรและเครื่องมือ

และผลิตภัณฑ์ที่ได้จากการกลั่นปิโตรเลียมที่เพิ่มขึ นร้อยละ 6.0 ร้อยละ 3.1 ร้อยละ 3.0 และร้อยละ 3.0

ตามล้าดับ เป็นส้าคัญ และหมวดผลิตภัณฑ์เกษตรและการประมงเพิ่มขึ นร้อยละ 5.3 ขณะที่หมวดผลิตภัณฑ์

จากเหมือง ลดลงต่อเนื่องเป็นไตรมาสที่ 4 ร้อยละ 21.0 ตามการลดลงของดัชนีราคากลุ่มปิโตรเลียมดิบและ

ก๊าซธรรมชาติร้อยละ 24.6

ในเดือนเมษายน 2567 ดัชนีราคาผู้ผลิตเพิ่มขึ นร้อยละ 3.4 โดยดัชนีราคาหมวดผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมและ

หมวดผลิตภัณฑ์เกษตรและการประมงเร่งตัวขึ น ขณะที่ดัชนีราคาหมวดผลิตภัณฑ์จากเหมืองลดลง

2. ความเคลื่อนไหวราคาน้ามันไตรมาสแรกของปี 2567

ราคาน้ามันดิบเพิ่มขึ้นจากช่วงเดียวกันของปีก่อน แต่ลดลงจากไตรมาสก่อนหน้า ในไตรมาสแรกของ

ปี 2567 ราคาน้ามันดิบในตลาดโลกเฉลี่ย 4 ตลาด (ดูไบ เบรนท์ โอมาน และเวสต์เท็กซัส) อยู่ที่ 80.3 ดอลลาร์

สรอ. ต่อบาร์เรล ลดลงร้อยละ 2.6 เมื่อเทียบกับราคาเฉลี่ย 82.4 ดอลลาร์ สรอ. ต่อบาร์เรล ในไตรมาสก่อน

หน้า ในขณะที่เพิ่มขึ นร้อยละ 0.7 เมื่อเทียบกับราคาเฉลี่ย 79.7 ดอลลาร์ สรอ. ต่อบาร์เรล ในไตรมาสเดียวกันของ

ปีก่อน โดยมีสาเหตุมาจาก (1) ผลกระทบจากความขัดแย้งทางภูมิรัฐศาสตร์ โดยเฉพาะความขัดแย้งระหว่าง

อิสราเอลและกลุ่มฮามาสในฉนวนกาซา รวมถึงความยืดเยื อของการโจมตีเรือสินค้าในทะเลแดง และความ

ขัดแย้งระหว่างรัสเซียและยูเครน (2) การขยายเวลาปรับลดก้าลังการผลิตของกลุ่มโอเปคพลัสไปจนถึงไตรมาส

ที่สองของปี 2567 และ (3) ปริมาณน้ามันดิบส้ารองทางการค้าของสหรัฐฯ ในไตรมาสแรกของปี 2567 อยู่ที่

439 ล้านบาร์เรล ลดลงร้อยละ 5.9 จาก 466 ล้านบาร์เรลในไตรมาสแรกของปี 2566

ในเดือนเมษายน 2567 ราคาน้ามันดิบอยู่ในระดับสูงสุดในรอบ 6 เดือน เนื่องจากความขัดแย้งที่รุนแรงขึ น

ระหว่างอิสราเอลและอิหร่าน

3. เศรษฐกิจโลกไตรมาสแรกของปี 2567

เศรษฐกิจโลกไตรมาสแรกของปี 2567 ขยายตัวต่อเนื่องจากไตรมาสก่อนหน้า ตามแรงส่งของการฟื้นตัวทางเศรษฐกิจของหลายประเทศ โดยเฉพาะ

ในประเทศเศรษฐกิจหลักทั้งสหรัฐฯ และยุโรปซึ่งได้รับแรงสนับสนุนหลักจากการขยายตัวของอุปสงค์ภายในประเทศ การฟื้นตัวของการค้าระหว่าง

ประเทศ และการขยายตัวของภาคบริการ สอดคล้องกับดัชนีผู้จัดการฝ่ายจัดซื้อ (Purchasing Manager?s Index: PMI) ที่อยู่ในระดับสูงกว่า 50 และ

สูงสุดนับจากครึ่งหลังของปี 2566 ซึ่งกิจกรรมทางเศรษฐกิจได้รับผลกระทบจากสถานการณ์ความขัดแย้งในตะวันออกกลาง ขณะเดียวกันเศรษฐกิจจีน

ขยายตัวดีขึ้นตามการฟื้นตัวของการผลิตภาคอุตสาหกรรมและภาคการส่งออก ขณะที่อุปสงค์ภายในประเทศยังชะลอตัวท่ามกลางปัญหาหนี้สิน

ในภาคอสังหาริมทรัพย์และแรงกดดันด้านเงินฝืด การฟื้นตัวของประเทศเศรษฐกิจหลักเมื่อรวมกับการปรับตัวเข้าสู่ภาวะปกติมากขึ้นของห่วงโซ่

อุปทานโลกทาให้ปริมาณการค้าโลกปรับตัวดีขึ้น และส่งผลให้การผลิตและการส่งออกของหลายประเทศในกลุ่มเศรษฐกิจอุตสาหกรรมใหม่ (NIEs)

และกลุ่มประเทศอาเซียนฟื้นตัวและเข้าสู่การขยายตัวสูงสุดในรอบหลายไตรมาส8 อย่างไรก็ตาม การฟื้นตัวต่อเนื่องของเศรษฐกิจและความตึงตัวของ

ตลาดแรงงานทาให้อัตราเงินเฟ้อพื้นฐานของประเทศสาคัญ ๆ ยังคงทรงตัวอยู่ในระดับสูงกว่าเป้าหมายนโยบายการเงิน และส่งผลให้ธนาคารกลาง

สาคัญๆ ยังคงอัตราดอกเบี้ยนโยบายไว้ในระดับสูงอย่างต่อเนื่อง

เศรษฐกิจสหรัฐฯ ขยายตัวร้อยละ 3.0 (Advance Estimate) ต่อเนื่องจากร้อยละ 3.1 ในไตรมาสก่อนหน้า โดยเป็นผลมาจากการขยายตัวอย่าง

ต่อเนื่องของการอุปโภคบริโภคภาคเอกชน สอดคล้องกับความเชื่อมั่นของผู้บริโภคที่สูงขึ้น และตลาดแรงงานที่แข็งแกร่ง สะท้อนจากอัตรา

การว่างงานที่อยู่ระดับต่าที่ร้อยละ 3.8 ต่ากว่าร้อยละ 4.0 ติดต่อกันเป็น 9 ไตรมาส และการจ้างงานนอกภาคเกษตรที่สูงขึ้นเป็น 161 ล้านตาแหน่ง

ประกอบกับค่าจ้างเฉลี่ยรายชั่วโมงที่ 34.58 ดอลลาร์ สรอ. ซึ่งเป็นระดับสูงสุดในประวัติศาสตร์ นอกจากนี้ การลงทุนในภาคที่อยู่อาศัยขยายตัวเร่งขึ้น

เช่นเดียวกับภาคการผลิตที่ปรับตัวดีขึ้น โดยดัชนีผู้จัดการฝ่ายจัดซื้อภาคอุตสาหกรรมเพิ่มขึ้นมาอยู่ที่เฉลี่ย 51.6 สูงกว่าระดับ 50 เป็นครั้งแรกในรอบ

6 ไตรมาส และดัชนีผู้จัดการฝ่ายจัดซื้อภาคบริการอยู่ที่ 52.2 เพิ่มขึ้นจาก 50.8 ในไตรมาสก่อน และอยู่สูงกว่าระดับ 50 ต่อเนื่องเป็นไตรมาสที่ห้า

ในขณะที่แรงขับเคลื่อนจากภาคการส่งออกลดลงตามการลดลงของการส่งออกสินค้าโดยเฉพาะก๊าซธรรมชาติเป็นสาคัญ สาหรับอัตราเงินเฟ้อทั่วไป

(PCE inflation) อยู่ที่ร้อยละ 2.6 ลดลงจากร้อยละ 2.8 ในไตรมาสก่อนหน้า ตามการลดลงของราคาพลังงานและราคาสินค้าคงทน แต่ยังคงสูงกว่า

เป้าหมายนโยบายการเงินที่ร้อยละ 2.0 ส่งผลให้ธนาคารกลางสหรัฐฯ ยังคงอัตราดอกเบี้ยนโยบายอย่างต่อเนื่อง9

การฟื้นตัวของกิจกรรมทางเศรษฐกิจสะท้อนจากดัชนีผู้จัดการฝ่ายจัดซื้อภาคการผลิตและภาคบริการที่ปรับเพิ่มขึ้นมาอยู่ที่เฉลี่ย 46.4 และ 50.0

จากระดับ 43.9 และ 48.4 ในไตรมาสก่อนหน้า ตามลาดับ เช่นเดียวกับดัชนีความเชื่อมั่นผู้บริโภคที่ฟื้นตัวมาอยู่ในระดับสูงสุด

การลดลงร้อยละ 0.2 ในไตรมาสก่อนหน้า สาหรับอัตราเงินเฟ้อทั่วไปอยู่ที่ร้อยละ 2.6 ลดลงจากร้อยละ 2.7 ในไตรมาสก่อน แต่ยังทรงตัวอยู่ในระดับสูง

กว่าเป้าหมายนโยบายการเงิน โดยเฉพาะอย่างยิ่งอัตราเงินเฟ้อพื้นฐานซึ่งอยู่ที่ร้อยละ 3.1 โดยส่วนหนึ่งเป็นผลจากการเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่องของ

อัตราคา จา ง สง่ ผลให้ธนาคารกลางยโ รป (European Central Bank: ECB) ยงั คงอัตราดอกเบยี้ นโยบายไวใ นระดบั สงู 11

เศรษฐกิจญี่ปุ่น ลดลงร้อยละ 0.2 จากการขยายตัวร้อยละ 1.2 ในไตรมาสก่อนหน้า ตามการลดลงของภาคการผลิตโดยเฉพาะในหมวดยานยนต์

ซึ่งได้รับผลกระทบจากการผลิตเครื่องยนต์ดีเซลไม่ได้มาตรฐานของบริษัทผู้ผลิตรถยนต์รายใหญ่ของญี่ปุ่น สอดคล้องกับปริมาณการขายรถยนต์ใหม่

ที่ลดลงร้อยละ 13.6 เมื่อเทียบกับไตรมาสแรกของปี 2566 และสอดคล้องกับดัชนีผู้จัดการฝ่ายจัดซื้อภาคการผลิตที่อยู่ที่ระดับ 47.8 ต่ากว่าระดับ

50.0 ต่อเนื่องเป็นไตรมาสที่หก เช่นเดียวกับมูลค่าการส่งออกในไตรมาสแรกลดลงร้อยละ 3.0 เทียบกับการลดลงร้อยละ 0.7 ในไตรมาสก่อนหน้า

นับเป็นการลดลงอย่างต่อเนื่องเป็นไตรมาสที่แปด นอกจากนี้ การอุปโภคบริโภคและการลงทุนภาคเอกชนยังได้รับผลกระทบจากเหตุการณ์

แผ่นดินไหวในช่วงเดือนมกราคม 2567 อย่างไรก็ตาม เศรษฐกิจญี่ปุ่นยังคงได้รับแรงสนับสนุนจากการใช้จ่ายภาครัฐที่เพิ่มขึ้นตามงบประมาณ

เพิ่มเติมปีงบประมาณ 2566 ขณะที่อัตราเงินเฟ้ออยู่ที่เฉลี่ยร้อยละ 2.6 สูงกว่าเป้าหมายนโยบายการเงินอย่างต่อเนื่อง ส่งผลให้

คณะกรรมการนโยบายการเงินของธนาคารกลางญี่ปุ่นมีมติยุติการดาเนินนโยบายอัตราดอกเบี้ยติดลบ โดยปรับขึ้นอัตราดอกเบี้ยข้ามคืนแบบไม่มี

สินทรัพย์ค้าประกันหรืออัตราดอกเบี้ยระยะสั้น (Tokyo Overnight Average Rate: TONAR) ขึ้นมาอยู่ที่ร้อยละ 0.0 - 0.1 จากเดิมที่ร้อยละ 0.0

ซึ่งนับเป็นการปรับขึ้นอัตราดอกเบี้ยนโยบายครั้งแรกในรอบ 17 ปีนับตั้งแต่เดือนกุมภาพันธ์ 2550 นอกจากนี้ยังได้ยกเลิกมาตรการรักษา

ผลตอบแทนพันธบัตร (Yield Curve Control) อย่างไรก็ตาม อัตราแลกเปลี่ยนของญี่ปุ่นยังคงอ่อนค่าลงอย่างต่อเนื่องโดยในไตรมาสแรกอยู่ที่

เฉลี่ย 148.5 เยนต่อดอลลาร์ สรอ. อ่อนค่าลงร้อยละ 5.3 เทียบกับระดับ 141.0 เยนต่อดอลลาร์ สรอ. ณ สิ้นปี 2566

3. เศรษฐกิจโลกไตรมาสแรกของปี 2567

8 เศรษฐกิจเกาหลีใต้ ไต้หวัน สิงคโปร์ อินโดนีเซีย และมาเลเซีย ขยายตัวสูงสุดในรอบ 9 ไตรมาส 11 ไตรมาส 6 ไตรมาส 3 ไตรมาส และ 4 ไตรมาส ตามลาดับ

9 คณะกรรมการนโยบายการเงินสหรัฐฯ (FOMC) ในการประชุมเมื่อวันที่ 30 - 31 มกราคม 2567 และวันที่ 19 - 20 มีนาคม 2567 มีมติเป็นเอกฉันท์ให้คงอัตราดอกเบี้ยอยู่ที่

ช่วงร้อยละ 5.25 - 5.50 ซึ่งเป็นการคงอัตราดอกเบี้ยนโยบายติดต่อกัน นับตั้งแต่การประชุมในเดือนมิถุนายน 2566 และเป็นระดับสูงที่สุดในรอบ 22 ปี โดย FOMC ยังคง

ตั้งเป้าหมายการดาเนินนโยบายการเงินเพื่อให้อัตราเงินเฟ้อกลับสู่ระดับเป้าหมายในระยะยาวที่ร้อยละ 2.0 รวมถึงการจ้างงานอยู่ในระดับสูงสุด

10 เศรษฐกิจประเทศสเปน ฝรั่งเศส ฮังการี และสาธารณรัฐเช็ก ขยายตัวร้อยละ 2.4 ร้อยละ 1.1 ร้อยละ 1.7 และร้อยละ 0.4 เร่งขึ้นจากร้อยละ 2.1 ร้อยละ 0.8 ร้อยละ 0.5

และร้อยละ 0.2 ตามลาดับ

11 คณะกรรมการนโยบายการเงินของธนาคารกลางยุโรป (ECB) ในการประชุมเมื่อวันที่ 25 มกราคม และ 7 มีนาคม 2567 มีมติคงอัตราดอกเบี้ยนโยบายทั้งสองครั้ง ส่งผลให้อัตรา

4.50 รอ้ ยละ 4.75 และ รอ้ ยละ 4.00 ตามลาดบั ขณะเดยี วกัน เพอื่ ลดผลกระทบจากอัตราดอกเบยี้ ทที่ รงตวั อยใ นระดบั สงู ECB ยังคงดาเนนิ การเสรมิ สภาพคลอ่ งอย่างตอ่ เนอื่ งภายใต้

โครงการ Pandemic Emergency Purchase Programme (PEPP) ไปจนถึงสิ้นปี 2567 ขณะเดียวกัน ECB ยังคงใช้กลไกเพื่อลดผลกระทบจากการขึ้นอัตราดอกเบี้ย

(Transmission Protection Instrument: TPI) โดยการเขา ซอื้ สนิ ทรพั ย์โดยเฉพาะพันธบตั รรฐั บาลของประเทศสมาชกิ ทเ ผชญิ ความผนั ผวนในตลาดการเงินเพอื่ ลดความเสยี่ งทเ กิดขนึ้

ต่อเศรษฐกิจของประเทศสมาชิก

เศรษฐกิจจีน ขยายตัวร้อยละ 5.3 ต่อเนื่องจากร้อยละ 5.2 ในไตรมาสก่อนหน้า และเป็นอัตราการขยายตัวสูงสุดในรอบ 3 ไตรมาส โดยได้รับ

แรงสนับสนุนจากการฟื้นตัวอย่างต่อเนื่องของการผลิตภาคอุตสาหกรรมและภาคการส่งออกเป็นสาคัญ โดยมูลค่าการส่งออกสินค้ากลับมาขยายตัว

ร้อยละ 1.5 นับเป็นการกลับมาขยายตัวครั้งแรกในรอบ 6 ไตรมาส สอดคล้องกับดัชนีผู้จัดการฝ่ายจัดซื้อภาคอุตสาหกรรมอยู่ที่ระดับ 50.9 เพิ่มขึ้นสูงสุด

ในรอบ 5 ไตรมาส อย่างไรก็ตาม อุปสงค์ภายในประเทศทั้งการบริโภคและการลงทุนภาคเอกชนยังชะลอตัวท่ามกลางแรงกดดันด้านเงินฝืดและปัญหา

หนี้สินในภาคอสังหาริมทรัพย์ โดยยอดการค้าปลีกขยายตัวร้อยละ 3.1 ชะลอตัวจากร้อยละ 8.3 ในไตรมาสก่อนหน้า และเป็นอัตราการขยายตัว

ต่าสุดในรอบ 5 ไตรมาส สอดคล้องกับความเชื่อมั่นผู้บริโภคที่ลดลงต่ากว่าระดับ 100 เป็นไตรมาสที่ 8 ติดต่อกัน นอกจากนี้ ตลาดแรงงานยังไม่ฟื้นตัว

เต็มที่ สะท้อนจากอัตราการว่างงานอยู่ที่ร้อยละ 5.2 เพิ่มขึ้นจากร้อยละ 5.0 ในไตรมาสก่อน ขณะเดียวกัน การลงทุนภายในประเทศยังคงลดลง

ตามการลดลงของการลงทุนในอสังหาริมทรัพย์ที่ลดลงต่อเนื่อง สาหรับอัตราเงินเฟ้อทั่วไปเฉลี่ยอยู่ที่ร้อยละ 0.0 เทียบกับร้อยละ (-0.3) ในไตรมาส

ก่อนหน้า ภายใต้การชะลอตัวของอุปสงค์ภายในประเทศและแรงกดดันด้านเงินฝืดส่งผลให้ธนาคารกลางจีน (People?s Bank of China: PBOC)

ยังคงดาเนินนโยบายการเงินแบบผ่อนคลายและเสริมสภาพคล่องเข้าสู่ระบบเศรษฐกิจอย่างต่อเนื่อง12 ควบคู่ไปกับการเพิ่มโควตาการออกพันธบัตร

รัฐบาลท้องถิ่นเพื่อสนับสนุนการลงทุนในโครงสร้างพื้นฐาน13

เศรษฐกิจกลุ่มประเทศอุตสาหกรรมใหม่ (NIEs) ส่วนใหญ่ปรับตัวดีขึ้นจากไตรมาสก่อนหน้า โดยมีปัจจัยสนับสนุนมาจากการขยายตัวดีอย่างต่อเนื่อง

ของภาคการส่งออก สอดคล้องกับการฟื้นตัวของการค้าระหว่างประเทศและทิศทางขาขึ้นของวัฏจักรสินค้าอิเล็กทรอนิกส์และเซมิคอนดักเตอร์

เช่นเดียวกับการปรับตัวดีขึ้นของการผลิตภาคอุตสาหกรรมและการฟื้นตัวของภาคการท่องเที่ยว โดยเศรษฐกิจเกาหลีใต้ เศรษฐกิจไต้หวัน และ

เศรษฐกิจสิงคโปร์ ขยายตัวร้อยละ 3.4 ร้อยละ 6.5 และร้อยละ 2.7 เร่งขึ้นจากร้อยละ 2.2 ร้อยละ 4.9 และร้อยละ 2.2 ในไตรมาสก่อน และนับเป็น

อัตราการขยายตัวสูงสุดในรอบ 9 ไตรมาส ในรอบ 11 ไตรมาส และในรอบ 6 ไตรมาส ตามลาดับ ขณะที่เศรษฐกิจฮ่องกงขยายตัวร้อยละ 2.7 ชะลอตัว

จากร้อยละ 4.3 ในไตรมาสก่อนหน้า ต่าสุดในรอบ 3 ไตรมาส ตามการชะลอตัวอุปสงค์ภายในประเทศ สาหรับอัตราเงินเฟ้อของแต่ละประเทศลดลง

อย่างต่อเนื่องตามการลดลงของราคาอาหารและพลังงาน แต่ยังคงอยู่ในระดับสูงกว่าเป้าหมายของนโยบายการเงิน14 ส่งผลให้ธนาคารกลางของ

แต่ละประเทศส่วนใหญ่ยังคงอัตราดอกเบี้ยนโยบาย ยกเว้นธนาคารกลางไต้หวันที่ปรับขึ้นอัตราดอกเบี้ยนโยบายจากร้อยละ 1.875 เป็นร้อยละ 2.0

เพื่อบรรเทาแรงกดดันด้านเงินเฟ้อที่อยู่ในระดับสูงที่ร้อยละ 3.1 ในเดือนกุมภาพันธ์ 2567 ซึ่งสูงสุดในรอบ 19 เดือน

เศรษฐกิจประเทศกลุ่มอาเซียน ส่วนใหญ่ขยายตัวต่อเนื่องตามการอุปโภคบริโภคภาคเอกชนและการฟื้นตัวของการส่งออกสินค้า โดยเศรษฐกิจ

อินโดนีเซีย มาเลเซีย และฟิลิปปินส์ขยายตัวร้อยละ 5.1 ร้อยละ 4.2 และร้อยละ 5.7 เร่งขึ้นจากร้อยละ 5.0 ร้อยละ 2.9 และร้อยละ 5.5 ในไตรมาส

ก่อนหน้า ตามลาดับ ส่วนเศรษฐกิจเวียดนามขยายตัวร้อยละ 5.7 เทียบกับร้อยละ 6.7 ในไตรมาสก่อนหน้า ขณะที่แรงกดดันด้านเงินเฟ้อ

ของหลายประเทศส่วนใหญ่เริ่มผ่อนคลายลงและเริ่มกลับเข้าสู่ระดับเป้าหมายนโยบายการเงิน15 ส่งผลให้ธนาคารกลางของแต่ละประเทศส่วนใหญ่

มีมติคงอัตราดอกเบี้ยนโยบาย

4. แนวโน้มเศรษฐกิจโลกในปี 2567

เศรษฐกิจโลกในปี 2567 มีแนวโน้มขยายตัวอย่างต่อเนื่องจากปีก่อนหน้า โดยมีแรงสนับสนุนหลักจากการฟื้นตัวของภาคการผลิตและการค้า

ระหว่างประเทศ ประกอบกับการขยายตัวต่อเนื่องของอุปสงค์ภายในประเทศ ซึ่งสะท้อนความสามารถในการฟื้นตัวของเศรษฐกิจ (Resilient)

ภายหลังจากได้รับผลกระทบจากปัจจัยความขัดแย้งเชิงภูมิรัฐศาสตร์และการดาเนินนโยบายการเงินแบบเข้มงวดเพื่อลดแรงกดดันเงินเฟ้อ

โดยเฉพาะอย่างยิ่งเศรษฐกิจสหรัฐฯ เศรษฐกิจกลุ่มประเทศอุตสาหกรรมใหม่ (NIEs) และกลุ่มประเทศอาเซียน ขณะที่เศรษฐกิจญี่ปุ่นมีแนวโน้ม

ชะลอตัวตามการลดลงของแรงขับเคลื่อนจากภาคการผลิตและการส่งออกสินค้า ขณะที่การบริโภคภาคเอกชนมีแนวโน้มเผชิญแรงกดดันจาก

การอ่อนค่าของอัตราแลกเปลี่ยน เช่นเดียวกับเศรษฐกิจจีนที่มีแนวโน้มชะลอตัวตามอุปสงค์ภายในประเทศเนื่องจากปัญหาสภาพคล่อง

ในภาคอสังหาริมทรัพย์และความเชื่อมั่นผู้บริโภคที่อยู่ในระดับต่า ขณะที่การค้าโลกยังมีข้อจากัดในการฟื้นตัวจากมาตรการกีดกันทางการ ค้า

และการลงทุนมีการบังคับใช้เพิ่มมากขึ้น รวมถึงความขัดแย้งทางภูมิรัฐศาสตร์ที่ส่งผลต่อการขนส่งระหว่างประเทศ

สาหรับแรงกดดันด้านเงินเฟ้อในประเทศเศรษฐกิจหลักเริ่มผ่อนคลายลงแต่ยังคงทรงตัวอยู่ในระดับสูงกว่าเป้าหมายนโยบายการเงิน โดยเฉพาะอย่างยิ่ง

อัตราเงินเฟ้อพื้นฐาน (Sticky Core Inflation) ตามการเพิ่มขึ้นของราคาในหมวดบริการและอัตราค่าจ้างเป็นสาคัญ ส่งผลให้ธนาคารกลางของประเทศ

เศรษฐกิจหลักมีแนวโน้มที่จะคงอัตราดอกเบี้ยนโยบายไว้ในระดับสูงนานกว่าที่คาด (Higher for Longer) ภายใต้สถานการณ์ดังกล่าวทาให้

อัตราแลกเปลี่ยนของประเทศกาลังพัฒนาและตลาดเกิดใหม่เผชิญแรงกดดันจากการอ่อนค่าต่อเนื่อง ขณะที่คาดว่าธนาคารกลางของประเทศ

เศรษฐกิจหลักจะเริ่มปรับลดอัตราดอกเบี้ยนโยบายในช่วงครึ่งหลังของปีภายใต้เงื่อนไขอัตราเงินเฟ้อมีแนวโน้มลดลงและปรับเข้าสู่กรอบเป้าหมาย

นโยบายการเงินอย่างชัดเจน

ทั้งนี้ ในกรณีฐาน ภายใต้สมมติฐานที่คาดว่าสถานการณ์ความขัดแย้งเชิงภูมิรัฐศาสตร์ในหลายภูมิภาคยังอยู่ในวงจากัดและไม่ยกระดับ

ความรุนแรงส่งผลยืดเยื้อจนนาไปสู่ความชะงักงันของห่วงโซ่อุปทาน จนส่งผลกระทบต่อเศรษฐกิจ การค้าและระบบการเงินโลกอย่างมีนัยสาคัญ

คาดว่าเศรษฐกิจโลกและปริมาณการค้าโลกในปี 2567 มีแนวโน้มที่จะขยายตัวร้อยละ 2.9 และร้อยละ 2.8 เทียบกับการขยายตัวร้อยละ 3.1

และร้อยละ 0.3 ในปี 2566 โดยมีแนวโน้มการขยายตัวของเศรษฐกิจประเทศสาคัญ ๆ ดังนี้

เศรษฐกิจสหรัฐฯ คาดว่าจะขยายตัวร้อยละ 2.4 ในปี 2567 ต่อเนื่องจากร้อยละ 2.5 ในปี 2566 และเป็นการปรับเพิ่มขึ้นจากการประมาณการ

ครั้งก่อนที่ร้อยละ 1.8 ตามแรงส่งจากการฟื้นตัวในเกณฑ์ดีของเศรษฐกิจในช่วงไตรมาสแรก อย่างไรก็ตาม คาดว่าเศรษฐกิจในช่วงที่เหลือของปี

มีแนวโน้มที่จะเผชิญข้อจากัดจากแรงกดดันจากการดาเนินนโยบายการเงินแบบเข้มงวดของธนาคารกลางที่ได้ดาเนินการมาอย่างต่อเนื่อง ท่ามกลาง

ระดับหนี้ภาคครัวเรือนและธุรกิจที่เพิ่มสูงขึ้น สะท้อนจากเครื่องชี้ทางเศรษฐกิจล่าสุดในเดือนเมษายน 2567 โดยดัชนีผู้จัดการฝ่ายจัดซื้อภาคการผลิต

และภาคบริการปรับตัวลดลงมาอยู่ที่ 50 และ 51.3 จากระดับ 51.9 และ 51.7 ในเดือนก่อนหน้า เช่นเดียวกับการจ้างงานนอกภาคเกษตรที่เพิ่มขึ้น

ต่าที่สุดในรอบ 6 เดือน สอดคล้องกับยอดขอรับสวัสดิการว่างงาน (Jobless claims) เพิ่มสูงสุดในรอบ 8 เดือน นับตั้งแต่เดือนสิงหาคม 2566

นอกจากนี้ ดัชนีความเชื่อมั่นผู้บริโภค (Consumer Sentiment Index) ปรับตัวลดลงต่าที่สุดในรอบ 6 เดือน ขณะที่แรงส่งจากการใช้จ่ายภาครัฐ

มีแนวโน้มที่จะลดลงจากพระราชบัญญัติความรับผิดชอบทางการคลัง (The Fiscal Responsibility Act) ที่จากัดการเพิ่มการใช้จ่ายของรัฐบาล

ในช่วงที่เหลือของปี ประกอบกับการเผชิญกับข้อจากัดจากความไม่แน่นอนทางนโยบายในช่วงก่อนการเลือกตั้งประธานาธิบดีในเดือนพฤศจิกายน

2567 ซึ่งคาดว่าจะมีการดาเนินมาตรการกีดกันทางการค้าการลงทุนต่อจีนอย่างต่อเนื่อง16 สาหรับในส่วนของการดาเนินนโยบายการเงิน คาดว่า

อัตราเงินเฟ้อมีแนวโน้มที่จะเริ่มผ่อนคลายลง ส่งผลให้ธนาคารกลางสหรัฐฯ ในช่วงครึ่งหลังของปี 2567 มีแนวโน้มที่จะปรับลดอัตราดอกเบี้ย

นโยบายลง 2 ครั้ง ควบคู่ไปกับการปรับลดขนาดงบดุล17

เศรษฐกิจยูโรโซน คาดว่าจะขยายตัวร้อยละ 0.6 ในปี 2567 เท่ากับประมาณการครั้งก่อน ฟื้นตัวอย่างช้า ๆ จากร้อยละ 0.5 ในปี 2566 โดยคาดว่า

เศรษฐกิจที่มีสัดส่วนภาคบริการสูงมีแนวโน้มที่จะขยายตัวเร่งขึ้น อาทิ สเปนและฝรั่งเศส ขณะที่เศรษฐกิจที่พึ่งพาภาคการผลิตในสัดส่วนที่สูง อาทิ

เยอรมนีและเนเธอร์แลนด์ มีแนวโน้มขยายตัวในเกณฑ์ต่าต่อไป สอดคล้องกับดัชนีผู้จัดการฝ่ายจัดซื้อภาคอุตสาหกรรมในเดือนเมษายน 2567 อยู่ที่

ระดับ 45.7 ต่ากว่า 50.0 ติดต่อกันเป็นเดือนที่ 22 ส่วนดัชนีผู้จัดการฝ่ายจัดซื้อภาคบริการในเดือนเมษายน 2567 อยู่ที่ระดับ 53.3 สูงสุดในรอบ 11

เดือน นอกจากนี้ ภาคการคลังยังมีแรงสนับสนุนจากกรอบงบประมาณรายจ่ายระยะยาว (Multiannual Financial Frameworks: MFF) ในช่วงปี

2564 - 2570 วงเงิน 1.216 ล้านล้านยูโร รวมถึงงบประมาณเพิ่มเติมจากแผนฟื้นฟูเศรษฐกิจ Next Generation EU วงเงิน 8.069 แสนล้านยูโร18

สาหรับแรงกดดันด้านเงินเฟ้อเริ่มผ่อนคลายลงแต่ยังคงอยู่ในระดับสูง โดยอัตราเงินเฟ้อทั่วไปและอัตราเงินเฟ้อพื้นฐาน ในเดือนเมษายน 2567 อยู่ที่

ร้อยละ 2.4 และร้อยละ 2.7 ตามลาดับ ส่งผลให้ธนาคารกลางยุโรปมีแนวโน้มที่จะดาเนินนโยบายการเงินแบบเข้มงวดต่อไปจนกว่าอัตราเงินเฟ้อ

จะลดลงสู่เป้าหมายในระยะปานกลางที่ร้อยละ 2.0

16 รายละเอียดใน Box: มาตรการกีดกันทางการค้าและการลงทุนของสหรัฐฯ ต่อจีน

17 การประชุมคณะกรรมการนโยบายการเงินสหรัฐฯ (FOMC) เมื่อวันที่ 30 เมษายน - 1 พฤษภาคม 2567 มีมติเป็นเอกฉันท์ให้คงอัตราดอกเบี้ยอยู่ที่ช่วงร้อยละ

5.25-5.50 ซงึ่ เปน็ การคงอตั ราดอกเบยี้ 6 ครงั้ ตดิ ตอ่ กนั นับตงั้ แตก่ รประชมุ ในเดอื นมถิ นุ ยน 2566 แตยั่งเปน็ ระดบั สงู ทสี่ ดุ ในรอบ 22 ปี นอกจากนี้ FOMC ยังมมี ตใ ห้

ธนาคารกลางสหรัฐฯ ปรับการดาเนินมาตรการเพื่อลดขนาดงบดุล (Quantitative Tightening) โดยการลดการถือครองพันธบัตรรัฐบาลสหรัฐฯ (การไม่ลงทุนกลับ

สาหรับพันธบัตรที่ครบอายุไถ่ถอน) ในอัตรา 2.5 หมื่นล้านดอลลาร์ สรอ. ต่อเดือน ชะลอลงจากเดิมที่อัตรา 6 หมื่นล้านดอลลาร์ สรอ. ต่อเดือน โดยจะเริ่มดาเนินการ

ตั้งแต่เดือนมิถุนายน 2567 เป็นต้นไป ขณะที่ยังคงปรับลดหลักทรัพย์ที่มีหนี้จานองค้าประกันในอัตราเดิมที่ 3.5 หมื่นล้านดอลลาร์ สรอ. ต่อเดือน

18 ณ วันที่ 22 เมษายน 2567 มีการอนุมัติการเบิกจ่ายงบประมาณเพื่อการอุดหนุนและกู้ยืมไปแล้ว 1.48 แสนล้านยูโร และ 8.41 หมื่นล้านยูโร ตามลาดับ ซึ่งคิดเป็นการ

เบิกจ่ายรวมกันทั้งสิ้น 2.32 แสนล้านยูโร

เศรษฐกิจญี่ปุ่น คาดว่าจะขยายตัวร้อยละ 0.8 ในปี 2567 เท่ากับประมาณการครั้งก่อนและชะลอตัวลงจากร้อยละ 1.9 ในปี 2566 ตามการลดลงของ

แรงส่งของภาคการท่องเที่ยวที่ฟื้นตัวภายหลังการยกเลิกมาตรการควบคุมการแพร่ระบาดในช่วงต้นปี 2566 นอกจากนี้ การบริโภคภายในประเทศ

ยังคงมีข้อจากัดจากแรงกดดันจากอัตราเงินเฟ้อที่สูงขึ้นโดยส่วนหนึ่งเป็นผลมาจากการอ่อนค่าของอัตราแลกเปลี่ยนประกอบกับการเพิ่มขึ้นของต้นทุน

การนาเข้าพลังงาน รวมทั้งการดาเนินนโยบายการเงินที่เข้มงวดมากขึ้นของธนาคารกลางญี่ปุ่น 19 อย่างไรก็ดี เศรษฐกิจมีแนวโน้มที่จะได้รับ

แรงสนับสนุนจากการเพิ่มขึ้นของค่าตอบแทนแรงงานภายหลังจากการต่อรองค่าจ้างในช่วงการต่อรองค่าจ้างประจาฤดูใบไม้ผลิ (Spring Wage

Offensive) ที่ส่งผลให้ค่าจ้างปรับสูงขึ้นร้อยละ 5.2 เทียบกับร้อยละ 3.6 ในปีก่อนหน้า และเป็นการปรับเพิ่มขึ้นที่สูงที่สุดในรอบ 33 ปี รวมทั้ง

แรงสนับสนุนจากการใช้จ่ายของภาครัฐภายหลังรัฐบาลได้ประกาศมาตรการเศรษฐกิจรอบใหม่เพื่อป้องกันปัญหาเงินฝืดในเดือนพฤศจิกายน 2566

เศรษฐกิจจีน คาดว่าจะขยายตัวร้อยละ 4.5 ในปี 2567 ชะลอลงจากร้อยละ 5.2 ในปี 2566 ปรับเพิ่มขึ้นจากการประมาณการครั้งก่อนที่ร้อยละ 4.3

ตามแนวโน้มการฟื้นตัวของภาคการผลิตอุตสาหกรรมและการส่งออก สะท้อนจากดัชนีผู้จัดการฝ่ายจัดซื้อภาคอุตสาหกรรมในเดือนเมษายน 2567

อยู่ที่ระดับ 51.4 เพิ่มขึ้นจากระดับ 51.1 ในเดือนก่อนหน้า และเป็นระดับที่สูงสุดในรอบ 14 เดือน และการส่งออกที่มีแนวโน้มเริ่มกลับมาขยายตัว20

อย่างไรก็ตาม คาดว่าเศรษฐกิจในช่วงที่เหลือของปีมีแนวโน้มชะลอตัวและส่งผลให้ทั้งปีขยายตัวต่ากว่าเป้าหมายของรัฐบาลที่ร้อยละ 5.0 21

ตามการลดลงของการลงทุนในภาคอสังหาริมทรัพย์ที่ยังมีข้อจากัดจากปัญหาหนี้สินในภาคอสังหาริมทรัพย์ ขณะที่ยอดขายบ้านใหม่รวมถึง

อาคารพาณิชย์และสานักงานยังอยู่ในระดับต่า ขณะเดียวกัน การบริโภคภายในประเทศยังมีแนวโน้มชะลอตัวสอดคล้องกับดัชนีความเชื่อมั่นผู้บริโภค

ที่ยังไม่ฟื้นตัวและอัตราการจ้างงานที่ยังคงอยู่ในระดับต่า ประกอบกับแรงกดดันด้านเงินฝืด โดยอัตราเงินเฟ้อทั่วไปและดัชนีราคาผู้ผลิตในเดือน

เมษายน 2567 อยู่ที่ร้อยละ 0.3 และร้อยละ (-2.5) เทียบกับร้อยละ 0.1 และร้อยละ (-2.8) ในเดือนก่อนหน้า ตามลาดับ นอกจากนี้ เศรษฐกิจจีนยังมี

ข้อจากัดจากการดาเนินมาตรการกีดกันทางการค้าจากประเทศเศรษฐกิจหลัก22 รวมทั้งความเสี่ยงจากการลดลงของการลงทุนภาครัฐ (Fiscal cliff)

เนื่องจากภาระหนี้สินของภาครัฐบาลท้องถิ่นที่อยู่ในระดับสูง ภายใต้แนวโน้มดังกล่าวส่งผลให้ธนาคารกลางจีนจะยังคงนโยบายการเงินแบบผ่อนคลาย

เพื่อเพิ่มสภาพคล่องให้กับระบบเศรษฐกิจอย่างต่อเนื่อง23

เศรษฐกิจกลุ่มประเทศอุตสาหกรรมใหม่ (NIEs) มีแนวโน้มปรับตัวดีขึ้นจากการขยายตัวในเกณฑ์ต่าของปีก่อนหน้า โดยมีปัจจัยสนับสนุนมาจาก

การฟื้นตัวของภาคการผลิตและการส่งออกตามการปรับตัวดีขึ้นของการค้าโลกและวัฏจักรขาขึ้นของสินค้าอิเล็กทรอนิกส์ ขณะที่การอุปโภคบริโภค

ภายในประเทศปรับตัวดีขึ้นตามทิศทางการลดลงของอัตราเงินเฟ้อและการฟื้นตัวอย่างต่อเนื่องของภาคบริการโดยเฉพาะในภาคการท่องเที่ยว ทั้งนี้

คาดว่าในปี 2567 เศรษฐกิจเกาหลีใต้ ไต้หวัน และสิงคโปร์ จะขยายตัวร้อยละ 2.4 ร้อยละ 3.2 และร้อยละ 2.2 เร่งขึ้นจากร้อยละ 1.4 ร้อยละ 1.3

และร้อยละ 1.1 ในปีก่อนหน้า ขณะที่เศรษฐกิจฮ่องกงคาดว่าจะขยายตัวร้อยละ 2.8 ชะลอลงจากร้อยละ 3.2 ในปีก่อนหน้าที่ขยายตัวในเกณฑ์สูง

ภายหลังจากการผ่อนคลายมาตรการควบคุมการแพร่ระบาด

เศรษฐกิจอาเซียน มีแนวโน้มขยายตัวเร่งขึ้นตามการกลับมาขยายตัวของการส่งออกสินค้าสอดคล้องกับแนวโน้มการฟื้นตัวของการค้าโลก และ

การฟื้นตัวอย่างต่อเนื่องของภาคการท่องเที่ยว ประกอบกับการขยายตัวในเกณฑ์ดีของการบริโภคภายในประเทศ โดยคาดว่าในปี 2567

เศรษฐกิจอินโดนีเซีย มาเลเซีย ฟิลิปปินส์ และเวียดนาม มีแนวโน้มจะขยายตัวร้อยละ 5.0 ร้อยละ 4.2 ร้อยละ 5.8 และร้อยละ 5.6 ปรับตัวดีขึ้น

จากร้อยละ 5.0 ร้อยละ 3.6 ร้อยละ 5.5 และร้อยละ 5.0 ในปี 2566 ตามลาดับ ขณะเดียวกันอัตราเงินเฟ้อของหลายประเทศส่วนใหญ่

มีแนวโน้มเริ่มกลับเข้าสู่เป้าหมายนโยบายการเงิน ส่งผลให้ธนาคารกลางของแต่ละประเทศส่วนใหญ่จะยังคงอัตราดอกเบี้ยนโยบาย อย่างไรก็ดี

การคงอัตราดอกเบี้ยของธนาคารกลางของประเทศเศรษฐกิจหลักไว้ในระดับสูงต่อเนื่องมีแนวโน้มที่จะสร้างแรงกดดันจากการอ่อนค่าของ

อัตราแลกเปลี่ยนในกลุ่มประเทศอาเซียน ส่งผลให้ธนาคารกลางบางประเทศต้องปรับขึ้นอัตราดอกเบี้ยนโยบายเพื่อรักษาเสถียรภาพของค่าเงิน24

มาตรการกีดกันทางการค้าและการลงทุนของสหรัฐฯ ต่อจีน

สหรัฐฯ ยังคงดาเนินมาตรการกีดกันการค้าและการลงทุนต่อ

จีนอย่างต่อเนื่อง โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อแก้ปัญหาการปฏิบัติทาง

การค้าที่ไม่เป็นธรรม โดยมุ่งเป้าไปที่อุตสาหกรรมสาคัญ อาทิ การผลิต

ชิ้นส่วนและอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ เหล็กกล้า อุปกรณ์การแพทย์

นอกจากนี้ยังเพื่อเป็นการจากัดการถ่ายทอดเทคโนโลยีและนวัตกรรม

การละเมิดทรัพย์สินทางปัญญา รวมถึงการลดผลกระทบจากปัญหา

กาลังการผลิตภาคอุตสาหกรรมส่วนเกินของจีนซึ่งจะนามาซึ่งปัญหา

การทุ่มตลาด รวมถึงการลดการขาดดุลการค้าของสหรัฐฯ ต่อจีน โดย

มาตรการที่สาคัญ ในช่วง 5 เดือนแรกของปี 2567 สรุปได้ ดังนี้

5. แนวโน้มเศรษฐกิจไทยปี 2567

เศรษฐกิจไทยในปี 2567 มีแนวโน้มที่จะฟื้นตัวดีขึ้นอย่างช้า ๆ โดยมีปัจจัยสนับสนุนสาคัญจากการเพิ่มขึ้นของการใช้จ่ายและการลงทุนภาครัฐ

การฟื้นตัวของภาคการท่องเที่ยวและภาคบริการที่เกี่ยวเนื่อง การขยายตัวในเกณฑ์ดีของอุปสงค์ภายในประเทศทั้งการอุปโภคบริโภคและการลงทุน

และการกลับมาขยายตัวอย่างช้า ๆ ของการส่งออกสินค้าตามการฟื้นตัวของการค้าโลก อย่างไรก็ตาม การฟื้นตัวของเศรษฐกิจไทยยังมีความเสี่ยงและ

ข้อจากัดที่สาคัญซึ่งอาจทาให้เศรษฐกิจไทยขยายตัวต่ากว่าที่คาดการณ์ไว้ในกรณีฐาน ได้แก่ ภาระหนี้สินครัวเรือนและภาคธุรกิจที่อยู่ในระดับสูง

ความเสี่ยงจากแนวโน้มการเกิดอุทกภัยต่อผลผลิตภาคการเกษตร และความผันผวนของระบบเศรษฐกิจการเงินโลกที่ยังอยู่ในเกณฑ์สูงและมีความเสี่ยง

ที่จะผันผวนมากขึ้น

5. แนวโน้มเศรษฐกิจไทยปี 2567

ปัจจัยสนับสนุน

1) การเพมิ่ ขึ้นของแรงสนับสนุนจากการใช้จ่ายและการลงทุนภาครฐั ในช่วงที่เหลือของปภี ยหลงั จากพระราชบัญญัติงบประมาณประจาปี

2567 มีผลบังคับใช้ นับตั้งแต่วันที่ 26 เมษายน 2567 ส่งผลให้ในช่วงครึ่งหลังของปีงบประมาณ (เมษายนถึงกันยายน 2567) คาดว่าจะมี

การเบิกจ่ายงบประมาณรายจ่ายรวม 1.65 ล้านล้านบาท แบ่งเป็น การเบิกจ่ายรายจ่ายงบประมาณประจาปี 1.60 ล้านล้านบาท เพิ่มขึ้นร้อยละ

14.6 จากช่วงเดียวกันของปีงบประมาณก่อนหน้า (อัตราเบิกจ่ายร้อยละ 46.0) แบ่งเป็นงบประมาณรายจ่ายประจาและงบรายจ่ายลงทุน

1.217 ล้านล้านบาท และ 5.64 แสนล้านบาท คิดเป็นการเพิ่มขึ้นร้อยละ 5.7 และร้อยละ 56.4 ตามลาดับ ประกอบกับแรงสนับสนุนเพิ่มเติม

จากการเพิ่มขึ้นของกรอบวงเงินงบประมาณรายจ่ายประจาปีงบประมาณ 2568 รวม 3,752,700 ล้านบาท เพิ่มขึ้นร้อยละ 7.8 จากงบประมาณ

ก่อนหน้า โดยคาดว่าจะมีการเบิกจ่ายในช่วงไตรมาสแรกของปีงบประมาณ 2568 (ตุลาคมถึงธันวาคม 2567) ของงบประมาณประจาปีทั้งสิ้น

987,500 ล้านบาท เพิ่มขึ้นร้อยละ 8.5 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน และการเบิกจ่ายงบเหลื่อมปี 2568 เพิ่มขึ้นร้อยละ 31.0

2) การฟื้นตัวอย่างต่อเนื่องของภาคการท่องเที่ยว ตามการเพิ่มขึ้นของจานวนนักท่องเที่ยวต่างชาติที่คาดว่าจะกลับเข้าสู่ระดับปกติมากขึ้น

สะท้อนจากข้อมูลจานวนนักท่องเที่ยวจากประเทศต้นทางส่วนใหญ่ที่มีจานวนเพิ่มขึ้นใกล้เคียงกับช่วงก่อนการแพร่ระบาดของโควิด-1925

โดยในช่วงไตรมาสแรกของปี 2567 มีจานวนนักท่องเที่ยวต่างชาติรวม 9.4 ล้านคน สร้างรายได้ 0.37 ล้านล้านบาท เพิ่มขึ้นร้อยละ 43.5

และร้อยละ 38.3 ตามลาดับ ซึ่งคิดเป็นรายจ่ายของนักท่องเที่ยวต่อหัวเฉลี่ย 39,625 บาท สูงขึ้นเมื่อเทียบกับ 34,322 บาท ในช่วงไตรมาส

สุดทา ยของปี 2566 และในเดอื นเมษายน 2567 มจี นวนนักทอ่ งเทยี่ วตา งชาตอิ ยทู่ 2.8 ล้านคน ส่งผลใหใ นช่วง 4 เดอื นแรก มจี นวนทงั้ สนิ้

12.1 ล้านคน เพมิ่ ขนึ้ รอ้ ยละ 39.0 นอกจากนี้ นักท่องเทยี่ วชาวไทยยงั คงขยายตวั อยา งตอ่ เนอื่ ง โดยในไตรมาสแรกมนี กท่องเทยี่ วไทยเทยี่ วไทย

สูงถึง 68.0 ล้านคน-ครั้ง สร้างรายได้รวม 2.32 แสนล้านบาท เพิ่มขึ้นร้อยละ 8.6 และร้อยละ 10.2 ตามลาดับ โดยมีปัจจัยสนับสนุนจาก

มาตรการยกเว้นการตรวจลงตราให้แก่กลุ่มนักท่องเที่ยวจากประเทศจีนแบบถาวร รวมถึงมาตรการยกเว้นการตรวจลงตราชั่วคราวให้กับ

ประเทศต้นทางสาคัญอื่น ๆ อาทิ อินเดีย รัสเซีย และไต้หวัน และมาตรการส่งเสริมการท่องเที่ยวเพิ่มเติมของภาครัฐ รวมทั้งการเพิ่มขึ้น

อย่างต่อเนื่องของเที่ยวบินระหว่างประเทศมายังประเทศไทย26 ซึ่งการฟื้นตัวของภาคการท่องเที่ยวดังกล่าวส่งผลให้ภาคบริการที่เกี่ยวเนื่อง

อาทิ ภาคการขนส่ง และภาคการค้ามีแนวโน้มขยายตัวได้ดีต่อเนื่อง

3) การขยายตัวในเกณฑ์ดีของการอุปโภคบริโภคภายในประเทศ โดยเฉพาะอย่างยิ่งการใช้จ่ายในหมวดบริการและสินค้าไม่คงทน สอดคล้องกับ

การฟื้นตัวของภาคการท่องเที่ยว และยังมีปัจจัยสนับสนุนจากดัชนีความเชื่อมั่นผู้บริโภคต่อสถานการณ์เศรษฐกิจที่สูงขึ้นต่อเนื่อง ขณะเดียวกัน

ตลาดแรงงานยังคงอยู่ในเกณฑ์ดี สะท้อนจากการเพิ่มขึ้นของการจ้างงานโดยเฉพาะนอกภาคเกษตร อัตราการว่างงานยังคงอยู่ในระดับต่า และ

สัดส่วนผู้ประกันตนที่ได้รับประโยชน์กรณีว่างงานลดลง นอกจากนี้ การบริโภคยังได้รับปัจจัยสนับสนุนจากแนวโน้มอัตราเงินเฟ้อที่อยู่

ในระดับต่า รวมทั้งแนวโน้มรายได้ที่เพิ่มขึ้นทั้งรายได้ภาคเกษตรจากการเพิ่มขึ้นของราคาสินค้าเกษตรในพืชผลหลัก และการเพิ่มขึ้นของ

รายได้นอกภาคเกษตร โดยเฉพาะในภาคการท่องเที่ยวที่มีแนวโน้มฟื้นตัวต่อเนื่องและผลจากการปรับขึ้นค่าแรงขั้นต่า

4) การขยายตัวอย่างต่อเนื่องของการลงทุนภาคเอกชน โดยมีปัจจัยสนับสนุนที่สาคัญ ได้แก่ (1) การขยายตัวของการนาเข้า ในไตรมาสแรกของปี

2567 ทั้งมูลค่าและปริมาณการนาเข้าขยายตัวร้อยละ 3.2 และร้อยละ 4.5 ต่อเนื่องจากการขยายตัวในไตรมาสก่อนหน้า เป็นการเพิ่มขึ้นของ

ปริมาณการนาเข้าสินค้าทุน รวมทั้งวัตถุดิบและสินค้าขั้นกลาง ร้อยละ 24.6 และร้อยละ 0.5 ตามลาดับ (2) การเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่องของ

ยอดการขอรับ การอนุมัติ และการออกบัตรส่งเสริมการลงทุน ร้อยละ 31 ร้อยละ 6 และร้อยละ 107 ตามลาดับ ในช่วงไตรมาสที่หนึ่งของปี

2567 โดยส่วนใหญ่เป็นการลงทุนในอุตสาหกรรมเครื่องใช้ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ ยานยนต์และชิ้นส่วน รวมถึงอุตสาหกรรมปิโตรเคมี

สอดคล้องกับการเพิ่มขึ้นของเม็ดเงินลงทุนโดยตรงจากต่างประเทศ มูลค่ารวม 169,322 ล้านบาท และ (3) การขยายตัวของพื้นที่ในนิคม

อุตสาหกรรม สะท้อนจากข้อมูลยอดขายหรือเช่าพื้นที่นิคมอุตสาหกรรมในช่วงครึ่งแรกของปีงบประมาณ 2567 (เดือนตุลาคม 2566 - มีนาคม

2567) มีจานวน 3,946 ไร่ เพิ่มขึ้นร้อยละ 32.6 จากช่วงเดียวกันของปีก่อนหน้า โดยเป็นพื้นที่ในเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก (EEC)

จานวน 3,472 ไร่ และนอกพื้นที่เขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก 474 ไร่ รวมมูลค่าการลงทุน 158,372 ล้านบาท เช่นเดียวกับพื้นที่ได้รับ

อนุญาตก่อสร้างทั่วประเทศ (เฉลี่ยย้อนหลัง 4 เดือน) ในไตรมาสแรกของปี 2567 ที่ขยายตัวร้อยละ 10.2 เป็นการกลับมาขยายตัวครั้งแรก

ในรอบ 4 ไตรมาส ซึ่งถือเป็นสัญญาณที่ดีต่อแนวโน้มการขยายตัวของการลงทุนในระยะต่อไป

5) การกลับมาขยายตัวอย่างช้า ๆ ของการส่งออกสินค้าตามการฟื้นตัวของการค้าโลก สอดคล้องกับข้อมูลดัชนีผู้จัดการฝ่ายจัดซื้อภาคการผลิต

ในไตรมาสแรกของปี 2567 ทปี่ รบั ตวั ดขี นึ้ ในทุกประเทศ เช่นเดยี วกบั ยอดคาสงั่ ซอื้ ในกลมุ่ ประเทศอตุ สาหกรรมหลักทเ พมิ่ สูงขนึ้ ในช่วงทผี่ นมา

ซึ่งเป็นสัญญาณสะท้อนถึงทิศทางการเพิ่มขึ้นของยอดขายสินค้าอุตสาหกรรมในระยะต่อไป แนวโน้มดังกล่าวคาดว่าจะเป็นปัจจัยสนับสนุน

ให้การส่งออกและการผลิตภาคอุตสาหกรรมของไทยกลับมาขยายตัวได้ดีขึ้นอย่างช้า ๆ และสนับสนุนการขยายตัวทางเศรษฐกิจ

ในภาพรวมได้มากขึ้น

การเร่งรัดเบิกจ่ายงบลงทุนรัฐวิสาหกิจเพื่อขับเคลื่อนเศรษฐกิจไทยในช่วงที่เหลือของปี 2567

ในช่วงครึ่งแรกของปีงบประมาณ 2567 รัฐวิสาหกิจมีการเบิกจ่ายงบลงทุน จานวน 170,950.5 ล้านบาท ลดลงจากช่วงเดียวกันของปีก่อน

ร้อยละ 3.0 แบ่งเป็น การเบิกจ่ายงบลงทุนรัฐวิสาหกิจปีงบประมาณ จานวน 53,657.5 ล้านบาท อัตราเบิกจ่ายร้อยละ 11.9 ของวงเงินเบิกจ่าย

ลงทุนของรัฐวิสาหกิจทั้งปี และเบิกจ่ายงบลงทุนรัฐวิสาหกิจปีปฏิทิน 117,293.1 ล้านบาท อัตราเบิกจ่ายร้อยละ 26.1 ของวงเงินเบิกจ่ายลงทุนของ

รัฐวิสาหกิจทั้งปี โดยรัฐวิสาหกิจที่เบิกจ่ายได้ต่ากว่าช่วงเดียวกันของปีก่อน ได้แก่ การรถไฟแห่งประเทศไทย บริษัท ปตท. จากัด (มหา ชน)

บริษัท กฟผ. อินเตอร์เนชั่นแนล จากัด การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค และการประปาส่วนภูมิภาค เป็นสาคัญ ทั้งนี้

เมื่อพิจารณาผลการเบิกจ่ายงบลงทุนรัฐวิสาหกิจใน 14 โครงการลงทุนสาคัญ พบว่า มีการเบิกจ่ายทั้งสิ้น 36,585.3 ล้านบาท คิดเป็นอัตรา

การเบิกจ่ายร้อยละ 48.4 ของกรอบงบลงทุนโครงการสาคัญวงเงินรวม 75,544 ล้านบาท (คิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 19.9 ของกรอบวงเงินเบิกจ่าย

ลงทุนของรัฐวิสาหกิจในปี 2567)

การลงทุนของรัฐวิสาหกิจในปี 2567 มีวงเงินเบิกจ่ายลงทุน 380,141.92 ล้านบาท1 ลดลงเมื่อเทียบกับปีก่อนหน้าร้อยละ 1.9 และต่ากว่ากรอบ

งบลงทุนของรัฐวิสาหกิจในช่วงสี่ปีที่ผ่านมาร้อยละ 4.02 โดยจะเป็นการเบิกจ่ายจาก (1) เงินรายได้ของรัฐวิสาหกิจ 70,561.2 ล้านบาท คิดเป็นสัดส่วน

ร้อยละ 33.8 (2) เงินงบประมาณรายจ่ายประจาปี 62,925.1 ล้านบาท คิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 30.1 (3) เงินกู้ในประเทศ 69,224.4 ล้านบาท คิดเป็น

สัดส่วนร้อยละ 33.1 และ (4) เงินกู้ต่างประเทศ และแหล่งเงินอื่น ๆ 6,274.5 ล้านบาท คิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 3.0 ทั้งนี้ โครงการลงทุนของการรถไฟ

แห่งประเทศไทยและการรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนแห่งประเทศไทยใช้เงินจากงบประมาณรายจ่ายประจาปี 2567 สูงถึง 46,968.6 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ

74.6 วงเงินเบิกจ่ายลงทุนจากงบประมาณรายจ่ายประจาปี 2567 ซึ่งจาเป็นจะต้องเตรียมความพร้อมและเร่งรัดให้มีการลงนามในสัญญาได้โดยเร็ว

ภายหลังการประกาศใช้พระราชบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจาปี

ดังนั้น การรักษาแรงขับเคลื่อนจากการลงทุนภาครัฐในช่วงที่เหลือของปี 2567 จึงต้องให้ความสาคัญกับการเร่งรัดการลงนามในสัญญาของ

โครงการลงทุนรัฐวิสาหกิจที่ใช้เงินงบประมาณรายจ่ายประจาปี ซึ่งจะเป็นแรงขับเคลื่อนการขยายตัวของเศรษฐกิจไทยในช่วงที่เหลือของปี 25 67

ภายหลังจากการลงทุนภาครัฐในช่วงครึ่งปีแรกมีข้อจากัดสาคัญจากความล่าช้าของการประกาศใช้พระราชบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจาปี 2567

ข้อจากัดและปัจจัยเสี่ยง

ภาระหนี้สินครัวเรือนและภาคธุรกิจที่อยู่ในระดับสูงและการเพิ่มขึ้นของภาระดอกเบี้ย โดยสัดส่วนสินเชื่อที่ไม่ก่อให้เกิดรายได้

(Non-Performing Loans: NPLs) และสัดส่วนสินเชื่อจัดชั้นพิเศษ (Special Mention Loans: SMLs) ของวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม

(SMEs) ต่อสินเชื่อรวมในไตรมาสที่สี่ของปี 2566 ยังคงอยู่ในระดับสูงร้อยละ 7.2 และร้อยละ 11.7 และสูงกว่าร้อยละ 4.6 และร้อยละ 3.5

ในไตรมาสเดียวกันของปี 2562 ตามลาดับ ทั้งนี้ ภาระดอกเบี้ยที่เพิ่มสูงขึ้นจะเป็นข้อจากัดต่อความสามารถในการชาระหนี้ของกลุ่มธุรกิจ

SMEs ในขณะเดียวกัน สัดส่วนหนี้ครัวเรือนต่อ GDP ในไตรมาสที่สี่ของปี 2566 อยู่ที่ร้อยละ 91.3 ใกล้เคียงกับร้อยละ 91.4 ในไตรมาส

เดียวกนั ของปีก่อน แต่ยังคงสูงกว่าเมอื่ เทียบกับร้อยละ 84.1 ในไตรมาสเดียวกนั ของปี 2562 ภายใต้คุณภาพสินเชื่อที่ลดลงส่งผลให้สถาบนั

การเงินเพิ่มความระมัดระวังในการให้สินเชื่อกับธุรกิจมากขึ้น อาทิ การเพิ่มเงื่อนไขประกอบสัญญาเงินกู้ การเพิ่มหลักทรัพย์ค้าประกัน ส่งผลให้

เกิดข้อจากัดในการเข้าถึงสภาพคล่องของกลุ่มธุรกิจ SMEs และครัวเรือนที่มีรายได้น้อย

2) ผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศอย่างต่อเนื่อง27 ส่งผลกระทบให้ผลผลิตภาคเกษตรลดลง โดยในไตรมาสแรกของปี 2567

อุณหภูมิเฉลี่ยทั่วประเทศเพิ่มขึ้นมากกว่าค่าเฉลี่ย 5 ปีย้อนหลัง 0.5 องศาเซลเซียส ขณะที่ปริมาณฝนเฉลี่ยอยู่ที่ 68.9 มิลลิเมตร ต่ากว่าค่าเฉลี่ย

ปกติที่ร้อยละ 41.728 ขณะเดียวกันปริมาณน้าใช้ได้จริงในเขื่อนทั่วประเทศ ณ สิ้นไตรมาสที่หนึ่งของปี 2567 อยู่ในระดับต่าที่ 23,872

ล้านลูกบาศก์เมตร ลดลงร้อยละ 9.1 และร้อยละ 2.5 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันในปี 2566 และ 2565 ตามลาดับ จนส่งผลกระทบให้ผลผลิต

ทางการเกษตรที่สาคัญลดลง ได้แก่ ปาล์มน้ามัน ทุเรียน ข้าว อ้อย มันสาปะหลัง และยางพารา ขณะเดียวกัน ในช่วงที่เหลือของปีภายใต้

การคาดการณ์แนวโน้มการเข้าสู่ภาวะลานีญานับตั้งแต่ช่วงเดือนกรกฎาคม 2567 ทาให้ประเทศไทยมีความเสี่ยงที่จะเผชิญภาวะฝนตกหนัก

จนนาไปสู่ปัญหาอุทกภัย จนอาจส่งผลกระทบต่อพื้นที่ทางการเกษตรและทาให้ผลผลิตทางการเกษตรมีแนวโน้มลดลงต่อเนื่อง

3) ความเสี่ยงจากความผันผวนของสถานการณ์เศรษฐกิจโลก ที่อาจทาให้เศรษฐกิจและปริมาณการค้าโลกขยายตัวต่ากว่าที่คาดไว้ในกรณีฐาน

โดยมีเงื่อนไขความเสี่ยงที่ต้องติดตามและประเมินสถานการณ์อย่างใกล้ชิด ประกอบด้วย (1) สถานการณ์ความขัดแย้งทางภูมิรัฐศาสตร์

โดยเฉพาะสถานการณ์ความขัดแย้งในตะวันออกกลาง ประกอบกับความยืดเยื้อของความขัดแย้งระหว่างรัสเซียและยูเครน และการดาเนิน

มาตรการกีดกันทางการค้าระหว่างสหรัฐฯ และจีน ที่หากยืดเยื้อรุนแรงมากขึ้นจะส่งผลกระทบโดยตรงต่อห่วงโซ่การผลิตโลกและเศรษฐกิจโลก

ในภาพรวม รวมทั้งความผันผวนในตลาดการเงินโลกและระดับราคาพลังงานและสินค้าโภคภัณฑ์ (2) ความเสี่ยงจากอัตราเงินเฟ้อของ

ประเทศเศรษฐกิจหลักที่ยังคงสูงกว่าเป้าหมายนโยบายการเงิน29 จนส่งผลให้การปรับลดอัตราดอกเบี้ยนโยบายช้ากว่าที่คาดการณ์

โดยเฉพาะอตั ราเงินเฟอ้ พนื้ ฐานทยี่ งั มแ นวโน้มทรงตวั อยใ นระดบั สูง (Sticky Core Inflation) เนอื่ งจากสถานการณต์ ลาดแรงงานตงึ ตวั 30 ส่งผลให้

ระดับราคาหมวดบริการและอัตราค่าจ้างขยายตัวในเกณฑ์สูง นอกจากนี้ ยังมีปัจจัยเสี่ยงจากปัญหาต้นทุนการขนส่งทางทะเลระหว่างประเทศ

ที่เพิ่มขึ้นจากปัญหาความขัดแย้งในตะวันออกกลางที่ส่งผลต่อการขนส่งผ่านทะเลแดง รวมถึงปัญหาการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ

ที่ส่งผลต่อการขนส่งผ่านคลองปานามาที่จะเป็นปัจจัยเร่งให้แรงกดดันด้านเงินเฟ้อเพิ่มสูงขึ้นแนวโน้มดังกล่าวส่งผลให้ธนาคารกลางสาคัญ

มีแนวโน้มที่จะคงอัตราดอกเบี้ยนโยบายไว้ในระดับสูงอย่างต่อเนื่อง (Higher-for-Longer) ซึ่งจะส่งผลต่อการฟื้นตัวของเศรษฐกิจโลก รวมถึง

จะเป็นข้อจากัดต่อการดาเนินนโยบายการเงินของประเทศกาลังพัฒนาและตลาดเกิดใหม่ที่ต้องเผชิญกับความผันผวนของอัตราแลกเปลี่ยนและ

แรงกดดันให้จาเป็นต้องคงอัตราดอกเบี้ยไว้ในระดับสูงจนอาจส่งผลต่อการขยายตัวของการบริโภคและการลงทุนภายในประเทศ (3) การชะลอ

ตัวมากกว่าที่คาดของเศรษฐกิจจีน อันเนื่องมาจากการลดลงของการลงทุนในภาคอสังหาริมทรัพย์เนื่องจากปัญหาหนี้สิน ประกอบกับ

การบริโภคภายในประเทศที่มีแนวโน้มชะลอตัวท่ามกลางภาวะเงินฝืด และภาระหนี้สินของภาครัฐบาลท้องถิ่นที่อยู่ในระดับสูง (4) ทิศทาง

การดาเนินนโยบายเศรษฐกิจและการค้าของหลายประเทศสาคัญที่ยังคงไม่แน่นอน และขึ้นอยู่กับผลการเลือกตั้งรัฐบาลใหม่31 รวมถึง

การดาเนินนโยบายกีดกันทางการค้าและการลงทุนที่รุนแรงมากขึ้นในช่วงก่อนการเลือกตั้ง

เงินให้กู้ยืมแก่นิติบุคคลชะลอตัวลง โดยเฉพาะในเงินกู้ยืมทั่วไปและตั๋วเงินในประเทศ

เมื่อพิจารณาข้อมูลสินเชื่อของนิติบุคคลรายสัญญาของบริษัท ข้อมูลเครดิตแห่งชาติ จากัด หรือ เครดิตบูโร ณ สิ้นปี 2566 พบว่า บัญชี

สินเชื่อนิติบุคคลมีจานวน 1.7 ล้านบัญชี คิดเป็นมูลค่าสินเชื่อคงค้างอยู่ที่ 10.17 ล้านล้านบาท เพิ่มขึ้นเล็กน้อยจาก 10.16 ล้านล้านบาท ในปี 2565

หรือคิดเป็นอัตราการขยายตัวที่ร้อยละ 0.1 ชะลอลงจากการขยายตัวร้อยละ 4.5 ในปีก่อน โดยเมื่อเปรียบเทียบกับในช่วงก่อนการแพร่ระบาดของ

โรคโควิด-19 ในปี 2562 พบว่า มูลค่าสินเชื่อนิติบุคคลคงค้างอยู่ที่ 8.54 ล้านล้านบาท และในปี 2563 - 2564 ปรับเพิ่มขึ้นเป็น 9.03 และ 9.71

ล้านล้านบาท ตามลาดับ คิดเป็นอัตราการขยายตัวจากปี 2562 ถึงปี 2566 สูงถึงร้อยละ 19.0 สาหรับในปี 2566 โครงสร้างสินเชื่อ

นิติบุคคล ประกอบด้วย (1) เงินให้กู้ยืมทั่วไป (General Loan) 5.03 ล้านล้านบาท (สัดส่วนร้อยละ 49.5) (2) เงินกู้ระยะสั้น อาทิ ตั๋วเงินในประเทศ

(Domestic Bills) 2.90 ล้านล้านบาท (สัดส่วนร้อยละ 28.5) เงินเบิกเกินบัญชี (Overdraft) 0.44 ล้านล้านบาท (สัดส่วนร้อยละ 4.3) และ

(3) สินเชื่อประเภทอื่น ๆ รวมกัน1 คิดเป็นมูลค่า 1.80 ล้านล้านบาท (สัดส่วนร้อยละ 17.7)

เมื่อพิจารณามูลค่าคงค้างของสินเชื่อนิติบุคคลประเภทสาคัญ ๆ ได้แก่ เงินให้กู้ยืมทั่วไป ตั๋วเงินในประเทศ และเงินเบิกเกินบัญชี (มูลค่า

คงค้างรวมกันคิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 82.3) พบว่า ในปี 2566 เงินให้กู้ยืมทั่วไปและตั๋วเงินในประเทศมีมูลค่าสินเชื่อคงค้างปรับลดลงจากปีก่อนหน้า

ขณะที่ความต้องการสินเชื่อภาคธุรกิจปรับเพิ่มขึ้นต่อเนื่อง แต่สถาบันการเงินกลับเพิ่มความเข้มงวดในการให้สินเชื่อ แสดงให้เห็นว่าสถาบันการเงิน

ยังคงระมัดระวังในการให้สินเชื่อกับภาคธุรกิจ อย่างไรก็ดี เมื่อพิจารณาสินเชื่อระยะสั้น ได้แก่ เงินเบิกเกินบัญชี ที่สถาบันการเงินมักจะพิจารณา

อนุมัติให้ธุรกิจที่มีประวัติการชาระเงินที่ดีหรือมีสินเชื่อระยะยาวอยู่ก่อนหน้ากับสถาบันการเงินนั้น ๆ พบว่า ในปี 2566 มูลค่าคงค้างเงินเบิกเกิน

บัญชีอยู่ที่ 0.44 ล้านล้านบาท เพิ่มขึ้นจาก 0.42 ล้านล้านบาทในปี 2565 หรือขยายตัวร้อยละ 2.80 สะท้อนให้เห็นว่าสินเชื่อเพื่อการลงทุนหรือ

การขยายกิจการในช่วง 1-2 ปีที่ผ่านมาชะลอตัวลงต่อเนื่อง มีเพียงสินเชื่อเพื่อเสริมสภาพคล่องในระยะสั้นที่ธุรกิจที่มีประวัติทางการเงินในเกณฑ์ดี

จึงจะเข้าถึงได้ เท่านั้น ที่ยังคงขยายตัวได้ดี ส่วนหนึ่งเป็นผลจากการขยายตัวในอัตราสูงของสินเชื่อในช่วงการแพร่ระบาดของโควิด-19 ขณะที่

เศรษฐกิจไทยในปัจจุบันเผชิญความเสี่ยงที่ทาให้การฟื้นตัวของเศรษฐกิจไทยยังคงเป็นไปอย่างล่าช้า ส่งผลกระทบต่อรายได้และยอดขายของ

ภาคธุรกิจในภาพรวม และทาให้สถาบันการเงินรวมทั้งภาคธุรกิจเพิ่มความระมัดระวังในการลงทุนมากยิ่งขึ้น

ความแปรปรวนทางสภาพภูมิอากาศ: ผลกระทบต่อมูลค่าทางเศรษฐกิจของภาคเกษตร

1 เอลนีโญ (El Ni?o) เกิดจากกระแสลมมีกาลังอ่อนและเปลี่ยนทิศทางพัดจากด้านตะวันออกของมหาสมุทรแปซิฟิกไปด้านตะวันตกของมหาสมุทรแปซิฟิก ทาให้กระแสน้าอุ่นไหลไปยังทวีป

อเมริกาใต้แทน ด้วยเหตุนี้ภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และออสเตรเลียขาดฝนและเกิดความแห้งแล้ง แต่ชายฝั่งของทวีปอเมริกาใต้กลับมีฝนตกเพิ่มมากขึ้น

2 ค่าปกติของอุณหภูมิเฉลี่ยและปริมาณน้าฝนเฉลี่ย คือค่าเฉลี่ยของอุณหภูมิรายเดือนและปริมาณน้าฝนรายเดือนของประเทศไทยในคาบ 30 ปี (พ.ศ.2534 - 2563)

3 การคาดการณ์จากรายงาน National Weather Service; Climate Prediction Centre (NOAA) ณ วันที่ 9 พฤษภาคม 2567

4 ลานีญา (La Ni?a) เกิดจากกระแสลมพัดจากด้านตะวันออกของมหาสมุทรแปซิฟิกมายังด้านตะวันตกของมหาสมุทรแปซิฟิกตามเดิม แต่กระแสลมมีความรุนแรงมากกว่าปกติ ทาให้กระแสน้าอุ่น

ไหลมายังภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้มากขึ้นส่งผลให้ภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และออสเตรเลียมีระดับน้าทะเลสูงขึ้นและมีปริมาณฝนตกหนักมากกว่าปกติ

นับตั้งแต่ปี 2566 เป็นต้นมา ประเทศไทยต้องเผชิญกับสภาพภูมิอากาศที่แปรปรวน อาทิ สถานการณ์ภัยแล้ง อันเป็นผลมาจาก

2566 จนถึงช่วงต้นไตรมาสที่สองของปี 2567 นอกจากนี้ จากการคาดการณ์ปรากฏการณ์เอนโซ่ (ENSO)3 พบว่าในช่วงกลางไตรมาสที่สองของปี

2567 มีแนวโน้มที่สภาพภูมิอากาศจะกลับเข้าสู่ภาวะปกติ (Neutral) และในช่วงต้นไตรมาสที่สามของปี 2567 ถึงต้นไตรมาสแรกของปี 2568

ประเทศไทยมีแนวโน้มที่จะเผชิญกับปรากฏการณ์ลานีญา (La Ni?a)4 อย่างต่อเนื่อง โดยมีฝนตกหนักในพื้นที่หลายจังหวัด น้าท่วมฉับพลัน น้าป่า

ไหลหลาก และน้าล้นตลิ่งในหลายพื้นที่ อย่างไรก็ตามการเปลี่ยนแปลงของปรากฏการณ์ข้างต้นเป็นการเปลี่ยนแปลงที่รวดเร็วซึ่งไม่ได้พบได้บ่อยครั้ง

ความแปรปรวนทางสภาพภูมิอากาศ: ผลกระทบต่อมูลค่าทางเศรษฐกิจของภาคเกษตร (ต่อ)

นอกจากนี้ ยังพบว่าปริมาณน้าฝนลดลงและส่งผลให้ปริมาณน้าในเขื่อนที่ปรับตัวลดลงต่ากว่าค่าปกติ ดังจะเห็นได้จากปริมาณน้า

ในเขื่อนทั่วประเทศ ณ สิ้นไตรมาสแรกปี 2567 มีปริมาตรรวม 43,354 ล้านลูกบาศก์เมตร คิดเป็นร้อยละ 61.12 ของความจุน้าใช้การ ลดลง

จาก 45,489 ล้านลูกบาศก์เมตรในปีก่อน และเพิ่มขึ้นจาก 39,019 ล้านลูกบาศก์เมตรในปี 2558 โดยเฉพาะในพื้นที่ภาคเหนือ สถานการณ์

สภาพภูมิอากาศที่มีแนวโน้มจะรุนแรงขึ้น ทั้งอุณหภูมิที่สูงขึ้นกว่าค่าปกติ และสถานการณ์ฝนตกน้อย ส่งผลกระทบต่อปริมาณผลผลิตสินค้า

เกษตรสาคัญ ๆ ในช่วงไตรมาสแรกของปี 2567 ให้ปรับตัวลดลงเมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปี 2566 และลดลงเมื่อเทียบกับช่วงที่

เกิดปรากฏการณ์เอลนีโญรุนแรงในปี 2558 อาทิ (1) ข้าวเปลือก (สัดส่วนร้อยละ 14.85) ลดลงร้อยละ 6.0 (% YoY) และลดลงร้อยละ 29.8

เมื่อเทียบกับช่วงที่เกิดปรากฏการณ์เอลนีโญที่รุนแรง (Super El Ni?o) ในปี 2558 (2) อ้อย (สัดส่วนร้อยละ 6.25) ผลผลิตปรับตัวลดลง

ร้อยละ 12.2 (%YoY) และลดลงร้อยละ 17.2 เมื่อเทียบกับปี 2558 (3) มันสาปะหลัง (สัดส่วนร้อยละ 5.80) ผลผลิตปรับตัวลดลงร้อยละ 9.0

(%YoY) และลดลงร้อยละ 25.5 เมื่อเทียบกับปี 2558 ซึ่งส่งผลต่อผลิตภัณฑ์มวลรวมภาคเกษตรในไตรมาสแรกของปี 2567 ปรับตัวลดลง

ร้อยละ 3.5 และลดลงร้อยละ 9.5 เมื่อเทียบกับปี 2558 และคาดว่าแนวโน้มการเกิดปรากฏการณ์ลานีญาซึ่งทาให้เกิดฝนตกหนักฉับพลัน

จะส่งผลกระทบต่อเนื่องต่อผลผลิตภาคเกษตรโดยเฉพาะในช่วงครึ่งหลังของปี

ดังนั้น ภายใต้การเผชิญกับสภาพภูมิอากาศที่แปรปรวนเพิ่มขึ้น ภาครัฐจึงควรให้ความสาคัญในเฝ้าระวัง ติดตาม และการวางแผนประเมิน

สถานการณ์บริหารจัดการทรัพยากรน้าอย่างใกล้ชิด และมีประสิทธิภาพเพื่อรองรับภัยพิบัติทางธรรมชาติทุกรูปแบบ พร้อมทั้งการยกระดับ

ประสิทธิภาพโครงสร้างพื้นฐานด้านน้าให้พร้อมต่อการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วของสภาพภูมิอากาศและภัยพิบัติต่าง ๆ อาทิ การผันน้า การระบายน้า

และการกระจายแหล่งน้าให้เพียงพอต่อภาคเกษตร รวมไปถึงยกระดับความรู้ ความสามารถ เกี่ยวกับสถานการณ์ของความแปรปรวน

ด้านสภาพภูมิอากาศ เพื่อให้เกษตรกรมีความเข้าใจ และเข้าถึงหลักการกระบวนการใช้น้าในการเพาะปลูกอย่างถูกต้อง ทั้งนี้ ควรส่งเสริม

มาตรการด้านการจัดการน้าควบคู่กับด้านพันธุ์พืช โดยในระยะเริ่มต้นด้วยการให้เกษตรกรกระจายความเสี่ยงด้วยการปลูกพืชที่หลากหลาย

และพืชทนทานในทุกสภาพภูมิอากาศทั้งภัยแล้งและน้าท่วม ขณะที่มาตรการในระยะถัดไปควรมุ่งเน้นส่งเสริมการปรับปรุงพันธุ์พืชชนิดอื่น ๆ

ที่ทนต่อสภาพอากาศที่อาจจะแปรปรวนมากขึ้นในอนาคต ซึ่งจะส่งผลให้ความแปรปรวนทางสภาพภูมิอากาศส่งผลกระทบต่อมูลค่าทาง

เศรษฐกิจของภาคเกษตร และเศรษฐกิจในภาพรวมได้น้อยลง

1) เศรษฐกิจโลกในปี 2567 คาดว่าจะขยายตัวร้อยละ 2.9 ชะลอลงจากร้อยละ 3.1 ในปี 2566 และปรับเพิ่มจากร้อยละ 2.7 ในสมมติฐาน

การประมาณการครั้งที่ผ่านมา โดยเป็นผลมาจากการขยายตัวดีกว่าที่คาดการณ์ในช่วงไตรมาสแรกของเศรษฐกิจสหรัฐฯ และเศรษฐกิจจีน

ตามการขยายตัวของอุปสงค์ภายในประเทศ รวมถึงแนวโน้มการฟื้นตัวของภาคการผลิตและการขยายตัวอย่างต่อเนื่องของภาคบริกา ร

อย่างไรก็ตาม เศรษฐกิจโลกยังมีความเสี่ยงจากสถานการณ์ความไม่แน่นอนของความขัดแย้งด้านภูมิรัฐศาสตร์ โดยเฉพาะความขัดแย้ง

ในภูมิภาคตะวันออกกลาง ความขัดแย้งระหว่างรัสเซียและยูเครน และการกีดกันทางการค้าระหว่างสหรัฐฯ และจีน ที่อาจส่งผลกระทบ

ต่อห่วงโซ่อุปทานโลก ประกอบกับแรงกดดันด้านเงินเฟ้อในเศรษฐกิจหลักที่อาจเป็นข้อจากัดต่อการดาเนินนโยบายการเงินและ

การขยายตัวของอุปสงค์ในประเทศ อย่างไรก็ตาม ปริมาณการค้าโลกคาดว่าจะขยายตัวร้อยละ 2.8 เร่งขึ้นจากการขยายตัวร้อยละ

0.3 ในปี 2566 แต่เป็นการปรับลดลงจากร้อยละ 3.0 ในสมมติฐานการประมาณการครั้งก่อน เนื่องจากการบังคับใช้มาตรการกีดกัน

ทางการค้าของประเทศเศรษฐกิจหลักโดยเฉพาะสหรัฐฯ และจีน รวมถึงปัญหาความขัดแย้งทางภูมิรัฐศาสตร์ที่มีแนวโน้มยืดเยื้อจนส่งผลต่อ

การขนส่งทางทะเล

2) ค่าเงินบาทเฉลี่ยในปี 2567 คาดว่าจะอยู่ในช่วง 35.5 - 36.5 บาทต่อดอลลาร์ สรอ. อ่อนค่าลงจากเฉลี่ย 34.8 บาทต่อดอลลาร์ สรอ.

ในปี 2566 และปรับจากสมมติฐาน 34.3 - 35.3 บาทต่อดอลลาร์ สรอ. ในการประมาณการครั้งก่อน เพื่อให้สอดคล้องกับการอ่อนค่าของ

เงินบาทในไตรมาสแรกของปี 2567 ซึ่งมีค่าเฉลี่ยอยู่ที่ 35.7 บาทต่อดอลลาร์ สรอ. และล่าสุดอยู่ที่ 36.3 บาทต่อดอลลาร์ สรอ. ณ วันที่

16 พฤษภาคม 2567 ตามการแข็งค่าของค่าเงินดอลลาร์ สรอ. อันเนื่องมาจากการแนวโน้มการคงอัตราดอกเบี้ยนโยบายของธนาคารกลาง

สหรัฐฯ ไว้ในระดับสูงยาวนานกว่าที่คาดการณ์ (Higher-for-Longer) ภายหลังจากที่อัตราเงินเฟ้อพื้นฐานยังทรงตัวอยู่ในระดับสูง

อย่างต่อเนื่อง อีกทั้งสถานการณ์ความไม่แน่นอนของความขัดแย้งทางภูมิรัฐศาสตร์โดยเฉพาะในภูมิภาคตะวันออกกลางส่งผลให้นักลงทุน

มีการปรับสัดส่วนการลงทุนให้มุ่งเน้นสินทรัพย์ที่มีความปลอดภัยมากขึ้น (Risk-off) อย่างไรก็ตาม ในช่วงครึ่งหลังของปี 2567 คาดว่า

ค่าเงินบาทมีแนวโน้มที่จะทยอยแข็งค่าขึ้น ตามการฟื้นตัวอย่างต่อเนื่องของภาคการท่องเที่ยวและแนวโน้มการฟื้นตัวของภาคการส่งออก

ซึ่งจะส่งผลให้การเกินดุลบัญชีเดินสะพัดของไทยปรับเพิ่มขึ้น รวมถึงแนวโน้มการปรับลดอัตราดอกเบี้ยของธนาคารกลางสหรัฐฯ ในช่วง

ครึ่งหลังของปี 2567

3) ราคาน้ามันดิบดูไบในปี 2567 คาดว่าจะอยู่ในช่วง 80.0 - 90.0 ดอลลาร์ สรอ. ต่อบาร์เรล เพิ่มขึ้นจากเฉลี่ย 82.0 ดอลลาร์ สรอ.

ต่อบาร์เรล ในปีก่อน เท่ากับสมมติฐานการประมาณการครั้งก่อน และสอดคล้องกับข้อมูลราคาน้ามันดูไบในช่วงวันที่ 1 มกราคมถึง

15 พฤษภาคม 2567 อยู่ที่เฉลี่ย 83.4 ดอลลาร์ สรอ.ต่อบาร์เรล ขณะที่คาดว่าในช่วงที่เหลือของปีราคาน้ามันดิบดูไบมีแนวโน้มที่จะ

ปรับตัวสูงขึ้น โดยมีปัจจัยที่สาคัญเนื่องจากสถานการณ์ความขัดแย้งในภูมิภาคตะวันออกกลางที่ยังมีความไม่แน่นอน รวมทั้งการปรับลด

กาลังการผลิตอย่างต่อเนื่องของกลุ่มประเทศผู้ส่งออกน้ามันและชาติพันธมิตร (OPEC+) ที่ยังคงสร้างแรงกดดันด้านอุปทานน้ามันดิบ

อย่างต่อเนื่อง อย่างไรก็ตาม ปัจจัยสาคัญที่จะส่งผลให้ราคาน้ามันดิบไม่ปรับเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว ได้แก่ แนวโน้มการชะลอตัวของ

เศรษฐกิจจีนซึ่งส่งผลต่อการชะลอตัวของอุปสงค์น้ามัน โดยสานักงานสารสนเทศด้านการพลังงานของรัฐบาลสหรัฐฯ (EIA) คาดการณ์ว่า

อุปสงค์น้ามันโลกจะขยายตัวเพียงร้อยละ 0.9 ในปี 2567 เทียบกับการขยายตัวสูงถึงร้อยละ 2.0 ในปี 2566 นอกจากนี้การแข็งค่าของ

ค่าเงินดอลลาร์ สรอ. จะส่งผลให้อุปสงค์ของน้ามันลดลงเนื่องจากเป็นสกุลเงินหลักที่ใช้ในการซื้อขายน้ามันดิบส่งผลให้ราคาน้ามันดิบ

ในสกุลเงินท้องถิ่นของหลายประเทศสูงขึ้นโดยเปรียบเทียบ

ราคาสินค้าส่งออกและราคาสินค้านาเข้าในรูปดอลลาร์ สรอ. ในปี 2567 คาดว่าจะเพิ่มขึ้นร้อยละ 0.0 - 1.0 และร้อยละ 0.5 - 1.5 ชะลอลง

จากร้อยละ 1.2 และร้อยละ 0.6 ในปี 2566 โดยเป็นการคงสมมติฐานราคาสินค้าส่งออกจากประมาณการครั้งก่อน ขณะที่สมมติฐานราคา

สินค้านาเข้าปรับลดลงจากการขยายตัวร้อยละ 0.7 - 1.7 ตามข้อมูลจริงในไตรมาสแรกของปี 2567 รวมถึงระดับราคาก๊าซธรรมชาติที่ลดลง

จากปีก่อนหน้า

5) รายรับจากนักท่องเที่ยวต่างประเทศในปี 2567 คาดว่าจะอยู่ที่ 1.38 ล้านล้านบาท เพิ่มขึ้นจาก 1.03 ล้านล้านบาทในปี 2566 และเป็นการปรับ

เพิ่มขึ้นจาก 1.22 ล้านล้านบาท ในการประมาณการครั้งก่อน ตามการปรับเพิ่มสมมติฐานค่าใช้จ่ายต่อหัวของนักท่องเที่ยวที่มีแนวโน้ม

สูงขึ้น และการปรับเพิ่มประมาณการจานวนนักท่องเที่ยวต่างชาติในปี 2567 ที่คาดว่าจะเดินทางเข้ามาจานวนทั้งสิ้น 36.5 ล้านคน จากเดิม

ที่คาดว่าจะอยู่ที่ 35 ล้านคนในประมาณการครั้งก่อน สอดคล้องกับนักท่องเที่ยวในหลายประเทศที่มีแนวโน้มเข้าสู่ระดับเดียวกับช่วงก่อน

การแพร่ระบาดมากขึ้น อาทิ มาเลเซีย สิงคโปร์ เกาหลีใต้ และรัสเซีย

6) การเบิกจ่ายงบประมาณ ประกอบด้วย (1) อัตราการเบิกจ่ายงบประมาณรายจ่ายประจาปีงบประมาณ 2567 คาดว่าจะอยู่ที่ร้อยละ 88.6 ของ

งบประมาณทั้งหมด 3.48 ล้านล้านบาท ปรับลดจากร้อยละ 90.4 ในการประมาณการครั้งก่อน และเทียบกับร้อยละ 97.0 ในปีงบประมาณ

2566 แบ่งเป็น รายจ่ายประจาร้อยละ 97.0 เทียบกับร้อยละ 101.6 ในปีงบประมาณก่อนหน้า และรายจ่ายลงทุนร้อยละ 60.0 เทียบกับร้อยละ

77.7 ในปีงบประมาณ 2566 และเป็นการปรับลดจากร้อยละ 65.0 ในการประมาณการครั้งก่อน ตามความล่าช้าในการเบิกจ่ายในช่วงครึ่งแรก

ของปีงบประมาณที่เบิกจ่ายได้เพียงร้อยละ 11.6 ของงบประมาณทั้งหมด สาหรับปีงบประมาณ 2568 คาดว่าจะมีอัตราการเบิกจ่ายงบประมาณ

อยู่ที่ร้อยละ 92.7 ของงบประมาณทั้งหมด 3.75 ล้านล้านบาท แบ่งเป็น รายจ่ายประจาร้อยละ 98.0 และรายจ่ายลงทุนร้อยละ 75.0 ตามลาดับ

(2) อัตราการเบิกจ่ายงบประมาณเหลื่อมปีในปีงบประมาณ 2567 คาดว่าจะอยู่ที่ร้อยละ 86.7 ของงบประมาณทั้งหมด เทียบกับร้อยละ 91.3

ในปีงบประมาณ 2566 แบ่งเป็น รายจ่ายประจาร้อยละ 95.0 และรายจ่ายลงทุนร้อยละ 85.0 และ (3) การเบิกจ่ายงบลงทุนในประเทศของ

รัฐวิสาหกิจในปี 2567 (15 เดือน นับตั้งแต่เดือนตุลาคม 2566 - ธันวาคม 2567) คาดว่าจะมีวงเงินลงทุนประมาณ 2.72 แสนล้านบาท เทียบกับ

3.44 แสนล้านบาทในปีก่อนหน้า

การฟื้นตัวของนักท่องเที่ยวจากจีนและญี่ปุ่นยังอยู่ในระดับต่ากว่าก่อนหน้าการแพร่ระบาดของโรคโควิด-19

จานวนนักท่องเที่ยวต่างชาติที่เดินทางมาไทย ในไตรมาสที่ 1 ของปี 2567 เทียบกับไตรมาสที่ 1 ปี 2562

ภาพรวมการท่องเที่ยวของไทยยังคงฟื้นตัวต่อเนื่อง สะท้อนจากอัตรา

การฟื้นตัวของจานวนนักท่องเที่ยวในไตรมาสแรกของปี 2567 เมื่อเทียบกับ

ช่วงเดียวกันปี 2562 พบว่า นักท่องเที่ยวจากประเทศส่วนใหญ่เริ่มฟื้นตัว

กลับมาใกล้ระดับก่อนการแพร่ระบาด อย่างไรก็ดี กลุ่มนักท่องเที่ยวจากจีนและ

ญี่ปุ่นยังคงฟื้นตัวได้อย่างช้า ๆ โดยมีจานวน 1,756,337 คนและ 271,427 คน

ตามลาดับ คิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 56.3 และร้อยละ 57.2 เมื่อเทียบกับช่วงก่อน

การแพร่ระบาดเท่านั้น ขณะที่เมื่อพิจารณาจากข้อมูลจานวนนักท่องเที่ยวจาก

ทั้งสองประเทศที่เดินทางไปยังปลายทางสาคัญ ๆ แม้จะยังคงอยู่ในระดับต่า

กว่าช่วงการแพร่ระบาด แต่เริ่มมีทิศทางฟื้นตัวดีขึ้นตามลาดับ ในขณะที่

นักท่องเที่ยวจากทั้งสองประเทศเดินทางมายังประเทศไทยมีการฟื้นตัวที่ยัง

ช้ากว่าหลายประเทศ ดังนั้นเพื่อให้การฟื้นตัวของภาคการท่องเที่ยวไทยเป็นไป

อย่างต่อเนื่อง จึงต้องมุ่งเน้นผลักดันการทาการตลาดการท่องเที่ยวเชิงรุกโดย

มุ่งเน้นการดึงดูดกลุ่มนักท่องเที่ยวเป้าหมายที่มีศักยภาพและกาลังซื้อสูงทั้งจาก

จีนและญี่ปุ่นให้เดินทางท่องเที่ยวมายังไทยมากขึ้น ควบคู่ไปกับการเตรียมความ

พร้อมของปัจจัยแวดล้อมทางกายภาพ การแก้ปัญหาความไม่เพียงพอของ

จานวนเที่ยวบินในการเดินทางมายังประเทศไทย รวมทั้งการรักษามาตรฐาน

ความปลอดภัยแก่นักท่องเที่ยว เพื่อรองรับการกลับมาของนักท่องเที่ยวและ

ยกระดับศักยภาพและฟื้นฟูภาคการท่องเที่ยวให้มีคุณภาพและยั่งยืน

ประมาณการเศรษฐกิจปี 2567

เศรษฐกิจไทยในปี 2567 มีแนวโน้มที่จะขยายตัวร้อยละ 2.0 - 3.0 (ค่ากลางการประมาณการที่ร้อยละ 2.5) เทียบกับร้อยละ 1.9 ในปี

2566 อัตราเงินเฟ้อคาดว่าจะอยู่ในช่วงร้อยละ 0.1 - 1.1 และดุลบัญชีเดินสะพัดเกินดุลร้อยละ 1.2

ในการแถลงข่าววันที่ 20 พฤษภาคม 2567 สานักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ คาดว่าเศรษฐกิจไทยในปี 2567 จะขยายตัว

ร้อยละ 2.0 - 3.0 (ค่ากลางการประมาณการที่ร้อยละ 2.5) ซึ่งเป็นการปรับลดจากการประมาณการครั้งก่อนที่ร้อยละ 2.2 - 3.2 (ค่ากลาง

การประมาณการที่ร้อยละ 2.7) ในการแถลงข่าวเมื่อวันที่ 19 กุมภาพันธ์ 2567 รวมทั้งปรับเปลี่ยนองค์ประกอบการขยายตัวทางเศรษฐกิจ

ให้สอดคล้องกับข้อมูลในไตรมาสแรก รวมถึงเงื่อนไขและการปรับเปลี่ยนสมมติฐานการประมาณการที่สาคัญ ๆ ดังนี้

1) การปรับลดประมาณการการส่งออกสุทธิ ตามการปรับลดประมาณการส่งออกและปรับเพิ่มประมาณการนาเข้า โดยการปรับลด

ประมาณการส่งออกเป็นผลมาจากข้อมูลไตรมาสแรกของปี 2567 ที่มูลค่าและปริมาณการส่งออกลดลงร้อยละ 1.0 และ 2.3 ตามลาดับ

เทียบกับการขยายตัวร้อยละ 4.6 และร้อยละ 3.2 ในไตรมาสก่อนหน้า และสอดคล้องกับการปรับลดสมมติฐานปริมาณการค้าโลกจาก

การขยายตัวร้อยละ 3.0 ในการประมาณการครั้งก่อน เป็นร้อยละ 2.8 ในการประมาณการครั้งนี้ อย่างไรก็ตาม คาดว่าในช่วงที่เหลือของปี

2567 การส่งออกสินค้ามีแนวโน้มที่จะปรับตัวดีขึ้นอย่างช้า ๆ ตามการฟื้นตัวของการค้าโลก ส่งผลให้ทั้งปี 2567 คาดว่ามูลค่าและปริมาณ

การส่งออกสินค้าจะขยายตัวร้อยละ 2.0 และร้อยละ 1.5 ปรับลดลงจากร้อยละ 2.9 และร้อยละ 2.4 ในการประมาณการครั้งก่อน ขณะที่

คาดว่ามูลค่าและปริมาณการนาเข้าสินค้าจะขยายตัวร้อยละ 4.6 ปรับเพิ่มขึ้นจากร้อยละ 3.6 ปรับเพิ่มขึ้นจากร้อยละ 4.4 และ 3.2

ตามลาดบั ในการประมาณการครงั้ กอ่ น นอกจากนี้ ยังได้ปรับลดประมาณการการลงทุนภาคเอกชนลงเพื่อให้สอดคล้องกับการประมาณการ

การส่งออกเป็นร้อยละ 3.2 จากร้อยละ 3.5 ในการประมาณการครั้งก่อน ตามลาดับ

2) การปรับเพิ่มประมาณการการขยายตัวของการอุปโภคบริโภคภาคเอกชน โดยคาดว่าการอุปโภคบริโภคภาคเอกชนจะขยายตัวร้อยละ 4.5

ปรับขึ้นจากร้อยละ 3.0 ในการประมาณการครั้งก่อน เพื่อให้สอดคล้องกับการขยายตัวในเกณฑ์ดีในไตรมาสแรกที่ร้อยละ 6.9 ต่อเนื่องจาก

ร้อยละ 7.4 ในไตรมาสก่อนหน้า ตามการขยายตัวของการใช้จ่ายในหมวดบริการที่ขยายตัวในเกณฑ์สูงร้อยละ 13.7 โดยเฉพาะในกลุ่มโรงแรม

และภัตตาคาร และกลุ่มบริการทางการเงิน รวมทั้งการขยายตัวดีต่อเนื่องของการใช้จ่ายหมวดสินค้าไม่คงทน ตามการขยายตัวเร่งขึ้นของ

การใช้จ่ายกลุ่มอาหารและเครื่องดื่ม รวมทั้งการใช้จ่ายกลุ่มไฟฟ้า ก๊าซ และน้ามันเชื้อเพลิง สอดคล้องกับอุณหภูมิเฉลี่ยที่ปรับตัวสูงขึ้น

นอกจากนี้ ยงั คาดว่าในช่วงทเ หลือของปี การบริโภคภาคเอกชนจะยังขยายตัวในเกณฑ์ดตี อเนอื่ ง โดยมีแรงสนับสนุนจากแนวโน้มการฟนื้ ตวั

ของภาคการท่องเที่ยว ซึ่งสอดคล้องกับการปรับเพิ่มสมมติฐานจานวนนักท่องเที่ยวต่างชาติเป็น 36.5 ล้านคน สูงขึ้นจาก 35 ล้านคน

ในการประมาณการครั้งก่อน ส่งผลให้รายได้จากนักท่องเที่ยวต่างชาติเพิ่มขึ้นเป็น 1.38 ล้านล้านบาท จาก 1.22 ล้านล้านบาท

องค์ประกอบของการขยายตัวทางเศรษฐกิจ

1) การใช้จ่ายเพื่อการอุปโภคบริโภค ประกอบด้วย (1) การใช้จ่ายเพื่อการอุปโภคบริโภคภาคเอกชน คาดว่าจะขยายตัวร้อยละ 4.5 ต่อเนื่อง

จากการขยายตัวในเกณฑ์สูงร้อยละ 7.1 ในปี 2566 และเป็นการปรับประมาณการขึ้นจากร้อยละ 3.0 ตามการขยายตัวดีอย่างต่อเนื่องของ

ภาคบริการที่เกี่ยวเนื่องกับการท่องเที่ยว โดยเฉพาะอย่างยิ่งการใช้จ่ายในหมวดโรงแรมและภัตตาคาร รวมทั้งมีปัจจัยสนับสนุนจาก

ตลาดแรงงานที่ยังคงแข็งแกร่งและอัตราเงินเฟ้อที่ต่า รวมถึงความเชื่อมั่นผู้บริโภคที่ยังอยู่ในระดับสูง และ (2) การใช้จ่ายเพื่อการอุปโภค

ภาครัฐบาล คาดว่าจะขยายตัวร้อยละ 1.7 ปรับตัวดีขึ้นจากการลดลงร้อยละ 4.6 ในปี 2566 และเป็นการปรับเพิ่มจากการเพิ่มขึ้นร้อยละ 1.5

ในการประมาณการครั้งที่ผ่านมา ตามเม็ดเงินการใช้จ่ายภาครัฐภายหลังจากพระราชบัญญัติงบประมาณประจาปี 2567 ที่มีผลบังคับใช้

นับตั้งแต่วันที่ 26 เมษายน 2567 และการเพิ่มขึ้นของกรอบวงเงินงบประมาณรายจ่ายประจาปีงบประมาณ 2568

2) การลงทุนรวม คาดว่าจะขยายตัวร้อยละ 1.9 เร่งขึ้นจากร้อยละ 1.2 ในปี 2566 โดย (1) การลงทุนภาคเอกชน คาดว่าจะขยายตัวร้อยละ 3.2

เท่ากับในปี 2566 สอดคล้องกับการขยายตัวของการนาเข้าในหมวดสินค้าทุน และหมวดวัตถุดิบและสินค้าขั้นกลางที่สาคัญ กอปรกับแนวโน้ม

การปรับตัวดีขึ้นของการลงทุนในช่วงที่เหลือของปีตามการขยายตัวดีขึ้นต่อเนื่องของมูลค่าโครงการที่ขอรับการส่งเสริมการลงทุนและออกบัตร

ส่งเสริมการลงทุน อย่างไรก็ดี เป็นการปรับลดจากร้อยละ 3.5 ในการประมาณการครั้งก่อน สอดคล้องกับแนวโน้มเศรษฐกิจโลกและปริมาณ

การค้าโลกที่คาดว่าจะขยายตัวได้ต่าลงจากการประมาณการครั้งก่อน และ (2) การลงทุนภาครัฐ คาดว่าจะลดลงร้อยละ 1.8 เท่ากับการ

ประมาณการครั้งก่อน และเป็นการลดลงต่อเนื่องจากร้อยละ 4.6 ในปี 2566 โดยเป็นผลมาจากความล่าช้าของกระบวนการจัดทางบประมาณ

รายจ่ายประจาปี 2567 และกรอบวงเงินงบลงทุนของรัฐวิสาหกิจที่ลดลงจากปีก่อนหน้า

3) มูลค่าการส่งออกสินค้าในรูปเงินดอลลาร์ สรอ. คาดว่าจะขยายตัวร้อยละ 2.0 เทียบกับการลดลงร้อยละ 1.7 ในปี 2566 และปรับลดลงจาก

ร้อยละ 2.9 ในการประมาณการครั้งที่ผ่านมา โดยคาดว่าปริมาณการส่งออกจะเพิ่มขึ้นร้อยละ 1.5 ปรับลดลงจากร้อยละ 2.4 ในการประมาณ

การครั้งก่อน ตามการลดลงของปริมาณการส่งออกในไตรมาสแรกของปี 2567 และแนวโน้มการฟื้นตัวของการส่งออกในช่วงที่เหลือของปี

ภายใต้ข้อจากัดจากการฟื้นตัวที่ล่าช้ากว่าที่คาดการณ์ของภาคการผลิตอุตสาหกรรม สอดคล้องกับการปรับลดประมาณการการขยายตัวของ

ปริมาณการค้าโลกจากร้อยละ 3.0 ในการประมาณการครั้งก่อน เป็นร้อยละ 2.8 ในการประมาณการครั้งนี้ ขณะที่ราคาส่งออกคาดว่าจะ

เพิ่มขึ้นในช่วงร้อยละ 0.0 - 1.0 เท่ากับประมาณการครั้งก่อน เมื่อรวมกับการส่งออกบริการที่มีแนวโน้มที่จะขยายตัวอย่างต่อเนื่องตามการฟื้นตัว

ของภาคการท่องเที่ยว ส่งผลให้ปริมาณการส่งออกสินค้าและบริการในปี 2567 มีแนวโน้มที่จะขยายตัวร้อยละ 4.7 เพิ่มขึ้นจากร้อยละ 2.1

ในปี 2566 และปรับลดลงจากร้อยละ 5.0 ในการประมาณการครั้งก่อน

6. ประเด็นการบริหารนโยบายเศรษฐกิจมหภาค

การบริหารนโยบายเศรษฐกิจมหภาคในปี 2567 ควรให้ความสาคัญกับ

1) การเร่งรัดการเบิกจ่ายงบประมาณเพื่อให้เม็ดเงินรายจ่ายภาครัฐเข้าสู่ระบบเศรษฐกิจโดยเร็ว โดยการเร่งรัดงบประมาณประจาปี 2567

ให้สามารถเบิกจ่ายได้ไม่น้อยกว่าร้อยละ 90.0 ของงบประมาณรายจ่ายทั้งหมด แบ่งเป็น อัตราเบิกจ่ายงบประมาณรายจ่ายประจาร้อยละ 97.0

และงบประมาณรายจ่ายลงทุนร้อยละ 60.0 ตามลาดับ รวมทั้งการเร่งรัดการเบิกจ่ายงบเหลื่อมปี และงบรัฐวิสาหกิจให้ไม่น้อยกว่าร้อยละ 90

และร้อยละ 75 ตามลาดับ ขณะเดียวกัน ควรต้องเร่งรัดกระบวนการจัดทางบประมาณรายจ่ายประจาปีงบประมาณ 2568 ไม่ให้เกิดความล่าช้า

2) การดูแลสภาพคล่องให้เพียงพอสาหรับภาคธุรกิจโดยเฉพาะธุรกิจ SMEs ที่มีศักยภาพแต่ประสบปัญหาการเข้าถึงสภาพคล่อง ผ่านโครงการ

ค้าประกันสินเชื่อ การสร้างการรับรู้และส่งเสริมให้ผู้ประกอบการธุรกิจ SMEs เตรียมความพร้อมในการเข้าถึงสินเชื่อดิจิทัลแฟ็กเตอริงเพื่อเป็น

ทางเลือกในการเข้าถึงแหล่งเงินทุน การส่งเสริมให้ภาคส่วนที่เกี่ยวข้องใช้ประโยชน์จากระบบจดทะเบียนสัญญาหลักประกันทางธุรกิจ

ทางอิเล็กทรอนิกส์ (e-Secured) ควบคู่ไปกับการยกระดับศักยภาพการผลิตและเพิ่มขีดความสามารถให้แก่ผู้ประกอบการ SMEs ผ่านการใช้

นวัตกรรม เทคโนโลยี และความคิดสร้างสรรค์ ในการสร้างมูลค่าเพิ่มและสร้างเอกลักษณ์ของสินค้า ให้ตรงตามความต้องการของตลาดและ

พฤติกรรมของผู้บริโภคที่เปลี่ยนแปลงไป รวมทั้งใช้ประโยชน์จากความก้าวหน้าของเทคโนโลยีมาเพิ่มประสิทธิภาพในการดาเนินธุรกิจ ซึ่งจะ

ช่วยสนับสนุนการเข้าถึงแหล่งเงินทุนได้ดียิ่งขึ้น ขณะเดียวกันควรดาเนินมาตรการเพื่อแก้ปัญหาลูกหนี้เรื้อรังที่มีความเสี่ยงที่จะผิดนัดชาระหนี้

3) การดูแลการผลิตภาคเกษตรและรายได้เกษตรกร โดยให้ความสาคัญกับ (1) การติดตามและวางแผนแนวทางในการบริหารจัดการ

ทรัพยากรน้าอย่างใกล้ชิด (2) การเตรียมความพร้อมด้านการป้องกัน บรรเทา และแก้ไขปัญหาอุทกภัย (3) การฟื้นฟูภาคเกษตรที่ได้รับ

ผลกระทบจากภัยแล้งให้กลับมาฟื้นตัวโดยเร็ว (4) การสนับสนุนงานวิจัยและพัฒนาเพื่อการปรับปรุงพันธุ์พืชให้ทนต่อสภาพอากาศและ

โรคพืช รวมทั้งให้มีความเหมาะสมกับสภาพพื้นที่ (5) การเสริมสร้างภูมิคุ้มกันแก่เกษตรกรผ่านการส่งเสริมรูปแบบและพัฒนาระบบ

ประกันภัยพืชผลจากความเสี่ยงของสภาพอากาศให้เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ และ (6) การเฝ้าระวัง ติดตาม การปราบปรามการลักลอบ

การนาเข้าสินค้าเกษตรผิดกฎหมาย

4) การขับเคลื่อนการส่งออกควบคู่ไปกับการเร่งรัดปรับโครงสร้างเศรษฐกิจทั้งภาคการผลิตและภาคบริการ โดยมุ่งเน้น (1) การขับเคลื่อน

การส่งออกสินค้าที่มีศักยภาพและเป นที่ต้องการของตลาดโลกเพิ่มขึ้น อาทิ สินค้าที่เกี่ยวข้องกับสุขภาพและเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม และสินค้า

ที่คาดว่าจะได้รับประโยชน์อันเนื่องมาจากความไม่แน่นอนจากความขัดแย้งในเชิงภูมิรัฐศาสตร์ รวมทั้งสินค้าที่มีโอกาสได้รับประโยชน์จาก

มาตรการกีดกันทางการค้า (2) การเพิ่มผลิตภาพการผลิตผ่านการใช้นวัตกรรมและเทคโนโลยีขั้นสูงเพื่อนาไปสู่การผลิตสินค้าที่มีศักยภาพ

และมีมูลค่าสูงขึ้นที่สามารถหลีกเลี่ยงการแข่งขันด้านราคาและมีมาตรฐานตรงตามความต้องการของตลาดและข้อกาหนดของประเทศผู้นาเข้า

ควบคู่ไปกับการพัฒนาอุตสาหกรรมที่เกี่ยวข้องกับการผลิตวัตถุดิบและสินค้าขั้นกลางในประเทศให้มีความพร้อมในการรองรับการเติบโตของ

อุตสาหกรรมเป้าหมาย และสามารถเชื่อมโยงสินค้าที่ผลิตได้ภายในประเทศกับห่วงโซ่การผลิตโลกได้มากขึ้น (3) การสร้างความเชื่อมั่นและ

เตรียมความพร้อมของระบบนิเวศที่เหมาะสมเพื่อดึงดูดอุตสาหกรรมเป้าหมายให้เข้ามาลงทุนในประเทศไทย โดยเฉพาะอุตสาหกรรม

ยานยนต์แห่งอนาคต อุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์และชิ้นส่วน ควบคู่ไปกับการเร่งรัดให้ผู้ประกอบการที่ได้รับอนุมัติและรับบัตรส่งเสริม

มีการลงทุนจริงโดยเร็ว นอกจากนี้ ยังควรมุ่งเน้นแก้ไขปัญหาที่นักลงทุนและผู้ประกอบการต่างประเทศเห็นว่าเป็นอุปสรรคต่อการลงทุนและ

การประกอบธุรกิจสาคัญ โดยเฉพาะขั้นตอนกระบวนการ และข้อบังคับ/กฎหมาย รวมทั้งปัญหาการขาดแคลนแรงงานในภาคการผลิต

ควบคู่ไปกับการพัฒนากาลังแรงงานเพื่อรองรับอุตสาหกรรมและภาคบริการเป้าหมาย และ (4) การดึงดูดนักท่องเที่ยวที่มีศักยภาพและ

มีกาลังซื้อสูงโดยเฉพาะกลุ่มที่ต้องการเข้ามาพานักระยะยาว ผ่านการสร้างการรับรู้ต่อมาตรการ Long-term resident visa (LTR) และ

การส่งเสริมการใช้จ่ายของนักท่องเที่ยวให้มากขึ้นโดยเฉพาะนักท่องเที่ยวจากประเทศในเอเชีย ยุโรป และอเมริกาเหนือ นอกจากนี้ ยังควร

เตรียมความพร้อมของปัจจัยแวดล้อมทางกายภาพที่สาคัญ อาทิ สนามบิน/เที่ยวบิน กระบวนการตรวจคนเข้าเมือง โครงสร้างพื้นฐานและ

สิ่งอานวยความสะดวก การบริหารจัดการพื้นที่และสิ่งแวดล้อม รวมทั้งการรักษามาตรฐาน ความปลอดภัยทั้งชีวิตและทรัพย์สินของ

นักท่องเที่ยว และการแก้ไขปัญหาการหลอกลวง เอารัดเอาเปรียบ และปัญหาอาชญากรรมที่เกิดขึ้นกับนักท่องเที่ยว เพื่อรองรับการกลับมา

ของนักท่องเที่ยวและยกระดับศักยภาพและฟื้นฟูภาคการท่องเที่ยวให้มีคุณภาพและยั่งยืน

5) การเตรียมมาตรการเพื่อรองรับผลกระทบและใช้ประโยชน์จากความเสี่ยงที่อาจเกิดขึ้นในระยะต่อไป จากการยกระดับความรุนแรงของ

ความตงึ เครยี ดทางภมู ริ ฐั ศาสตร การกดี กนั ทางการคา การเปลยี่ นแปลงของสภาพภมู อิ กาศ และความผันผวนในตลาดการเงินโลก

สงครามการค้ากับการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างการค้าของไทยและกลุ่มประเทศ ASEAN

การดาเนินมาตรการกีดกันทางการค้าระหว่างสหรัฐฯ และจีนยังคงยืดเยื้อต่อเนื่องนับตั้งแต่ปี 2560 จนกระทั่งล่าสุด เมื่อวันที่ 14 พฤษภาคม

2567 สหรัฐฯ ได้ประกาศมาตรการปกป้องธุรกิจและแรงงานในประเทศ โดยการขึ้นภาษีนาเข้ารอบใหม่กับจีน ส่งผลให้การนาเข้าและส่งออกสินค้า

ระหว่างทั้งสองประเทศลดลงอย่างมีนัยสาคัญ ขณะที่ทั้งสองประเทศมีการนาเข้ามากขึ้นจากประเทศอื่น ๆ รวมถึงประเทศใน ASEAN และไทย

โดยเฉพาะกลุ่มอิเล็กทรอนิกส์และเครื่องใช้ไฟฟ้า ซึ่งเมื่อพิจารณาจากสัดส่วนที่สหรัฐฯ มีการนาเข้าจาก ASEAN (ไม่รวมไทย) (ตารางที่ 1) พบว่า

1) เซมิคอนดักเตอร์และส่วนประกอบ เพิ่มขึ้นจากร้อยละ 25.40 ในช่วงก่อน Trade War เป็นร้อยละ 46.11 ในช่วงหลัง COVID-19 2) โทรศัพท์

และชิ้นส่วน เพิ่มขึ้นจากร้อยละ 9.02 ในช่วงก่อน Trade War เป็นร้อยละ 21.80 ในช่วงหลัง COVID-19 และมีหลายสินค้าที่สัดส่วนการนาเข้า

ของสหรัฐฯ จากไทยเพิ่มขึ้น เช่น 1) เซมิคอนดักเตอร์และส่วนประกอบ เพิ่มขึ้นจากร้อยละ 2.10 ในช่วงก่อน Trade War เป็นร้อยละ 12.56

ในช่วงหลัง COVID-19 และ 2) แผงวงจรรวม เพิ่มขึ้นจากร้อยละ 2.51 ในช่วงก่อน Trade War เป็นร้อยละ 4.33 ในช่วงหลัง COVID-19 เป็นต้น

อย่างไรก็ดี พบว่า มีหลายสินค้าที่สัดส่วนสหรัฐฯ มีการนาเข้าจาก ASEAN (ไม่รวมไทย) เพิ่มขึ้นมากกว่าสัดส่วนที่นาเข้าจากไทย เมื่อเทียบช่วง

Trade War กับช่วงหลัง COVID-19 เช่น โทรศัพท์และชิ้นส่วน เครื่องประมวลข้อมูลอัตโนมัติ และหม้อแปลงไฟฟ้า เป็นต้น ขณะเดียวกันพบว่า

ในสินค้าประเภทเดียวกัน ไทยมีสัดส่วนการนาเข้าจากจีนเพิ่มขึ้นเช่นกัน เช่น 1) เซมิคอนดักเตอร์และส่วนประกอบ ที่มีสัดส่วนการนาเข้าจากจีน

ในช่วงหลัง COVID-19 อยู่ที่ร้อยละ 8.59 จากร้อยละ 2.93 ในช่วงก่อน Trade War 2) เครื่องปรับอากาศ มีสัดส่วนการนาเข้าจากจีนในช่วง

หลัง COVID-19 อยู่ที่ร้อยละ 13.83 จากร้อยละ 4.37 ในช่วงก่อน Trade War และ 3) โทรศัพท์และชิ้นส่วน มีสัดส่วนการนาเข้าจากจีนในช่วง

หลัง COVID-19 อยู่ที่ร้อยละ 12.68 จากร้อยละ 10.99 ในช่วงก่อน Trade War

สงครามการค้ากับการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างการค้าของไทยและกลุ่มประเทศ ASEAN (ต่อ)

นอกจากนี้ เมอื่ พจิ รณาจากการขาดดลุ หรอื เกนิ ดลุ การค้า1 กับทั้งสองประเทศ พบว่า ประเทศสาคัญของ ASEAN ส่วนใหญ่มีการขาดดุลจากจีนและ

เกินดุลจากสหรัฐฯ เร่งขึ้นหลังจากช่วงก่อนโควิด-19 โดยมูลค่าดุลการค้าปี 2566 พบว่า (1) เวียดนาม ขาดดุลจากจีน อยู่ที่ 59,973 ล้านดอลลาร์ สรอ. จาก

สินค้า เช่น โทรศัพท์และชิ้นส่วน และผลิตภัณฑ์แผ่นเหล็กรีด เป็นต้น ขณะที่เกินดุลจากสหรัฐฯ อยู่ที่ 94,982 ล้านดอลลาร์ สรอ. จากสินค้า เช่น โทรศัพท์

และชิ้นส่วน และเซมิคอนดักเตอร์และส่วนประกอบ (2) ไทย ขาดดุลกับจีนอยู่ที่ 37,305 ล้านดอลลาร์ สรอ. จากสินค้า เช่น โทรศัพท์และชิ้นส่วน รถยนต์

และยานยนต์ และเซมิคอนดักเตอร์และส่วนประกอบ เป็นต้น ขณะที่เกินดุลจากสหรัฐฯ อยู่ที่ 27,992 ล้านดอลลาร์ สรอ. จากสินค้า เช่น โทรศัพท์และ

ชิ้นส่วน เครื่องประมวลผลข้อมูลอัตโนมัติ และยางนอกชนิดอัดลม เป็นต้น และ (3) มาเลเซีย ขาดดุลจากจีน อยู่ที่ 14,584 ล้านดอลลาร์ สรอ. จากสินค้า

เช่น น้ามันปิโตรเลียม โทรศัพท์และชิ้นส่วน เครื่องประมวลผลข้อมูลอัตโนมัติ เป็นต้น ขณะที่เกินดุลจากสหรัฐฯ อยู่ที่ 15,928 ล้านดอลลาร์ สรอ. จากสินค้า

เช่น แผงวงจรรวม โทรศัพท์และชิ้นส่วน และเซมิคอนดักเตอร์และส่วนประกอบ เป็นต้น อย่างไรก็ดี เมื่อเปรียบเทียบดุลการค้าทั้งจีนและสหรัฐฯ

ทั้ง 3 ประเทศในปี 2566 พบว่า เวียดนามและมาเลเซีย มีมูลค่าเกินดุลการค้าจากสหรัฐฯ สูงกว่าการขาดดุลการค้าจากจีน 35,009 ล้านดอลลาร์ สรอ.

และ 1,344 ล้านดอลลาร์ สรอ. ตามลาดับ ขณะที่ไทยขาดดุลการค้าจากจีนมากกว่าเกินดุลจากสหรัฐฯ 9,313 ล้านดอลลาร์ สรอ. แสดงให้เห็นว่า

ทั้งเวียดนามและมาเลเซียมีแนวโน้มที่จะได้ประโยชน์จากสถานการณ์การเบี่ยงเบนทางการค้าระหว่างสหรัฐฯ และจีน มากกว่าไทย

กล่าวโดยสรุปพบว่า การเบี่ยงเบนทางการค้าระหว่างจีนและสหรัฐฯ สามารถสร้างประโยชน์ให้กับประเทศในกลุ่ม ASEAN โดยเฉพาะอย่างยิ่ง

ในกรณีที่สหรัฐฯ ลดการนาเข้าจากจีน โดยเฉพาะกลุ่มอิเล็กทรอนิกส์ โดยสินค้าที่ไทยได้รับผลประโยชน์มากขึ้น (สัดส่วนการนาเข้าของสหรัฐฯ จากไทย

เพิ่มขึ้น) เช่น เซมิคอนดักเตอร์และส่วนประกอบ แผงวงจรรวม และเครื่องปรับอากาศ เป็นต้น อย่างไรก็ดี พบว่ามีบางสินค้าที่ ASEAN และไทยได้รับ

ผลประโยชน์ แต่ ASEAN ได้รับประโยชน์มากกว่าไทย (การเพิ่มขึ้นของสัดส่วนการนาเข้าของสหรัฐฯ จาก ASEAN มากกว่าการเพิ่มขึ้นของสัดส่วน

การนาเข้าจากไทย) เช่น โทรศัพท์และชิ้นส่วน เครื่องประมวลผลข้อมูลอัตโนมัติ และหม้อแปลงไฟฟ้า เป็นต้น และบางสินค้าที่ ASEAN ได้รับ

ผลประโยชน์มากขึ้น ขณะที่ไทยได้รับผลประโยชน์ลดลง (สัดส่วนการนาเข้าของสหรัฐฯ จาก ASEAN เพิ่มขึ้น ขณะที่สัดส่วนการนาเข้าจากไทยลดลง)

เช่น ยางนอกชนิดอัดลม เป็นต้น นอกจากนี้แม้ว่าไทยจะเกินดุลจากสหรัฐฯ เพิ่มสูงขึ้นอย่างต่อเนื่อง แต่ไทยก็ยังคงเป็นประเทศที่มีการขาดดุลการค้าจาก

จีนมากกว่า โดยส่วนหนึ่งมาจากสินค้าที่ไทยเกินดุลจากจีนยังคงเป็นสินค้าเกษตรที่มูลค่าเพิ่มไม่มาก ขณะที่ชนิดสินค้าที่ไทยขาดดุลจากจีนจะเป็นสินค้า

อุตสาหกรรมที่มีความซับซ้อนและมูลค่าเพิ่มสูง ดังนั้น เพื่อให้ไทยสามารถได้รับประโยชน์จากสถานการณ์การเบี่ยงเบนทางการค้าระหว่างจีนและสหรัฐฯ

มากขึ้นการเสริมสร้างขีดความสามารถของภาคเกษตรและอุตสาหกรรมของไทยจากภาครัฐ ทั้งเรื่องของเทคโนโลยี องค์ความรู้ และแรงจูงใจ

ภาคเอกชน จะทาให้ไทยสามารถพัฒนาและส่งออกสินค้าภาคเกษตรและอุตสาหกรรมที่อาศัยเทคโนโลยีนวัตกรรมที่ซับซ้อนและสร้างมูลค่าเพิ่มได้สูงขึ้น

ซึ่งจะเป็นส่วนหนึ่งที่จะทาให้ไทยสามารถเข้าร่วมห่วงโซ่มูลค่าในตลาดโลกได้มากขึ้นในระยะถัดไป

ผลกระทบจากสถานการณ์ความขัดแย้งในภูมิภาคตะวันออกกลางต่อเศรษฐกิจไทย

สถานการณ์ความขัดแย้งในภูมิภาคตะวันออกกลางสามารถสร้างผลกระทบต่อเศรษฐกิจไทยได้ทางช่องทางต่าง ๆ ที่สาคัญ ดังนี้ (1) ผลกระทบ

โดยตรงผ่านการค้าระหว่างประเทศ การท่องเที่ยว และการลงทุนโดยตรง โดยประเทศไทยมีความเชื่อมโยงกับประเทศคู่ขัดแย้งโดยตรง (อิสราเอล

และอิหร่าน) ในสัดส่วนที่ต่า ผลกระทบในช่องทางดังกล่าวจึงมีอย่างจากัด (2) ราคาพลังงาน ภูมิภาคตะวันออกกลางมีความสาคัญในแง่ผู้ผลิตและ

ผู้ส่งออกสาคัญของน้ามันดิบส่งผลให้สถานการณ์ในภูมิภาคจะมีผลต่อระดับราคาน้ามันดิบในตลาดโลกอย่างมีนัยสาคัญ ขณะเดียวกัน ประเทศไทย

มีการนาเข้าน้ามันดิบจากภูมิภาคดังกล่าวมากกว่าร้อยละ 50 จึงเป็นช่องทางการส่งผ่านผลกระทบหลักที่มีต่อประเทศไทย (3) ราคาสินค้าโภคภัณฑ์

ผลกระทบดังกล่าวยังเป็นไปอย่างจากัด โดยราคาวัตถุดิบทางการเกษตรและสินแร่สาคัญ ๆ มีการปรับขึ้นภายหลังจากเดือนตุลาคม 2566

แต่เป็นการปรับขึ้นในระดับที่น้อยกว่าช่วงสงครามระหว่างรัสเซียและยูเครนเริ่มขึ้น เนื่องจากภูมิภาคตะวันออกกลางไม่ได้เป็นแหล่งวัต ถุดิบ

ที่สาคัญ (4) ความผันผวนของตลาดการเงินโลก สถานการณ์ความขัดแย้งที่รุนแรงขึ้นจะส่งผลให้มีการเคลื่อนย้ายเงินลงทุนไปยังสินทรัพย์ที่มี

ความเสี่ยงต่า (Safe Haven) มากขึ้น อาทิ ทองคา และพันธบัตรรัฐบาลสหรัฐฯ ส่งผลให้ค่าเงินของประเทศกาลังพัฒนาและเศรษฐกิจเกิดใหม่

อ่อนค่าลง ขณะที่ตลาดทุนมีความผันผวนในระยะสั้นภายหลังจากที่เหตุการณ์ความขัดแย้งทวีความรุนแรงขึ้น และ (5) การหยุดชะงักของ

ห่วงโซ่อุปทานโลก ผลกระทบหลักมาจากการโจมตีเรือขนส่งสินค้าในทะเลแดงโดยกลุ่มฮูตีในเยเมน ส่งผลให้การขนส่งผ่านทะเลแดงและ

คลองซูเอซปรับตัวลดลงจนส่งผลต่อต้นทุนการค้าระหว่างประเทศ และกระทบต่อต้นทุนการนาเข้าและส่งออกของไทย

ที่มา: สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ


เว็บไซต์นี้มีการใช้งานคุกกี้ ศึกษารายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และ ข้อตกลงการใช้บริการ รับทราบ