I. ข้อมูลพื้นฐานทั่วไป
- เนื้อที่ (ตารางไมล์) 116,324
- จำนวนประชากร (ล้านคน) 57.8 (1991)
- เมืองหลวง ROME
- เมืองธุรกิจ ROME, MILAN, NAPLES, TURIN
- โครงสร้างทางเศรษฐกิจ (%) - อุตสาหกรรม 28.1 - เกษตรกรรม 3.5
- ก่อสร้าง 5.3 - บริการและอื่น ๆ 63.1
- อัตราการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ 0.5 % (1993)
- อัตราเงินเฟ้อ 4.8 % (1995)
- รายได้เฉลี่ยต่อคน (เหรียญสหรัฐ) 17,077.9 (1993)
- อัตราแลกเปลี่ยนเงินตรา US$1 = 1,476.5 LIRE (1993)
- ทรัพยากรธรรมชาติที่สำคัญ N.A.
- สินค้าส่งออกและนำเข้าที่สำคัญ - ส่งออก เครื่องจักร อุปกรณ์ยานยนต์ รองเท้า
สิ่งทอ ผลิตภัณฑ์อาหาร เคมีภัณฑ์
- นำเข้า เครื่องจักร อุปกรณ์ยานยนต์ ผลิตภัณฑ์
อาหาร โลหะ เหล็กและอื่น ๆ ขนสัตว์ ฝ้าย
ปิโตรเลียม
- ประเทศคู่ค้าที่สำคัญ - ส่งออก เยอรมนี ฝรั่งเศส สหรัฐ อังกฤษ
สเปน สวิตเซอร์แลนด์
- นำเข้า เยอรมนี ฝรั่งเศส เนเธอร์แลนด์
อังกฤษ สหรัฐ
- ภาษา อิตาเลียน อังกฤษ
- ศาสนา โรมันคาธอลิก
- เวลาแตกต่างจากไทย ช้ากว่า 6 ชั่วโมง
- ผู้นำประเทศ ประธานาธิบดี OSCAR LUIGI SCALFLAROS
II. ความสัมพันธ์ทางการค้ากับประเทศไทย
ภาครัฐบาล
1. สนธิสัญญาว่าด้วยมิตรภาพการพาณิชย์ และการเดินเรือ ลงนามเมื่อวันที่ 3 ตุลาคม 2411
2. ความตกลงพื้นฐานว่าด้วยความร่วมมือระหว่างไทย-อิตาลี เมื่อวันที่ 10 กพ. 2526 โดยมี
การประชุมคณะกรรมาธิการร่วมฯ ไทย-อิตาลี 3 ครั้ง ครั้งสุดท้ายประชุมเมื่อวันที่ 27-28 เมษ.
2532 ณ กรุงเทพฯ
ภาคเอกชน
1. ไม่มีความตกลงทางการค้าระหว่างกัน
III. ภาวะการค้ากับประเทศไทย
1. การส่งออก ในปี 2537 และปี 2538 ไทยส่งออกไปอิตาลีเป็นมูลค่า 11,845.8 ล้านบาท
และ 14,255.8 ล้านบาท ตามลำดับ คิดเป็นสัดส่วนประมาณร้อยละ 1.04 และ 1.02 ของ
มูลค่าการส่งออกทั้งหมดของประเทศ
2. สินค้าส่งออกที่สำคัญของไทย ได้แก่ ยางพารา ผลิตภัณฑ์ยาง เสื้อผ้าสำเร็จรูป ปลาหมึกสด
แช่เย็น แช่แข็ง กุ้งสดแช่เย็นแช่แข็ง รองเท้าและชิ้นส่วน เครื่องรับวิทยุ โทรทัศน์และส่วน
ประกอบ ผ้าผืน เครื่องคอมพิวเตอร์ อุปกรณ์และส่วนประกอบ เครื่องปรับอากาศ
3. การนำเข้า ในปี 2537 และปี 2538 ไทยนำเข้าจากอิตาลีเป็นมูลค่า 21,114.2 ล้านบาท
และ 27,059.4 ล้านบาท ตามลำดับ คิดเป็นสัดส่วนประมาณร้อยละ 1.54 และ 1.54 ของ
มูลค่าการนำเข้าทั้งหมดของประเทศ
4. สินค้านำเข้าที่สำคัญของไทย ได้แก่ เครื่องจักรใช้ในอุตสาหกรรม เครื่องจักรไฟฟ้า เคมีภัณฑ์
ผลิตภัณฑ์โลหะ ผ้าผืน หลอดและท่อโลหะ เหล็กและเหล็กกล้า เครื่องมือวิทยาศาสตร์การแพทย์
ผลิตภัณฑ์เวชกรรม แก้วและผลิตภัณฑ์
5. ดุลการค้า ในปี 2537 และปี 2538 ไทยเสียเปรียบดุลการค้ามูลค่า 9,268.3 ล้านบาท
และ 12,803.5 ล้านบาท ตามลำดับ
IV. ปัญหาทางการค้าที่เป็นอุปสรรคต่อการส่งออกของไทย
1. อิตาลีมีความเข้มงวดด้านกฎระเบียบการนำเข้า โดยเฉพาะสินค้าอาหาร เช่น ห้ามใช้สาร
EDTA ในอาหารทะเลกระป๋องและห้ามนำเข้าสินค้าอาหารทะเลแช่แข็งจากไทยเพราะตรวจ
พบเชื้อ Biotoxin
V. สินค้าที่ไทยมีลู่ทางขยายการส่งออก-นำเข้า
1. การส่งออก รองเท้าฟองน้ำ อัญมณีและเครื่องประดับ เสื้อผ้าสำเร็จรูป ยางรถยนต์ ยางแผ่น
รมควัน รองเท้ากีฬา อาหารทะเลแช่แข็ง อุปกรณ์โทรคมนาคม เครื่องใช้ไฟฟ้า
2. การนำเข้า เครื่องจักรที่ใช้ในอุตสาหกรรม เคมีภัณฑ์ ผลิตภัณฑ์โลหะ เหรียญกษาปน์ ส่วน
ประกอบที่ใช้ในอุตสาหกรรม
--สรุปความสัมพันธ์ทางการค้าและเศรษฐกิจระหว่างไทยกับประเทศต่าง ๆ, สภาหอการค้าแห่งประเทศไทย--
- เนื้อที่ (ตารางไมล์) 116,324
- จำนวนประชากร (ล้านคน) 57.8 (1991)
- เมืองหลวง ROME
- เมืองธุรกิจ ROME, MILAN, NAPLES, TURIN
- โครงสร้างทางเศรษฐกิจ (%) - อุตสาหกรรม 28.1 - เกษตรกรรม 3.5
- ก่อสร้าง 5.3 - บริการและอื่น ๆ 63.1
- อัตราการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ 0.5 % (1993)
- อัตราเงินเฟ้อ 4.8 % (1995)
- รายได้เฉลี่ยต่อคน (เหรียญสหรัฐ) 17,077.9 (1993)
- อัตราแลกเปลี่ยนเงินตรา US$1 = 1,476.5 LIRE (1993)
- ทรัพยากรธรรมชาติที่สำคัญ N.A.
- สินค้าส่งออกและนำเข้าที่สำคัญ - ส่งออก เครื่องจักร อุปกรณ์ยานยนต์ รองเท้า
สิ่งทอ ผลิตภัณฑ์อาหาร เคมีภัณฑ์
- นำเข้า เครื่องจักร อุปกรณ์ยานยนต์ ผลิตภัณฑ์
อาหาร โลหะ เหล็กและอื่น ๆ ขนสัตว์ ฝ้าย
ปิโตรเลียม
- ประเทศคู่ค้าที่สำคัญ - ส่งออก เยอรมนี ฝรั่งเศส สหรัฐ อังกฤษ
สเปน สวิตเซอร์แลนด์
- นำเข้า เยอรมนี ฝรั่งเศส เนเธอร์แลนด์
อังกฤษ สหรัฐ
- ภาษา อิตาเลียน อังกฤษ
- ศาสนา โรมันคาธอลิก
- เวลาแตกต่างจากไทย ช้ากว่า 6 ชั่วโมง
- ผู้นำประเทศ ประธานาธิบดี OSCAR LUIGI SCALFLAROS
II. ความสัมพันธ์ทางการค้ากับประเทศไทย
ภาครัฐบาล
1. สนธิสัญญาว่าด้วยมิตรภาพการพาณิชย์ และการเดินเรือ ลงนามเมื่อวันที่ 3 ตุลาคม 2411
2. ความตกลงพื้นฐานว่าด้วยความร่วมมือระหว่างไทย-อิตาลี เมื่อวันที่ 10 กพ. 2526 โดยมี
การประชุมคณะกรรมาธิการร่วมฯ ไทย-อิตาลี 3 ครั้ง ครั้งสุดท้ายประชุมเมื่อวันที่ 27-28 เมษ.
2532 ณ กรุงเทพฯ
ภาคเอกชน
1. ไม่มีความตกลงทางการค้าระหว่างกัน
III. ภาวะการค้ากับประเทศไทย
1. การส่งออก ในปี 2537 และปี 2538 ไทยส่งออกไปอิตาลีเป็นมูลค่า 11,845.8 ล้านบาท
และ 14,255.8 ล้านบาท ตามลำดับ คิดเป็นสัดส่วนประมาณร้อยละ 1.04 และ 1.02 ของ
มูลค่าการส่งออกทั้งหมดของประเทศ
2. สินค้าส่งออกที่สำคัญของไทย ได้แก่ ยางพารา ผลิตภัณฑ์ยาง เสื้อผ้าสำเร็จรูป ปลาหมึกสด
แช่เย็น แช่แข็ง กุ้งสดแช่เย็นแช่แข็ง รองเท้าและชิ้นส่วน เครื่องรับวิทยุ โทรทัศน์และส่วน
ประกอบ ผ้าผืน เครื่องคอมพิวเตอร์ อุปกรณ์และส่วนประกอบ เครื่องปรับอากาศ
3. การนำเข้า ในปี 2537 และปี 2538 ไทยนำเข้าจากอิตาลีเป็นมูลค่า 21,114.2 ล้านบาท
และ 27,059.4 ล้านบาท ตามลำดับ คิดเป็นสัดส่วนประมาณร้อยละ 1.54 และ 1.54 ของ
มูลค่าการนำเข้าทั้งหมดของประเทศ
4. สินค้านำเข้าที่สำคัญของไทย ได้แก่ เครื่องจักรใช้ในอุตสาหกรรม เครื่องจักรไฟฟ้า เคมีภัณฑ์
ผลิตภัณฑ์โลหะ ผ้าผืน หลอดและท่อโลหะ เหล็กและเหล็กกล้า เครื่องมือวิทยาศาสตร์การแพทย์
ผลิตภัณฑ์เวชกรรม แก้วและผลิตภัณฑ์
5. ดุลการค้า ในปี 2537 และปี 2538 ไทยเสียเปรียบดุลการค้ามูลค่า 9,268.3 ล้านบาท
และ 12,803.5 ล้านบาท ตามลำดับ
IV. ปัญหาทางการค้าที่เป็นอุปสรรคต่อการส่งออกของไทย
1. อิตาลีมีความเข้มงวดด้านกฎระเบียบการนำเข้า โดยเฉพาะสินค้าอาหาร เช่น ห้ามใช้สาร
EDTA ในอาหารทะเลกระป๋องและห้ามนำเข้าสินค้าอาหารทะเลแช่แข็งจากไทยเพราะตรวจ
พบเชื้อ Biotoxin
V. สินค้าที่ไทยมีลู่ทางขยายการส่งออก-นำเข้า
1. การส่งออก รองเท้าฟองน้ำ อัญมณีและเครื่องประดับ เสื้อผ้าสำเร็จรูป ยางรถยนต์ ยางแผ่น
รมควัน รองเท้ากีฬา อาหารทะเลแช่แข็ง อุปกรณ์โทรคมนาคม เครื่องใช้ไฟฟ้า
2. การนำเข้า เครื่องจักรที่ใช้ในอุตสาหกรรม เคมีภัณฑ์ ผลิตภัณฑ์โลหะ เหรียญกษาปน์ ส่วน
ประกอบที่ใช้ในอุตสาหกรรม
--สรุปความสัมพันธ์ทางการค้าและเศรษฐกิจระหว่างไทยกับประเทศต่าง ๆ, สภาหอการค้าแห่งประเทศไทย--