เอส ไรคส์ แนะนำหลักการทำงานของ Metering pump EMEC

ข่าวทั่วไป Friday May 12, 2017 09:37 —ThaiPR.net

กรุงเทพฯ--12 พ.ค.--เอส ไรคส์ เอส ไรคส์ แนะนำหลักการทำงานของ Metering pump EMEC การเลือกเครื่องจ่ายสารละลายคลอรีน ชนิดฉีดอัดเข้าเส้นท่อ chemical feed pumps หรือเครื่องดูดจ่ายสารละลาย ใช้กับสารเคมีทั่วไป กรดอ่อน เบสอ่อน ปั๊มเคมี ตัวดูด ตัวจ่ายสารละลาย เครื่องดูดจ่ายสารละลายคลอรีน EMEC สำหรับสระว่ายน้ำ ฟาร์ม ระบบปรับสภาพน้ำ ปั๊มบำบัดน้ำเสีย ไดอะแฟรมปั๊ม ปั๊มเคมี ปั๊มสำหรับสูบจ่ายของเหลว ของหนืด สารเคมี ของไหล ควรเลือกที่ทนต่อการกัดกร่อนของสารเคมี วัสดุหัวปั๊มที่ทนสารเคมีได้แทบทุกชนิด คือ PVDF liquid end ซึ่งเหมาะสำหรับการจ่ายคลอรีน แพค โพลิเมอร์ กรด ด่าง หากเติมเคมีชนิดอื่น ควรให้ผู้จำหน่ายปั๊มเลือกวัสดุหัวปั๊ม ให้เหมาะกับการใช้งาน เช่น Pump head เป็น SS316 PP PVC อีกทั้งการเลือกรุ่นปั๊มเคมี ปั๊มคลอรีน ควรเลือกตาม หลักการทำงานของปั๊ม chemical feed pumps ที่เหมาะกับการใช้งานจริง เช่นการจ่ายสารละลาย สูงสุดที่ 1.5 ลิตร/ชั่วโมง 2 ลิตร/ชั่วโมง 3 ลิตร/ชั่วโมง 500 ลิตร/ชั่วโมง หรือ 1000 ลิตร/ชั่วโมง เพื่อให้เครื่องจ่ายสารละลายที่ใช้ จ่ายปริมาณที่ถูกต้อง และตรงกับการใช้งาน แผ่น Diaphragm Pump ควรเลือกวัสดุ PTFE ทั้งชิ้น เพราะสัมผัสกับสารละลายตลอดเวลา ทำหน้าที่ปั๊ม ผลัก อัดของเหลวที่เป็นน้ำหรือสารละลายเคมี ส่งไปในเส้นท่อ เช่น เกลือ กรด ด่าง โซดาไฟ เครื่องจ่ายสารละลายสารส้มชนิด DIAPHRAGM ซึ่งสามารถจ่ายสารละลายสารส้ม chemical feed pumps ปรับค่าความละเอียดของอัตราการจ่าย ได้โดยการ INJECTION และสามารถจ่ายเข้าเส้นท่อที่มีความดัน ใช้กับไฟฟ้า 1 เฟส 220 โวลท์ 50 เฮิร์ท ส่วนประกอบและอุปกรณ์ต่างๆ ที่ สารละลายคลอรีนผ่านจะต้องเป็นวัสดุที่ไม่มีปฏิกิริยากับสารละลายสารส้ม ติดต่อ ทีมงาน เอส ไรคส์ ได้ที่ 02-2618818 หรือ info@sreichcompany.com ฝ่ายการตลาด add line เพิ่มเพื่อนในไลน์ sreich
แท็ก ละลาย   เคมี  

เว็บไซต์นี้มีการใช้งานคุกกี้ ศึกษารายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และ ข้อตกลงการใช้บริการ รับทราบ