สศอ. เผยส่งออกสินค้าอุตสาหกรรมชะลอตัว กดดัน ดัชนี MPI เดือน ก.ค. 2566 หดตัวร้อยละ 4.43 พร้อมปรับประมาณการปีนี้ ดัชนีฯ หดตัวร้อยละ 2.8 - 3.8 และ GDP อุตฯ หดตัวร้อยละ 1.5 - 2.5

ข่าวเศรษฐกิจ Thursday August 31, 2023 13:15 —สำนักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม

สศอ. เผย

ส่งออกสินค้าอุตสาหกรรมชะลอตัว กดดัน ดัชนี MPI เดือน ก.ค. 2566 หดตัวร้อยละ 4.43

พร้อมปรับประมาณการปี

นี้ ดัชนีฯ หดตัวร้อยละ 2.8 3.8 และ GDP อุตฯ หดตัวร้อยละ 1.5 2.5

สำนักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม (สศอ เผยดัชนีผ ล ผลิตอุตสาหกรรม ( MPI) เดือน กรกฎาคม

ปี 2566 อยู่ ที่ ระดับ 9 1.14 ลดลง ร้อยละ 4.43 รับผลกระทบจาก การส่งออกสินค้าอุตสาหกรรม หดตัว

หลัง เศรษฐกิจโลก ชะลอตัวจากกำลังซื้อลดลง ชี้ ภาคการท่องเที่ยว อุ้มเศรษฐกิจในประเทศ ช่วยพยุงการบริโภค

และการใช้จ่า ย พร้อมปรับประมาณการดัชนี MPI ปี 2566 คาดหดตัวร้อยละ 2.8 3.8 และ GDP ภาคอุตสาหกรรม หดตัวร้อยละ 1.5 2.5 แม้การ บริโภคภาคเอกชนยังขยายตัวดี การลงทุนใน ประเทศ มีทิศทาง

ขยายตัวเพิ่มขึ้น การฟื้นตัวของภาคการท่องเที่ยว และมีความชัดเจนทางการเมือง

นางวรวรรณ ชิตอรุณ ผู้อำนวยการสำนักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม (สศอ.) เปิดเผยว่า ดัชนีผลผลิต

อุตสาหกรรม ( MPI) เดือน กรกฎาคม ปี 256 2566 อยู่ที่ระดับ 91.14 ลดลงร้อยละ 4.43 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกัน

ของปีก่อน ด้าน อัตราการใช้กำลังการผลิตอยู่ที่ร้อยละ 58.19 เป็นผล จาก การส่งออกสินค้าอุตสาหกรรม ยังคง

ลดลง หลัง เศรษฐกิจโลก ชะลอตัว จากกำ ลังซื้อในตลาดโลกลดลง ส่งผลกระทบ ต่อ ภาคอุตสาหกรรมโดยเฉพาะ

กลุ่มที่ผลิตเพื่อส่งออกเป็นหลัก รวมถึง รายได้เกษตรกรในเดือนมิถุนายน 2566 ยังคงหดตัวร้อยละ 1.1

หดตัวต่อเนื่องเป็นเดือนที่สามติดต่อกัน สะท้อน กำลัง ซื้อจากภาคเกษตรที่ยังคง ลดลง ทั้งนี้ ยังคงต้องติดตาม

ปรากฏการณ์เอลนีโญ ที่ส่ง ผล ให้ปริมาณฝนของประเทศไทยมีแนวโน้ม ต่ำ กว่าค่าปกติ และ มี ผลต่อ

ผู้ประกอบการกลา งน้ำถึงปลาย น้ำ ของไทย อย่างไรก็ดี เศรษฐกิจในประเทศยังคงขับเคลื่อนได้จาก

ภาคการท่องเที่ยว ที่ ช่วยพยุงการบริโภคและการใช้จ่ายในประเทศ หลัง จากดัชนีผลผลิตอุตสาหกรรมที่ผลิต

เพื่อตอบสนองในประเทศยังคงขยายตัว เพิ่มขึ้น ร้อยละ 0.7

อย่างไรก็ตาม

การส่งออกสินค้าอุตสาหกรรม (ไม่รวมทองคำ อาวุธ รถถัง และอากาศยาน) มี มูลค่าอยู่ที่

16,969.7 0 ล้านเหรียญสหรัฐ ลดลงร้อยละ 1.3 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน โดย อุตสาหกรรม ที่

ส่งผลบวก คือ รถยนต์ ขยายตัวร้อยละ 5.34 ตามการขยายตัวของการส่งออกรถยนต์ ที่ เพิ่มขึ้นร้อยละ 30.1 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน โดยตลาดส่งออกมีการเพิ่มขึ้นในแถบตลาดเอเชีย โอเชียเนีย ตะวันออกกลาง

แอฟริกา ยุโรป และอเมริกากลางและใต้ ส่วนการจำหน่าย รถยนต์ในประเทศ ลดลงร้อยละ 8.8 เนื่องจาก

หนี้ครัวเรือนอยู่ในระดับสูง ส่งผลให้สถาบันการเงินมีการเข้มงวดในการให้สินเชื่อมากขึ้น รวมทั้งอัตราดอกเบี้ย

ที่มีแนวโน้มสูงขึ้นส่งผลต่ออุปสงค์ในประเทศ ขณะที่ การกลั่นน้ำมัน ขยายตัวร้อยละ 4.99 จากน้ำ มันเครื่องบิน

ก๊าซหุงต้ม และแก๊สโซฮอล์ 91 ตามการท่องเที่ยว ที่ ขยายตัวต่อเนื่อง ด้าน เหล็กและเหล็กกล้า ขยายตัวร้อยละ

7.11 จากเหล็กแผ่นรีดร้อน ท่อเหล็กกล้า เหล็กรูปพรรณรีดร้อน และเหล็กเส้นกลม โดย ปรับตัวเป็นบวก

เป็นเดือนแรกในรอบ 19 เดือน หลังราคาสินค้าปรับตัวดีขึ้นสอดคล้องกับปริมาณเหล็ก นำ เข้าล ดจำนวน ลง

?

?หลังจาก หลังจาก 77 เดือนเดือนแรกแรกของปี 2566 ของปี 2566 ดัชนีผลผลิตอุตสาหกรรม (ดัชนีผลผลิตอุตสาหกรรม (MPI) หดตัวร้อยละ 4.หดตัวร้อยละ 4.5454 ส่งผลให้ ส่งผลให้ สศอ.สศอ. ปรับประมาณการดัชนีปรับประมาณการดัชนี MPI ปี 2566 คาดว่าจะหดตัวร้อยละ ปี 2566 คาดว่าจะหดตัวร้อยละ 2.8 2.8 -- 3.83.8 ส่วนการขยายตัวของเศรษฐกิจ (ส่วนการขยายตัวของเศรษฐกิจ (GDP) ) ภาคอุตสาหกรรม ครึ่งปีแรก ปี 2566 หดตัวร้อยละ 3.2 ภาคอุตสาหกรรม ครึ่งปีแรก ปี 2566 หดตัวร้อยละ 3.2 ทำให้คาดว่าทำให้คาดว่าปี 2566 ปี 2566 จะหดตัวร้อยละ จะหดตัวร้อยละ 1.5 1.5 -- 2.5 2.5 โดยมีปัจจัยกดดันจากโดยมีปัจจัยกดดันจากการชะลอตัวของเศรษฐกิจโลกการชะลอตัวของเศรษฐกิจโลก ราคาพลังงานทรงตัวในระดับสูงราคาพลังงานทรงตัวในระดับสูง อีกทั้งอีกทั้งปัญหาภาคการเงินปัญหาภาคการเงินของประเทศต่าง ๆของประเทศต่าง ๆ ความขัดแย้งด้านภูมิรัฐศาสตร์ความขัดแย้งด้านภูมิรัฐศาสตร์ การเปลี่ยนแปลงของสภาพภูมิอากาศการเปลี่ยนแปลงของสภาพภูมิอากาศส่งผลต่อผลผลิตส่งผลต่อผลผลิต ทางการเกษตรทางการเกษตร อัตราดอกเบี้ยที่ยังคงสูง ส่งผลต่อต้นทุนการผลิตของผู้ประกอบการ อัตราดอกเบี้ยที่ยังคงสูง ส่งผลต่อต้นทุนการผลิตของผู้ประกอบการ และและภาระหนี้สินครัวเรือนที่อยู่ภาระหนี้สินครัวเรือนที่อยู่ในระดับสูงในระดับสูง ขณะเดียวกัน ยังคงมีปัจจัยสนับสนุนจากขณะเดียวกัน ยังคงมีปัจจัยสนับสนุนจากการบริโภคภาคเอกชนยังขยายตัวดีการบริโภคภาคเอกชนยังขยายตัวดี การลงทุนในประเทศการลงทุนในประเทศ ทั้งภาคเอกชนและภาครัฐมีทิศทางขยายตัวเพิ่มขึ้นทั้งภาคเอกชนและภาครัฐมีทิศทางขยายตัวเพิ่มขึ้น การฟื้นตัวของภาคการท่อการฟื้นตัวของภาคการท่องเที่ยวงเที่ยว และและมีความชัดเจนมีความชัดเจน ทางการเมืองทางการเมือง? ? นางวรวรรณ กล่าวนางวรวรรณ กล่าว

สำหรับอุตสาหกรรมหลักที่ส่งผลบวกต่อดัชนีผลผลิตในเดือนสำหรับอุตสาหกรรมหลักที่ส่งผลบวกต่อดัชนีผลผลิตในเดือนกรกฎาคมกรกฎาคม 2566 เมื่อเทียบกับ 2566 เมื่อเทียบกับ ช่วงเดียวกันของปีก่อน ได้แก่ช่วงเดียวกันของปีก่อน ได้แก่

ยานยนต์

ยานยนต์ ขยายตัวจากช่วงเดียวกันของปีก่อนขยายตัวจากช่วงเดียวกันของปีก่อนร้อยละร้อยละ 5.34 จากรถยนต์นั่งขนาดกลางจากรถยนต์นั่งขนาดกลาง ขนาดเล็ก และขนาดเล็ก และเครื่องยนต์แก๊สโซลีน เป็นหลัเครื่องยนต์แก๊สโซลีน เป็นหลัก ก ตามการขยายตัวของตลาดตามการขยายตัวของตลาดส่งออกส่งออก ที่เพิ่มขึ้นเกือบทุกตลาดที่เพิ่มขึ้นเกือบทุกตลาด ยกเว้นตลาดอเมริกายกเว้นตลาดอเมริกาเหนือที่ลดลงเหนือที่ลดลง

ผลิตภัณฑ์ที่ได้จากการกลั่นปิโตรเลียม

ผลิตภัณฑ์ที่ได้จากการกลั่นปิโตรเลียม ขยายตัวจากช่วงเดียวกันของปีก่อนขยายตัวจากช่วงเดียวกันของปีก่อนร้อยละร้อยละ 4.994.99 จากน้ำมันจากน้ำมันเครื่องบินเครื่องบิน ก๊าซหุงต้ม และแก๊สโซฮอก๊าซหุงต้ม และแก๊สโซฮอล์ ล์ 91 เป็นหลัก ตามการท่องเที่ยว91 เป็นหลัก ตามการท่องเที่ยวที่ที่ขยายตัวต่อเนื่อง ขยายตัวต่อเนื่อง

เหล็กและเหล็กกล้าขั้นมูลฐาน

เหล็กและเหล็กกล้าขั้นมูลฐาน ขยายตัวจากช่วงเดียวกันของปีก่อนขยายตัวจากช่วงเดียวกันของปีก่อนร้อยละร้อยละ 7.117.11 จากเหล็กแผ่นรีดร้อนจากเหล็กแผ่นรีดร้อน ท่อเหล็กกล้าท่อเหล็กกล้า เหล็กรูปพรรณรีดร้อน เหล็กรูปพรรณรีดร้อน และเหล็กเส้นกลม เป็นหลักและเหล็กเส้นกลม เป็นหลัก ขยายตัวครั้งแรขยายตัวครั้งแรกในรอบ 19 เดือกในรอบ 19 เดือน หลังจากน หลังจาก ผู้รับซื้อเหล็กภายในประเทศลดการนำเข้าเหล็ก และใช้เหล็กที่ผลิตในประเทศแทน ผู้รับซื้อเหล็กภายในประเทศลดการนำเข้าเหล็ก และใช้เหล็กที่ผลิตในประเทศแทน

น้ำตาล

น้ำตาล ขยายตัวจากช่วงเดียวกันของปีก่อนขยายตัวจากช่วงเดียวกันของปีก่อนร้อยละร้อยละ 15.4015.40 จากน้ำตาลทรายขาว และขาวบริสุทธิ์ จากน้ำตาลทรายขาว และขาวบริสุทธิ์ ตามความตามความต้องการบริโภคต้องการบริโภคที่มีที่มีมากขึ้นจากทั้งภาคครัวเรือนและภาคมากขึ้นจากทั้งภาคครัวเรือนและภาคการท่องเที่ยวการท่องเที่ยว

เครื่องปรุงอาหารประจำโต๊

เครื่องปรุงอาหารประจำโต๊ะ ขยายตัวจากช่วงเดียวกันของปีก่อนขยายตัวจากช่วงเดียวกันของปีก่อนร้อยละร้อยละ 14.0914.09 จากซอสพริก จากซอสพริก และผงชูรส เป็นหลัก โดยขยายตัวจากตลาดส่งออกไปสหรัฐอเมริกาและภูมิภาคอื่นและผงชูรส เป็นหลัก โดยขยายตัวจากตลาดส่งออกไปสหรัฐอเมริกาและภูมิภาคอื่น ๆ ของโลกๆ ของโลก รวมถึงรวมถึง ความต้องการในประเทศหลังการท่องเที่ยวขยายตัวต่อเนื่องความต้องการในประเทศหลังการท่องเที่ยวขยายตัวต่อเนื่อง

ดัชนีผลผลิตอุตสาหกรรมและอัตราการใช้กำลังการผลิต (รายเดือน)

ดัชนีผลผลิตอุตสาหกรรมและอัตราการใช้กำลังการผลิต (รายเดือน)

Index

2565

2566

2566

ก.ค.

ก.ค.

ส.ค.

ส.ค.

ก.ย.

ก.ย.

ต.คค.

พ.ยย.

ธ.ค.

ธ.ค.

ก.พ.

ก.พ.

มี.ค.

มี.ค.

เม.ย.

เม.ย.

พ.ค.

พ.ค.

มิ.ย.

มิ.ย. ก.ค.ก.ค.

ดัชนีผลผลิต

ดัชนีผลผลิตอุตสาหกรรมอุตสาหกรรม

95.36

99.34

97.50

93.39

95.32

93.63

99.22

105.42

82.99

94.89

92.7676 91.1491.14

อัตราการ

อัตราการเปลี่ยนแปลง เปลี่ยนแปลง ((MOM) %) %

-2.34

4.17

-1.85

-4.22

2.07

-1.77

-0.12

6.25

-21.28

14.34

-2.2424 --1.751.75

อัตราการ

อัตราการเปลี่ยนแปลง เปลี่ยนแปลง ((YOY) %) %

6.00

14.60

3.01

-4.27

-5.30

-8.45

-2.38

-3.86

-8.71

-3.05

-

-5.005.00 --4.434.43

อัตราการใช้

อัตราการใช้กำลังการผลิตกำลังการผลิต

60.84

63.87

63.57

60.07

61.34

59.56

62.77

66.49

53.55

60.25

59.222 58.1958.19

ที่มา : กองสารสนเทศและดัชนีเศรษฐกิจอุตสาหกรรม สำนักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม ข้อมูล ณ วันที่

ที่มา : กองสารสนเทศและดัชนีเศรษฐกิจอุตสาหกรรม สำนักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม ข้อมูล ณ วันที่ 3131 สิงหาสิงหาคมคม 25666

ที่มา: สำนักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม กระทรวงอุตสาหกรรม


เว็บไซต์นี้มีการใช้งานคุกกี้ ศึกษารายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และ ข้อตกลงการใช้บริการ รับทราบ