I. ข้อมูลพื้นฐานทั่วไป
- เนื้อที่ (ตารางไมล์) 50,943
- จำนวนประชากร (ล้านคน) 10.20 (1993)
- เมืองหลวง ATHENS
- เมืองธุรกิจ ATHENS, THESSALONIKI, PATRAS, IRAKLION,
VOLOS, LARISSA
- โครงสร้างทางเศรษฐกิจ (%) - อุตสาหกรรมและเหมืองแร่ 16.7- เกษตรกรรม 14.9
- ก่อสร้าง 6.7- พาณิชย์และบริการ 15.3
- อื่น ๆ 46.4
- อัตราการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ 0.7 % (1994)
- อัตราเงินเฟ้อ 10.3 % (1995)
- รายได้เฉลี่ยต่อคน (เหรียญสหรัฐ) 7,700 (1994)
- อัตราแลกเปลี่ยนเงินตรา US$1 = 252.00 DRACHMAS
- ทรัพยากรธรรมชาติที่สำคัญ N.A.
- สินค้าส่งออกและนำเข้าที่สำคัญ - ส่งออก ผัก-ผลไม้สดและสำเร็จรูป ผลิตภัณฑ์สิ่งทอ
เสื้อผ้าสำเร็จรูป ผลิตภัณฑ์ปิโตรเลียม แร่ต่าง ๆ
ผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม ใบยาสูบ
- นำเข้า ผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม เครื่องจักรกล
ผลิตภัณฑ์-อาหาร อาหารทะเล น้ำมันดิบ เคมีภัณฑ์
ปุ๋ย เหล็กและเหล็กกล้า
- ประเทศคู่ค้าที่สำคัญ - ส่งออก เยอรมนี อิตาลี ฝรั่งเศส อังกฤษ สหรัฐ
เนเธอร์แลนด์
- นำเข้า เยอรมนี อิตาลี ฝรั่งเศส เนเธอร์แลนด์
ญี่ปุ่น อังกฤษ
- ภาษา กรีก อังกฤษ ฝรั่งเศส
- ศาสนา กรีกออโธด๊อกซ์
- เวลาแตกต่างจากไทย ช้ากว่า 5 ชั่วโมง
- ผู้นำประเทศ ประธานาธิบดี CONSTAN TINE KARAMANILLIS
II. ความสัมพันธ์ทางการค้ากับประเทศไทย
ภาครัฐบาล
1. ความตกลงว่าด้วยการบริการเดินอากาศ ลงนามเมื่อวันที่ 31 พฤษภาคม 2515
2. ความตกลงว่าด้วยความร่วมมือทางเศรษฐกิจ วิทยาศาสตร์ และวิชาการไทย-กรีซ คณะรัฐมนตรีมีมติ
เมื่อวันที่ 4 ตุลาคม 2531 เห็นชอบร่างความตกลง แต่ยังมิได้มีการลงนาม
3. ความตกลงด้านการท่องเที่ยว ลงนามเมื่อวันที่ 4 มีนาคม 2535
ภาคเอกชน
1. ไม่มีความตกลงทางการค้าระหว่างกัน
III. ภาวะการค้ากับประเทศไทย
1. การส่งออก ในปี 2537 และปี 2538 ไทยส่งออกไปยังกรีซเป็นมูลค่า 1,236.3 ล้านบาท และ
1,783.2 ล้านบาท ตามลำดับ คิดเป็นสัดส่วนประมาณร้อยละ 0.1 และ 0.1 ของมูลค่าการส่งออก
ทั้งหมดของประเทศ
2. สินค้าส่งออกที่สำคัญของไทย ได้แก่ เครื่องปรับอากาศ อัญมณีและเครื่องประดับ รองเท้าและชิ้นส่วน
เสื้อผ้าสำเร็จรูป ผลิตภัณฑ์ยาง รถจักรยานยนต์และส่วนประกอบ เครื่องรับวิทยุ โทรทัศน์และส่วนประกอบ
ตู้เย็นและชิ้นส่วน ตาข่ายจับปลา ผลิตภัณฑ์พลาสติก
3. การนำเข้า ในปี 2537 และปี 2538 ไทยนำเข้าไปยังกรีซเป็นมูลค่า 466.5 ล้านบาท และ
676.2 ล้านบาท ตามลำดับ
4. สินค้านำเข้าที่สำคัญของไทย ได้แก่ แร่ดิบ เส้นใยใช้ในการทอ ผลิตภัณฑ์นม เครื่องคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์และส่วนประกอบ เคมีภัณฑ์ สินแร่ โลหะอื่น ๆ และเศษโลหะ เครื่องจักรใช้ในอุตสาหกรรม
เครื่องเพชรพลอย รถยนต์นั่ง ผลิตภัณฑ์โลหะ
5. ดุลการค้า ในปี 2537 และปี 2538 ไทยได้เปรียบดุลการค้ามูลค่า 769.7 ล้านบาท และ
1,106.9 ล้านบาท ตามลำดับ
IV. ปัญหาทางการค้าที่เป็นอุปสรรคต่อการส่งออกของไทย
1. กรีซเป็นแหล่งผลิตและแหล่งเงินทุนของยุโรปตะวันตก ซึ่งนับว่าเป็นคู่แข่งที่สำคัญของไทยในตลาด
สหภาพยุโรป
2. โครงสร้างการส่งออกคล้ายคลึงกับไทย โดยเป็นสินค้าอุตสาหกรรมขั้นปฐมหรือสินค้าทางการ
เกษตรวัตถุดิบ และอุตสาหกรรมเบา เช่น ใบยาสูบ เสื้อผ้าสำเร็จรูป เส้นใยและเส้นด้าย
3. ขาดข้อมูลข่าวสารทางการตลาด
4. กรีซเป็นประเทศสมาชิกของสหภาพยุโรป ที่มีอัตราเงินเฟ้อมากที่สุด คือ ร้อยละ 10.3 (มีนาคม
2539) ทำให้เศรษฐกิจโดยทั่วไปไม่ดีอย่างต่อเนื่อง เป็นปัญหาที่รัฐบาลกำลังเร่งแก้ไข ทำให้การค้า
ระหว่างประเทศชะลอตัวลงทั้งด้านการส่งออกและการนำเข้าซึ่งส่งผลกระทบต่อการค้าระหว่างไทย
กับกรีซ
5. ไทยกับกรีซไม่ได้ทำความตกลงทางการค้าระหว่างกัน ทำให้มูลค่าการค้าระหว่างกันมีน้อย
V. สินค้าที่ไทยมีลู่ทางขยายการส่งออก-นำเข้า
1. การส่งออก น้ำมันดิบ ด้าย ผ้าผืน ผลิตภัณฑ์เวชกรรมและเภสัชกรรม
2. การนำเข้า เครื่องปรับอากาศและส่วนประกอบ ผลิตภัณฑ์ยาง เสื้อผ้าสำเร็จรูป เส้นใยสังเคราะห์
--สรุปความสัมพันธ์ทางการค้าและเศรษฐกิจระหว่างไทยกับประเทศต่าง ๆ, สภาหอการค้าแห่งประเทศไทย--
- เนื้อที่ (ตารางไมล์) 50,943
- จำนวนประชากร (ล้านคน) 10.20 (1993)
- เมืองหลวง ATHENS
- เมืองธุรกิจ ATHENS, THESSALONIKI, PATRAS, IRAKLION,
VOLOS, LARISSA
- โครงสร้างทางเศรษฐกิจ (%) - อุตสาหกรรมและเหมืองแร่ 16.7- เกษตรกรรม 14.9
- ก่อสร้าง 6.7- พาณิชย์และบริการ 15.3
- อื่น ๆ 46.4
- อัตราการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ 0.7 % (1994)
- อัตราเงินเฟ้อ 10.3 % (1995)
- รายได้เฉลี่ยต่อคน (เหรียญสหรัฐ) 7,700 (1994)
- อัตราแลกเปลี่ยนเงินตรา US$1 = 252.00 DRACHMAS
- ทรัพยากรธรรมชาติที่สำคัญ N.A.
- สินค้าส่งออกและนำเข้าที่สำคัญ - ส่งออก ผัก-ผลไม้สดและสำเร็จรูป ผลิตภัณฑ์สิ่งทอ
เสื้อผ้าสำเร็จรูป ผลิตภัณฑ์ปิโตรเลียม แร่ต่าง ๆ
ผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม ใบยาสูบ
- นำเข้า ผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม เครื่องจักรกล
ผลิตภัณฑ์-อาหาร อาหารทะเล น้ำมันดิบ เคมีภัณฑ์
ปุ๋ย เหล็กและเหล็กกล้า
- ประเทศคู่ค้าที่สำคัญ - ส่งออก เยอรมนี อิตาลี ฝรั่งเศส อังกฤษ สหรัฐ
เนเธอร์แลนด์
- นำเข้า เยอรมนี อิตาลี ฝรั่งเศส เนเธอร์แลนด์
ญี่ปุ่น อังกฤษ
- ภาษา กรีก อังกฤษ ฝรั่งเศส
- ศาสนา กรีกออโธด๊อกซ์
- เวลาแตกต่างจากไทย ช้ากว่า 5 ชั่วโมง
- ผู้นำประเทศ ประธานาธิบดี CONSTAN TINE KARAMANILLIS
II. ความสัมพันธ์ทางการค้ากับประเทศไทย
ภาครัฐบาล
1. ความตกลงว่าด้วยการบริการเดินอากาศ ลงนามเมื่อวันที่ 31 พฤษภาคม 2515
2. ความตกลงว่าด้วยความร่วมมือทางเศรษฐกิจ วิทยาศาสตร์ และวิชาการไทย-กรีซ คณะรัฐมนตรีมีมติ
เมื่อวันที่ 4 ตุลาคม 2531 เห็นชอบร่างความตกลง แต่ยังมิได้มีการลงนาม
3. ความตกลงด้านการท่องเที่ยว ลงนามเมื่อวันที่ 4 มีนาคม 2535
ภาคเอกชน
1. ไม่มีความตกลงทางการค้าระหว่างกัน
III. ภาวะการค้ากับประเทศไทย
1. การส่งออก ในปี 2537 และปี 2538 ไทยส่งออกไปยังกรีซเป็นมูลค่า 1,236.3 ล้านบาท และ
1,783.2 ล้านบาท ตามลำดับ คิดเป็นสัดส่วนประมาณร้อยละ 0.1 และ 0.1 ของมูลค่าการส่งออก
ทั้งหมดของประเทศ
2. สินค้าส่งออกที่สำคัญของไทย ได้แก่ เครื่องปรับอากาศ อัญมณีและเครื่องประดับ รองเท้าและชิ้นส่วน
เสื้อผ้าสำเร็จรูป ผลิตภัณฑ์ยาง รถจักรยานยนต์และส่วนประกอบ เครื่องรับวิทยุ โทรทัศน์และส่วนประกอบ
ตู้เย็นและชิ้นส่วน ตาข่ายจับปลา ผลิตภัณฑ์พลาสติก
3. การนำเข้า ในปี 2537 และปี 2538 ไทยนำเข้าไปยังกรีซเป็นมูลค่า 466.5 ล้านบาท และ
676.2 ล้านบาท ตามลำดับ
4. สินค้านำเข้าที่สำคัญของไทย ได้แก่ แร่ดิบ เส้นใยใช้ในการทอ ผลิตภัณฑ์นม เครื่องคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์และส่วนประกอบ เคมีภัณฑ์ สินแร่ โลหะอื่น ๆ และเศษโลหะ เครื่องจักรใช้ในอุตสาหกรรม
เครื่องเพชรพลอย รถยนต์นั่ง ผลิตภัณฑ์โลหะ
5. ดุลการค้า ในปี 2537 และปี 2538 ไทยได้เปรียบดุลการค้ามูลค่า 769.7 ล้านบาท และ
1,106.9 ล้านบาท ตามลำดับ
IV. ปัญหาทางการค้าที่เป็นอุปสรรคต่อการส่งออกของไทย
1. กรีซเป็นแหล่งผลิตและแหล่งเงินทุนของยุโรปตะวันตก ซึ่งนับว่าเป็นคู่แข่งที่สำคัญของไทยในตลาด
สหภาพยุโรป
2. โครงสร้างการส่งออกคล้ายคลึงกับไทย โดยเป็นสินค้าอุตสาหกรรมขั้นปฐมหรือสินค้าทางการ
เกษตรวัตถุดิบ และอุตสาหกรรมเบา เช่น ใบยาสูบ เสื้อผ้าสำเร็จรูป เส้นใยและเส้นด้าย
3. ขาดข้อมูลข่าวสารทางการตลาด
4. กรีซเป็นประเทศสมาชิกของสหภาพยุโรป ที่มีอัตราเงินเฟ้อมากที่สุด คือ ร้อยละ 10.3 (มีนาคม
2539) ทำให้เศรษฐกิจโดยทั่วไปไม่ดีอย่างต่อเนื่อง เป็นปัญหาที่รัฐบาลกำลังเร่งแก้ไข ทำให้การค้า
ระหว่างประเทศชะลอตัวลงทั้งด้านการส่งออกและการนำเข้าซึ่งส่งผลกระทบต่อการค้าระหว่างไทย
กับกรีซ
5. ไทยกับกรีซไม่ได้ทำความตกลงทางการค้าระหว่างกัน ทำให้มูลค่าการค้าระหว่างกันมีน้อย
V. สินค้าที่ไทยมีลู่ทางขยายการส่งออก-นำเข้า
1. การส่งออก น้ำมันดิบ ด้าย ผ้าผืน ผลิตภัณฑ์เวชกรรมและเภสัชกรรม
2. การนำเข้า เครื่องปรับอากาศและส่วนประกอบ ผลิตภัณฑ์ยาง เสื้อผ้าสำเร็จรูป เส้นใยสังเคราะห์
--สรุปความสัมพันธ์ทางการค้าและเศรษฐกิจระหว่างไทยกับประเทศต่าง ๆ, สภาหอการค้าแห่งประเทศไทย--