สศอ. เผยส่งออก อุตสาหกรรม ยังชะลอตัว จากพิษเศรษฐกิจโลก กดดัน ดัชนี MPI เดือน ก.ย 2566 หดตัวร้อยละ 6.06 ประมาณการ GDP ภาคอุตฯ ปีนี้ คาดว่าหดตัวร้อยละ 2.5 3.0

ข่าวเศรษฐกิจ Tuesday October 31, 2023 15:05 —สำนักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม

สศอ.

เผยส่งออก อุตสาหกรรม ยังชะลอตัว จากพิษเศรษฐกิจโลก กดดัน ดัชนี MPI

เดือน

ก.ย 2566 หดตัวร้อยละ 6.06 ประมาณการ GDP ภาคอุตฯ ปีนี้ คาด ว่า หดตัวร้อยละ 2.5 3.0

สำนักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม (สศอ เผยดัชนี ผล ผลิตอุตสาหกรรม ( MPI) เดือน กันยายน

ปี 2566 อยู่ ที่ ระดับ 91.60 ลดลง ร้อยละ 6.06 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน ส่วนไตรมาส 3 ปี 2566

ลดลงเฉลี่ยร้อยละ 6.19 ส่งผลให้ 9 เดือนแรกของปี 2566 อยู่ที่ระดับ 94.31 ลดลงร้อยละ 5.09

หลัง การส่งออกสินค้าอุตสาหกรรมชะลอตัว สะท้อนแนวโน้มเศรษฐกิจโลกยังคงชะลอตัวต่อเนื่อง

และค่าเงินบาทอ่อนค่าลง กดดัน GDP ภาคอุตฯ ปีนี้คาดหดตัว ร้อยละ 2.5 3.0

นางวรวรรณ ชิตอรุณ ผู้อำนวยการสำนักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม (สศอ.) เปิดเผยว่า ดัชนีผลผลิต

อุตสาหกรรม ( MPI) เดือน กันยายน ปี 256 2566 อยู่ที่ระดับ 91 60 ลดลงร้อยละ 6.06 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกัน

ของปีก่อน ส่วน ไตรมาส 3 ปี 2566 ลดลงเฉลี่ยร้อยละ 6.19 ส่งผลให้ 9 เดือนแรกของปี 2566 อยู่ที่ระดับ

94.31 ลดลงร้อยละ 5.09 ด้าน อัตราการใช้กำลังการผลิต เดือนกันยายน อยู่ที่ ร้ อยละ 58. 02 และ 9 เดือนแรก

อยู่ที่ร้อยละ 5 9 .83 ส่วน ไตรมาส 3 ปี 2566 อยู่ที่เฉลี่ยร้อยละ 58.01 ตาม การส่งออกสินค้าอุตสาหกรรม ที่ ยัง

ชะลอตัว สะท้อนแนวโน้มเศรษฐกิจโลกยัง คงชะลอตัว ต่อเนื่อง จากความขัดแย้งระหว่างประเทศ ที่ยังยืดเยื้อ

รวมถึง ค่า เงินบาท ในเดือนกันยายน 2566 อ่อนค่าลงร้อยละ 4.23 หรือ ประมาณ 1.50 บาท โดยมี เงินทุน

ไหลออกประเทศจากความกังวลการปรับขึ้นดอกเบี้ยของ ธนาคารกลางสหรัฐ เฟด ) ส่งผลให้ราคาวัตถุดิบนำเข้า

เพิ่มสูงขึ้น อีกทั้ง เศรษฐกิจในประเทศยังฟื้นตัวช้า จาก โครงสร้างการส่งออกของภาคการผลิตไทย ไม่ตอบสนอง

ความต้องการของโลกในยุคปัจจุบัน อย่างไรก็ดี ภาคการท่องเที่ยว ยังคง ขยายตัวต่อเนื่อง จากข้อมูล จำนวน

นักท่องเที่ยว 9 เดือนแรก ปี 2566 อยู่ที่ 20 ล้านคน ขยายตัวร้อยละ 254.98 ทำให้ความต้องการสินค้า

อุตสาหกรรมเพิ่มขึ้น โดยเฉพาะกลุ่มอาหารและเครื่องดื่ม อาทิ น้ำตาล การแปรรูปและการถนอมผลไม้และผัก

ผลิตภัณฑ์นม เบียร์ และ เนื้อไก่แช่แข็งและแช่เย็น

นอกจากนี้ การเตือนภัยด้านเศรษฐกิจอุตสาหกรรมของไทย ภาพรวม เดือน ตุลาคม 2566 ?ส่งสัญญาณเฝ้า

ระวังในช่วงขาลง? จาก ปัจจัยภายในประเทศชะลอตัวตามการลงทุนและความเชื่อมั่นภาคอุตสาหกรรมที่ลดล ง

โดย ดัชนีการลงทุนภาคเอกชนของไทยหดตัว ลง จากการนำเข้าสินค้าทุน รวมถึง พื้นที่ได้รับอนุญาตก่อสร้าง และ

ยอดจดทะเบียนรถยนต์เชิ ง พาณิชย์ใหม่ ลดลง เมื่อเทียบกับเดือนก่อนหน้า ด้าน ดัชนีความเชื่อมั่นภาคอุตสาหกรรม

3 เดือนข้างหน้า ชะลอตัวในช่วงขาลง จากความกังวลต่อเศรษฐกิจโลกที่ชะลอตัว การอ่อนค่าของเงินบาท

และมาตรการกระตุ้นเศรษฐกิจของภาครัฐที่ยังไม่มีความชัดเจน ขณะที่ ปัจจัยต่างประเทศ ยัง มีทิศทางชะลอตัว

และส่งสัญญาณเฝ้าร ระวังต่อเนื่อ

?

?หลังจาก 9 เดือนแรก ปี 2566 หลังจาก 9 เดือนแรก ปี 2566 ดัชนี ดัชนี MPI ลดลงร้อยละ 5.09 ส่งผลให้ ลดลงร้อยละ 5.09 ส่งผลให้ สศอ. สศอ. ปรับประมาณการดัชนี ปรับประมาณการดัชนี MPI ปี 2566 อยู่ที่ลดลงร้อยละ ปี 2566 อยู่ที่ลดลงร้อยละ 4.04.0 -- 4.4.55 จากประมาณการเดิมลดลงร้อยละ จากประมาณการเดิมลดลงร้อยละ 2.8 2.8 -- 3.8 3.8 ด้านด้านการการขยายตัวของขยายตัวของเศรษฐกิจเศรษฐกิจ ((GDP) ) ภาคอุตสาหกรรมภาคอุตสาหกรรม ปี 2566 ปี 2566 คาดหดตัวคาดหดตัวร้อยละ ร้อยละ 2.2.55 ?? 3.03.0 จากประมาณการครั้งก่อนคาดจากประมาณการครั้งก่อนคาดว่าจะว่าจะหดตัวร้อยละ หดตัวร้อยละ 1.5 1.5 -- 2.52.5 จากเศรษฐกิจโลกที่ยังชะลอตัว ค่าเงินบาทที่อ่อนค่า และความขัดแย้งระหว่างประเทศยังยืดเยื้อจากเศรษฐกิจโลกที่ยังชะลอตัว ค่าเงินบาทที่อ่อนค่า และความขัดแย้งระหว่างประเทศยังยืดเยื้อ? ? นางวรวรรณ กล่าวนางวรวรรณ กล่าว

สำหรับอุตสาหกรรมหลักที่ส่งผลบวกต่อดัชนีผลผลิตในเดือนสำหรับอุตสาหกรรมหลักที่ส่งผลบวกต่อดัชนีผลผลิตในเดือนกันยายนกันยายน 2566 เมื่อเทียบกับ 2566 เมื่อเทียบกับ ช่วงเดียวกันของปีก่อน ได้แก่ช่วงเดียวกันของปีก่อน ได้แก่

พลาสติกและยางสังเคราะห์ขั้นต้น

พลาสติกและยางสังเคราะห์ขั้นต้น ขยายตัวจากช่วงเดียวกันของปีก่อนขยายตัวจากช่วงเดียวกันของปีก่อนร้อยละร้อยละ 12.3512.35 จาก จาก Polyethylene resin, Ethylene และ และ Polypropylene resin เป็นหลัก เป็นหลัก โดยในโดยในปีก่อนปีก่อนมีการลดการผลิตมีการลดการผลิตเนื่องจากมีเนื่องจากมี Over supply ในตลาดโลกในตลาดโลก และมีการหยุดซ่อมบำรุงของผู้ผลิตบางรายและมีการหยุดซ่อมบำรุงของผู้ผลิตบางราย

น้ำตาล

น้ำตาล ขยายตัวจากช่วงเดียวกันของปีก่อนขยายตัวจากช่วงเดียวกันของปีก่อนร้อยละร้อยละ 74.6474.64 จากน้ำตาลทรายขาวบริสุทธิ์และน้ำตาลจากน้ำตาลทรายขาวบริสุทธิ์และน้ำตาลทรายขาว ทรายขาว เป็นหลัก เป็นหลัก ตามความต้องการของตลาดส่งออก และตลาดในประเทศ ตามความต้องการของตลาดส่งออก และตลาดในประเทศ ซึ่งซึ่งการงดส่งออกน้ำตาลของการงดส่งออกน้ำตาลของประเทศประเทศอินเดียจะส่งผลให้ไทยได้รับคำสั่งซื้อเพิ่มอินเดียจะส่งผลให้ไทยได้รับคำสั่งซื้อเพิ่มขึ้นขึ้น สำหรับตลาดในประเทศขยายตัวตามกิจกรรมเศรษฐกิจสำหรับตลาดในประเทศขยายตัวตามกิจกรรมเศรษฐกิจโดยเฉพาะภาคการท่องเที่ยวที่ขยายตัวต่อเนื่องโดยเฉพาะภาคการท่องเที่ยวที่ขยายตัวต่อเนื่อง และมีคำสั่งซื้อของผู้รับซื้อรายใหญ่และมีคำสั่งซื้อของผู้รับซื้อรายใหญ่

สายไฟและเคเบิ้ลอื่นๆ

สายไฟและเคเบิ้ลอื่นๆ ขยายตัวจากช่วงเดียวกันของปีก่อนขยายตัวจากช่วงเดียวกันของปีก่อนร้อยละร้อยละ 29.5229.52 จากสายไฟฟ้า เป็นหลัก จากสายไฟฟ้า เป็นหลัก เนื่องจากมีรอบคำสั่งซื้อเนื่องจากมีรอบคำสั่งซื้อจากการไฟฟ้าจากการไฟฟ้านครหลวง ส่วนภูมิภาค และฝ่ายผลิตนครหลวง ส่วนภูมิภาค และฝ่ายผลิต รวมถึงงานโครงการของภาครัฐรวมถึงงานโครงการของภาครัฐและเอกชนมากขึ้นและเอกชนมากขึ้น

เส้นใยประดิษฐ์

เส้นใยประดิษฐ์ ขยายตัวจากช่วงเดียวกันของปีก่อนขยายตัวจากช่วงเดียวกันของปีก่อนร้อยละร้อยละ 333.12 3.12 จากเส้นใยประดิษฐ์อื่นจากเส้นใยประดิษฐ์อื่น ๆ และๆ และ เส้นใยโพลีเอสเตอร์ เส้นใยโพลีเอสเตอร์ จากจากคำสั่งซื้อของตลาดคำสั่งซื้อของตลาดส่งออกส่งออกที่เพิ่มขึ้นที่เพิ่มขึ้น เช่น เช่น อินเดีย อินเดีย และและจีน จีน เพื่อนำไปผลิตเป็นชิ้นส่วนต่างเพื่อนำไปผลิตเป็นชิ้นส่วนต่าง ๆๆ ((หลังคา เบาะ หรือ สายพานต่างๆหลังคา เบาะ หรือ สายพานต่างๆ) และเสื้อผ้ากีฬา) และเสื้อผ้ากีฬา

แปรรูปและการถนอมผลไม้และผัก

แปรรูปและการถนอมผลไม้และผัก ขยายตัวจากช่วงเดียวกันของปีก่อนขยายตัวจากช่วงเดียวกันของปีก่อนร้อยละร้อยละ 10.84 10.84 จากข้าวโพดจากข้าวโพดหวานกระป๋องหวานกระป๋อง กะทิกะทิ และน้ำผลไม้ เป็นหลัก โดยข้าวโพดหวานกระป๋อง ได้รับคำสั่งซื้อและน้ำผลไม้ เป็นหลัก โดยข้าวโพดหวานกระป๋อง ได้รับคำสั่งซื้ออย่างอย่างต่อเนื่องจากต่อเนื่องจากสหรัฐอเมริกาและญี่ปุ่น สหรัฐอเมริกาและญี่ปุ่น ส่วนส่วนกะทิ ลูกค้ากลับมามีคำสั่งซื้อหลังชะลอตัวในช่วงก่อนหน้า และน้ำผลไม้ กะทิ ลูกค้ากลับมามีคำสั่งซื้อหลังชะลอตัวในช่วงก่อนหน้า และน้ำผลไม้ มีการมีการเร่งเร่งผลิตหลังเริ่มต้นฤดูเก็บเกี่ยวสับปะรดรอบใหม่ผลิตหลังเริ่มต้นฤดูเก็บเกี่ยวสับปะรดรอบใหม่

ดัชนีผลผลิตอุตสาหกรรมและอัตราการใช้กำลังการผลิต (รายเดือน)

ดัชนีผลผลิตอุตสาหกรรมและอัตราการใช้กำลังการผลิต (รายเดือน)

Index

2565

2566

2566

ก.ค.

ก.ค.

ส.ค.

ส.ค.

ก.ย.

ก.ย.

ต.คค.

พ.ยย.

ธ.ค.

ธ.ค.

เม.ย.

เม.ย.

พ.ค.

พ.ค.

มิ.ย.

มิ.ย.

ก.ค.

ก.ค.

ส.ค.

ส.ค. ก.ย.ก.ย.

ดัชนีผลผลิต

ดัชนีผลผลิตอุตสาหกรรมอุตสาหกรรม

95.36

99.34

97.50

93.39

95.32

93.63

82.99

94.89

92.7676

90.88

90.88

91.

91.6464 91.6091.60

อัตราการ

อัตราการเปลี่ยนแปลง เปลี่ยนแปลง ((MOM) %) %

-2.34

4.17

-1.85

-4.22

2.07

-1.77

-21.28

14.34

-2.2424

-

-2.032.03

0.84

0.84 --0.050.05

อัตราการ

อัตราการเปลี่ยนแปลง เปลี่ยนแปลง ((YOY) %) %

6.00

14.60

3.01

-4.27

-5.30

-8.45

-8.71

-3.05

-

-5.005.00

-

-4.694.69

-

-7.757.75 --6.066.06

อัตราการใช้

อัตราการใช้กำลังการผลิตกำลังการผลิต

60.84

63.87

63.57

60.07

61.34

59.56

53.55

60.25

59.222

58.09

58.09

5

57.917.91 58.0258.02

ที่มา : กองสารสนเทศและดัชนีเศรษฐกิจอุตสาหกรรม สำนักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม ข้อมูล ณ วันที่

ที่มา : กองสารสนเทศและดัชนีเศรษฐกิจอุตสาหกรรม สำนักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม ข้อมูล ณ วันที่ 3131 ตุลาคมตุลาคม 25666

ดัชนีผลผลิตอุตสาหกรรมและอัตราการใช้กำลังการผลิต (รายไตรมาส)

ดัชนีผลผลิตอุตสาหกรรมและอัตราการใช้กำลังการผลิต (รายไตรมาส)

Index

2565

2566

Q1

Q2

Q3

Q4

Q1

Q2 Q33

ดัชนีผลผลิตอุตสาหกรรม

ดัชนีผลผลิตอุตสาหกรรม

105.22

95.47

97.40

94.11

101.33

90.2121 91.3791.37

อัตราการเปลี่ยนแปลงเมื่อเทียบกับ

อัตราการเปลี่ยนแปลงเมื่อเทียบกับไตรมาสก่อน %ไตรมาสก่อน %

5.05

-9.26

2.02

-3.38

7.67

-10.970.97 1.281.28

อัตราการเปลี่ยนแปลงเมื่อเทียบกับ

อัตราการเปลี่ยนแปลงเมื่อเทียบกับไตรมาสเดียวกันของปีก่อน %ไตรมาสเดียวกันของปีก่อน %

1.44

-1.07

7.70

-6.04

-3.70

-5.511 --6.196.19

อัตราการใช้กำลังการผลิต

อัตราการใช้กำลังการผลิต

66.77

61.20

62.76

60.32

63.81

57.688 58.0158.01

ที่มา : กองสารสนเทศและดัชนีเศรษฐกิจอุตสาหกรรม สำนักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม ข้อมูล ณ วันที่ 31

ที่มา : กองสารสนเทศและดัชนีเศรษฐกิจอุตสาหกรรม สำนักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม ข้อมูล ณ วันที่ 31 ตุลาคมตุลาคม 25666

ที่มา: สำนักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม กระทรวงอุตสาหกรรม


เว็บไซต์นี้มีการใช้งานคุกกี้ ศึกษารายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และ ข้อตกลงการใช้บริการ รับทราบ