อุตสาหกรรมอัญมณีและเครื่องประดับของไทยในไตรมาสที่สองของปี 2549 ยังมีปริมาณการส่งออกเพิ่มขึ้นเมื่อเทียบกับไตรมาสเดียวกันของ
ปีที่แล้ว รายได้โดยรวมของทั้งอุตสาหกรรมตั้งแต่ต้นปี 2549 มีมูลค่าโดยรวมประมาณเจ็ดหมื่นล้านบาท ยังคงแสดงการการเติบโตของอุตสาหกรรมที่มี
การขยายตัวอย่างต่อเนื่อง โดยการขยายตัวเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อนเพิ่มขึ้น ร้อยละ 23.1
ตลาดส่งออกหลักของสินค้าอัญมณีและเครื่องประดับในไตรมาสที่สองของปี 2549 ยังคงเป็น สหรัฐอเมริกา สหภาพยุโรป ญี่ปุ่น และอา
เซียน ตามลำดับ
การผลิต
ดัชนีผลผลิต ในไตรมาสที่ 2 ของปี 2549 อุตสาหกรรมการผลิตเครื่องเพชรพลอยและรูปพรรณ และของที่เกี่ยวข้องกัน
เพิ่มขึ้นร้อยละ 20.28 เมื่อเทียบกับไตรมาสก่อน และเพิ่มขึ้นร้อยละ 50.53 เมื่อเทียบกับไตรมาสเดียวกันของปีก่อน
ดัชนีส่งสินค้า เครื่องเพชรพลอยและรูปพรรณ และของที่เกี่ยวข้องกัน เพิ่มขึ้นร้อยละ 52.49 เมื่อเทียบกับไตรมาสก่อน
และเพิ่มขึ้นร้อยละ 70.01 เมื่อเทียบกับไตรมาสเดียวกันของปีก่อน ตามลำดับ
ดัชนีสินค้าสำเร็จรูปคงคลัง ลดลงร้อยละ 53.72 เมื่อเทียบกับไตรมาสก่อน และลดลงร้อยละ 142.47 เมื่อเทียบกับไตร
มาสเดียวกันของปีก่อน
ตารางที่ 1: การผลิตเครื่องเพชรพลอยและรูปพรรณและของที่เกี่ยวข้องกัน
ไตรมาสที่ 2 ไตรมาสที่ 1 ไตรมาสที่ 2 เปรียบเทียบกับไตรมาสที่แล้ว เปรียบเทียบกับไตรมาสเ
ปี 2548 ปี 2549 ปี 2549 (1)
ผลผลิต 58.71 94.27 118.25 20.28 50.35
ส่งสินค้า 60.43 99.05 208.45 52.49 70.01
สินค้าสำเร็จรูปคงคลัง 111.35 70.59 45.92 -53.72 -142.47
ที่มา : สำนักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม กระทรวงอุตสาหกรรม
ฐานเฉลี่ย ปี 2543 และเป็นดัชนีที่ยังไม่ได้ปรับผลกระทบของฤดูกาล
หมายเหตุ : (1) ตัวเลขเบื้องต้น
การตลาด
การนำเข้า
ไตรมาสที่ 2 ของปี 2549 ประเทศไทยนำเข้าสินค้าประเภทเครื่องเพชรพลอย อัญมณี เงินแท่งและทองคำ มีมูลค่ารวม 3.9 หมื่นล้าน
บาท มีมูลค่าลดลงจากช่วงเดียวกันของปีที่แล้วคิดเป็นร้อยละ 3.3 โดยสินค้าที่มีมูลค่าการนำเข้าลดลงมากที่สุดคืออัญมณีสังเคราะห์ ทองคำ และไข่มุก
โดยลดลงคิดเป็นร้อยละ 16.1, 13.0 และ 10.1 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีที่แล้ว ตามลำดับ ส่วนสินค้าที่มีมูลค่าการนำเข้าเพิ่มขึ้นในไตรมาสนี้
ได้แก่เงินแท่งโดยมีอัตรานำเข้าเพิ่มขึ้นจากไตรมาสเดียวกันของปีที่แล้ว ร้อยละ 20.6 ส่วนสินค้าที่มีปริมาณนำเข้าสูงสุดต่อเนื่องจากไตรมาสที่แล้ว คือ
เครื่องประดับอัญมณีเทียมและพลอย คิดเป็นร้อยละ 44.8 และ 37.9 ตามลำดับ
ตารางที่ 2: มูลค่าการนำเข้าอัญมณีและเครื่องประดับ
รายการ ---------มูลค่า : ล้านบาท --------- อัตราการขยายตัว : ร้อยละ
2549 2548 2549 2549 2549
(ม.ค.-มีค.) (ม.ค.-มิ.ย.) (ม.ค.-มิ.ย.) (ม.ค.-มีค.) (ม.ค.-มิ.ย.)
3.11 เครื่องเพชรพลอย อัญมณี เงินแท่งและทองคำ 38,299.70 80,268.30 77,609.10 -25.8 -3.3
3.11.1 เพชร 14,855.30 25,298.30 26,521.30 9.5 4.8
3.11.2 พลอย 1,737.50 2,656.30 3,113.80 37.9 17.2
3.11.3 อัญมณีสังเคราะห์ 324.1 791.9 664.4 -7.5 -16.1
3.11.4 ไข่มุก 245.8 392 352.3 -30.8 -10.1
3.11.5 ทองคำ 16,080.00 42,644.70 37,123.20 -49.6 -13
3.11.6 เงิน 3,941.50 6,252.70 7,537.60 28.6 20.6
3.11.7 แพลทินัม 296 430.4 493.9 43.3 14.8
3.11.8 โลหะมีค่า และโลหะอื่น ๆ 819.6 1,802.00 1,802.60 -9.4 0
4.24 เครื่องประดับอัญมณี 2,563.30 4,380.70 4,482.00 5.7 2.3
4.24.1 เครื่องประดับอัญมณีแท้ 2,387.80 4,147.60 4,144.40 3.6 -0.1
4.24.2 เครื่องประดับอัญมณีเทียม 175.4 233.1 337.6 47.2 44.8
ที่มา : กรมเจรจาการค้าระหว่างประเทศ กระทรวงพาณิชย์ โดยความร่วมมือจากกรมศุลกากร กระทรวงการคลัง
โดยเครื่องประดับอัญมณีเทียมมีการนำเข้าจากสหภาพยุโรปมากเป็นอันดับหนึ่งคิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 31.2 ของมูลค่าการนำเข้าทั้งหมดของ
สินค้าประเภทนี้ และมีอัตราการขยายตัวของการนำเข้าเพิ่มขึ้นร้อยละ 40.2 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีที่แล้ว
ตารางที่ 3: ปริมาณการนำเข้าของเครื่องประดับอัญมณีเทียม
รายการ มูลค่า : ล้านบาท อัตราการขยายตัว : ร้อยละ สัดส่วน : ร้อยละ
2548 2548 2549 2548 2549 2548 2548 2549
(ม.ค.-มิ.ย) (ม.ค.-มิ.ย) (ม.ค.-มิ.ย) (ม.ค.-มิ.ย) (ม.ค.-มิ.ย)
อาเซียน 26.1 11.8 24.2 4.4 105.1 5 5.1 7.2
สหภาพยุโรป 153.6 75.2 105.4 -10.2 40.2 29.3 32.3 31.2
ญี่ปุ่น 7.1 4 2.2 -42.3 -45 1.4 1.7 0.7
สหรัฐอเมริกา 64.1 34.8 37.5 25.7 7.8 12.2 14.9 11.1
ที่มา : กรมเจรจาการค้าระหว่างประเทศ กระทรวงพาณิชย์ โดยความร่วมมือจากกรมศุลกากร กระทรวงการคลัง
ส่วนพลอยมีการนำเข้าจากสหรัฐอเมริการมากเป็นอันดับหนึ่งคิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 18.9 ของมูลค่าการนำเข้าทั้งหมดของสินค้าประเภทนี้
และมีอัตราการขยายตัวของการนำเข้าเพิ่มขึ้นร้อยละ 5.1 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีที่แล้ว
ตารางที่ 4: ปริมาณการนำเข้าของพลอย
รายการ มูลค่า : ล้านบาท อัตราการขยายตัว : ร้อยละ สัดส่วน : ร้อยละ
2548 2548 2549 2548 2549 2548 2548 2549
(ม.ค.-มิ.ย) (ม.ค.-มิ.ย) (ม.ค.-มิ.ย) (ม.ค.-มิ.ย) (ม.ค.-มิ.ย)
อาเซียน 71 28 113.9 -57.2 306.8 1.2 1.1 3.7
สหภาพยุโรป 559.6 282.6 265.7 85.2 -6 9.6 10.6 8.5
ญี่ปุ่น 42.1 20.5 19.8 -27 -3.4 0.7 0.8 0.6
สหรัฐอเมริกา 1245.7 560.9 589.7 -13.2 5.1 21.3 21.1 18.9
ที่มา : กรมเจรจาการค้าระหว่างประเทศ กระทรวงพาณิชย์ โดยความร่วมมือจากกรมศุลกากร กระทรวงการคลัง
แหล่งนำเข้าที่สำคัญของสินค้าประเภทเครื่องเพชรพลอย อัญมณี เงินแท่งและทองคำ แบ่งตามสัดส่วนมูลค่าที่นำเข้าโดยรวมในไตรมาสที่
สองได้แก่ สหภาพยุโรป อาเซียน และ ญี่ปุ่น ตามลำดับ
ตารางที่ 5: ปริมาณการนำเข้าเครื่องเพชรพลอย อัญมณี เงินแท่งและทองคำ
รายการ มูลค่า : ล้านบาท อัตราการ สัดส่วน : ร้อยละ
ขยายตัว:ร้อยละ
2548 2549 2549 2548 2549
(ม.ค.-มิ.ย) (ม.ค.-มิ.ย) (ม.ค.-มิ.ย) (ม.ค.-มิ.ย) (ม.ค.-มิ.ย)
อาเซียน 3,244.70 3,351.90 3.3 4.04 4.32
สหภาพยุโรป 5,866.70 6,766.30 15.33 7.31 8.72
ญี่ปุ่น 2,375.40 3,089.80 30.07 2.96 3.98
สหรัฐอเมริกา 5,163.10 3,038.20 -41.16 6.43 3.91
ที่มา : กรมเจรจาการค้าระหว่างประเทศ กระทรวงพาณิชย์ โดยความร่วมมือจากกรมศุลกากร กระทรวงการคลัง
การส่งออก
ไตรมาสที่สองของปี 2549 ประเทศไทยส่งออกสินค้าประเภทเครื่องเพชรพลอย อัญมณี เงินแท่งและทองคำ มีมูลค่ารวม 34.6 หมื่นล้าน
บาท ซึ่งเป็นมูลค่าเพิ่มขึ้นจากช่วงเดียวกันของปีที่แล้วคิดเป็นร้อยละ 23.1 โดยสินค้าที่มีมูลค่าการส่งออกเพิ่มมากที่สุดอย่างต่อเนื่องคือทองคำยังไม่ได้ขึ้น
รูป ที่เพิ่มขึ้นจากช่วงเดียวกันของปีที่แล้วถึงร้อยละ 343.4 และอัญมณีสังเคราะห์ที่มีสัดส่วนการส่งออกเพิ่มขึ้นเป็นอันดับสองโดยเพิ่มขึ้นร้อยละ 107.6
ส่วนเครื่องประดับอัญมณีเทียมมีสัดส่วนการส่งออกเพิ่มมากขึ้นเป็นอันดับ 3 คือโดยมีสัดส่วนเพิ่มขึ้นคิดเป็นร้อยละ 39.0 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีที่
แล้ว ตามลำดับ
ประเทศลูกค้าหลักของสินค้าประเภทอัญมณีและเครื่องประดับในไตรมาสที่สอง ยังคงเป็น สหภาพยุโรป สหรัฐอเมริกา และญี่ปุ่น
ตารางที่ 6: มูลค่าการส่งออกอัญมณีและเครื่องประดับ
รายการ ---------------- มูลค่า : ล้านบาท------------- อัตราการขยายตัว : ร้อยละ
2548 2549 2548 2549 2549 2549
(ม.ค.-มีค.) (ม.ค.-มีค.) (ม.ค.-มิ.ย.) (ม.ค.-มิ.ย.) (ม.ค.-มีค.) (ม.ค.-มิ.ย.)
3.2 อัญมณีและเครื่องประดับ 29,760.30 35,780.90 57,196.70 70,381.00 20.2 23.1
3.2.1 อัญมณี 10,798.60 11,902.60 20,941.10 21,953.20 10.2 4.8
(1) เพชร 8,119.80 9,150.40 16,086.70 16,812.10 12.7 4.5
(2) พลอย 2,353.00 2,615.70 4,367.30 4,760.10 11.2 9
(3) ไข่มุก 325.9 136.5 487.1 381.1 -58.1 -21.8
3.2.2 เครื่องประดับแท้ 16,307.10 14,626.50 29,291.20 28,610.90 -10.3 -2.3
(1) ทำด้วยเงิน 4,327.10 4,632.90 8,855.10 9,572.90 7.1 8.1
(2) ทำด้วยทอง 11,441.80 9,617.60 19,707.00 18,277.70 -15.9 -7.3
(3) ทำด้วยโลหะมีค่าอื่น ๆ 538.2 376 729.1 760.3 -30.1 4.3
3.2.3 เครื่องประดับอัญมณีเทียม 900.5 1,291.20 2,042.30 2,839.50 43.4 39
3.2.4 อัญมณีสังเคราะห์ 147.8 142.8 304.4 631.8 -3.4 107.6
3.2.5 ทองคำยังไม่ได้ขึ้นรูป 844.3 6,928.20 3,363.70 14,914.50 720.6 343.4
3.2.6 โลหะมีค่าและของที่หุ้มด้วยโลหะมีค่าอื่น ๆ 761.9 889.5 1,254.00 1,431.10 16.8 14.1
ที่มา : กรมเจรจาการค้าระหว่างประเทศ กระทรวงพาณิชย์ โดยความร่วมมือจากกรมศุลกากร กระทรวงการคลัง
โดยในไตรมาสที่สองของปี 2549 การส่งออกไปยังประเทศคู่ค้าที่เป็นลูกค้าหลัก ได้แก่ สหภาพยุโรป ญี่ปุ่น และอาเซียนมีปริมาณเพิ่มขึ้น
ยกเว้นการส่งออกไปสหรัฐอเมริการทีมีมูลค่าลดลงเมื่อเทียบกับไตรมาสเดียวกันของปีที่แล้ว โดยศักยภาพและกำลังซื้อที่เพิ่มขึ้นของประเทศเพื่อนบ้านใน
แถบอาเซียนยังคงมีต่อเนื่องเพิ่มขึ้นจากเดือนที่แล้วและเดือนเดียวกันของปีก่อน
ตารางที่ 4: มูลค่าการส่งออกอัญมณีและเครื่องประดับแยกตามประเทศคู่ค้า
ประเทศ มูลค่า : ล้านบาท อัตราการขยายตัว:ร้อยละ สัดส่วน:ร้อยละ
2548 2549 2549 2548 2549
(ม.ค.-มิ.ย) (ม.ค.-มิ.ย) (ม.ค.-มิ.ย) (ม.ค.-มิ.ย) (ม.ค.-มิ.ย)
อาเซียน 1,460.60 2,589.70 77.3 2.6 3.7
สหภาพยุโรป 14,594.70 16,318.10 11.8 25.5 23.2
ญี่ปุ่น 3,046.80 3,187.40 4.6 5.3 4.5
สหรัฐอเมริกา 16,607.50 16,150.30 -2.8 29 23
ที่มา : กรมเจรจาการค้าระหว่างประเทศ กระทรวงพาณิชย์ โดยความร่วมมือจากกรมศุลกากร กระทรวงการคลัง
สรุปและแนวโน้ม
ข้อสรุปจากข้อมูลโดยรวมของการค้าอัญมณีในไตรมาสที่สองของปี 2549 มีดังนี้คือ
- แนวโน้มการเติบโตของตลาดส่งออกของอุตสาหกรรมอัญมณีไทยยังมีอย่างต่อเนื่อง โดยเฉลี่ยคิดเป็นร้อยละ 23.1 เมื่อเทียบกับช่วง
เดียวกันของปีที่แล้ว
- การเติบโตของสินค้าประเภทเครื่องประดับอัญมณีเทียมมีปริมาณเพิ่มขึ้นทั้งการส่งออก และการนำเข้า แสดงถึงการเพิ่มขึ้นของความต้อง
การสินค้าที่มีราคาที่ถูกกว่าโดยเปรียบเทียบ ซึ่งอาจเนื่องมาจากสภาพเศรษฐกิจที่ชะลอตัว และการเพิ่มขึ้นของราคาสินค้าอื่นๆ ในท้องตลาด
- ปริมาณการเติบโตของอุตสาหกรรมนี้ยังมีอย่างต่อเนื่อง แต่เนื่องจากภาวะเศรษฐกิจโดยรวมไม่เอื้ออำนวยกับการใช้จ่ายกับสินค้าที่มี
ราคาแพง การบริโภคของสินค้าทดแทนประเภทเครื่องประดับอัญมณีเทียมจึงมีปริมาณเพิ่มขึ้น อย่างไรก็ตาม อัญมณีสังเคราะห์ ที่มีแนวโน้มเติบโตและส่ง
ออกได้ดีในช่วงไตรมาสก่อนยังคงแสดงการเติบโตที่ต่อเนื่อง รวมทั้งแนวโน้มของการขยายตัวของตลาดในอาเซียน ยังคงแสดงศักยภาพของการพัฒนาที่
เป็นตลาดที่ยั่งยืนต่อไปได้
--สำนักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม กระทรวงอุตสาหกรรม--
-พห-
ปีที่แล้ว รายได้โดยรวมของทั้งอุตสาหกรรมตั้งแต่ต้นปี 2549 มีมูลค่าโดยรวมประมาณเจ็ดหมื่นล้านบาท ยังคงแสดงการการเติบโตของอุตสาหกรรมที่มี
การขยายตัวอย่างต่อเนื่อง โดยการขยายตัวเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อนเพิ่มขึ้น ร้อยละ 23.1
ตลาดส่งออกหลักของสินค้าอัญมณีและเครื่องประดับในไตรมาสที่สองของปี 2549 ยังคงเป็น สหรัฐอเมริกา สหภาพยุโรป ญี่ปุ่น และอา
เซียน ตามลำดับ
การผลิต
ดัชนีผลผลิต ในไตรมาสที่ 2 ของปี 2549 อุตสาหกรรมการผลิตเครื่องเพชรพลอยและรูปพรรณ และของที่เกี่ยวข้องกัน
เพิ่มขึ้นร้อยละ 20.28 เมื่อเทียบกับไตรมาสก่อน และเพิ่มขึ้นร้อยละ 50.53 เมื่อเทียบกับไตรมาสเดียวกันของปีก่อน
ดัชนีส่งสินค้า เครื่องเพชรพลอยและรูปพรรณ และของที่เกี่ยวข้องกัน เพิ่มขึ้นร้อยละ 52.49 เมื่อเทียบกับไตรมาสก่อน
และเพิ่มขึ้นร้อยละ 70.01 เมื่อเทียบกับไตรมาสเดียวกันของปีก่อน ตามลำดับ
ดัชนีสินค้าสำเร็จรูปคงคลัง ลดลงร้อยละ 53.72 เมื่อเทียบกับไตรมาสก่อน และลดลงร้อยละ 142.47 เมื่อเทียบกับไตร
มาสเดียวกันของปีก่อน
ตารางที่ 1: การผลิตเครื่องเพชรพลอยและรูปพรรณและของที่เกี่ยวข้องกัน
ไตรมาสที่ 2 ไตรมาสที่ 1 ไตรมาสที่ 2 เปรียบเทียบกับไตรมาสที่แล้ว เปรียบเทียบกับไตรมาสเ
ปี 2548 ปี 2549 ปี 2549 (1)
ผลผลิต 58.71 94.27 118.25 20.28 50.35
ส่งสินค้า 60.43 99.05 208.45 52.49 70.01
สินค้าสำเร็จรูปคงคลัง 111.35 70.59 45.92 -53.72 -142.47
ที่มา : สำนักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม กระทรวงอุตสาหกรรม
ฐานเฉลี่ย ปี 2543 และเป็นดัชนีที่ยังไม่ได้ปรับผลกระทบของฤดูกาล
หมายเหตุ : (1) ตัวเลขเบื้องต้น
การตลาด
การนำเข้า
ไตรมาสที่ 2 ของปี 2549 ประเทศไทยนำเข้าสินค้าประเภทเครื่องเพชรพลอย อัญมณี เงินแท่งและทองคำ มีมูลค่ารวม 3.9 หมื่นล้าน
บาท มีมูลค่าลดลงจากช่วงเดียวกันของปีที่แล้วคิดเป็นร้อยละ 3.3 โดยสินค้าที่มีมูลค่าการนำเข้าลดลงมากที่สุดคืออัญมณีสังเคราะห์ ทองคำ และไข่มุก
โดยลดลงคิดเป็นร้อยละ 16.1, 13.0 และ 10.1 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีที่แล้ว ตามลำดับ ส่วนสินค้าที่มีมูลค่าการนำเข้าเพิ่มขึ้นในไตรมาสนี้
ได้แก่เงินแท่งโดยมีอัตรานำเข้าเพิ่มขึ้นจากไตรมาสเดียวกันของปีที่แล้ว ร้อยละ 20.6 ส่วนสินค้าที่มีปริมาณนำเข้าสูงสุดต่อเนื่องจากไตรมาสที่แล้ว คือ
เครื่องประดับอัญมณีเทียมและพลอย คิดเป็นร้อยละ 44.8 และ 37.9 ตามลำดับ
ตารางที่ 2: มูลค่าการนำเข้าอัญมณีและเครื่องประดับ
รายการ ---------มูลค่า : ล้านบาท --------- อัตราการขยายตัว : ร้อยละ
2549 2548 2549 2549 2549
(ม.ค.-มีค.) (ม.ค.-มิ.ย.) (ม.ค.-มิ.ย.) (ม.ค.-มีค.) (ม.ค.-มิ.ย.)
3.11 เครื่องเพชรพลอย อัญมณี เงินแท่งและทองคำ 38,299.70 80,268.30 77,609.10 -25.8 -3.3
3.11.1 เพชร 14,855.30 25,298.30 26,521.30 9.5 4.8
3.11.2 พลอย 1,737.50 2,656.30 3,113.80 37.9 17.2
3.11.3 อัญมณีสังเคราะห์ 324.1 791.9 664.4 -7.5 -16.1
3.11.4 ไข่มุก 245.8 392 352.3 -30.8 -10.1
3.11.5 ทองคำ 16,080.00 42,644.70 37,123.20 -49.6 -13
3.11.6 เงิน 3,941.50 6,252.70 7,537.60 28.6 20.6
3.11.7 แพลทินัม 296 430.4 493.9 43.3 14.8
3.11.8 โลหะมีค่า และโลหะอื่น ๆ 819.6 1,802.00 1,802.60 -9.4 0
4.24 เครื่องประดับอัญมณี 2,563.30 4,380.70 4,482.00 5.7 2.3
4.24.1 เครื่องประดับอัญมณีแท้ 2,387.80 4,147.60 4,144.40 3.6 -0.1
4.24.2 เครื่องประดับอัญมณีเทียม 175.4 233.1 337.6 47.2 44.8
ที่มา : กรมเจรจาการค้าระหว่างประเทศ กระทรวงพาณิชย์ โดยความร่วมมือจากกรมศุลกากร กระทรวงการคลัง
โดยเครื่องประดับอัญมณีเทียมมีการนำเข้าจากสหภาพยุโรปมากเป็นอันดับหนึ่งคิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 31.2 ของมูลค่าการนำเข้าทั้งหมดของ
สินค้าประเภทนี้ และมีอัตราการขยายตัวของการนำเข้าเพิ่มขึ้นร้อยละ 40.2 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีที่แล้ว
ตารางที่ 3: ปริมาณการนำเข้าของเครื่องประดับอัญมณีเทียม
รายการ มูลค่า : ล้านบาท อัตราการขยายตัว : ร้อยละ สัดส่วน : ร้อยละ
2548 2548 2549 2548 2549 2548 2548 2549
(ม.ค.-มิ.ย) (ม.ค.-มิ.ย) (ม.ค.-มิ.ย) (ม.ค.-มิ.ย) (ม.ค.-มิ.ย)
อาเซียน 26.1 11.8 24.2 4.4 105.1 5 5.1 7.2
สหภาพยุโรป 153.6 75.2 105.4 -10.2 40.2 29.3 32.3 31.2
ญี่ปุ่น 7.1 4 2.2 -42.3 -45 1.4 1.7 0.7
สหรัฐอเมริกา 64.1 34.8 37.5 25.7 7.8 12.2 14.9 11.1
ที่มา : กรมเจรจาการค้าระหว่างประเทศ กระทรวงพาณิชย์ โดยความร่วมมือจากกรมศุลกากร กระทรวงการคลัง
ส่วนพลอยมีการนำเข้าจากสหรัฐอเมริการมากเป็นอันดับหนึ่งคิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 18.9 ของมูลค่าการนำเข้าทั้งหมดของสินค้าประเภทนี้
และมีอัตราการขยายตัวของการนำเข้าเพิ่มขึ้นร้อยละ 5.1 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีที่แล้ว
ตารางที่ 4: ปริมาณการนำเข้าของพลอย
รายการ มูลค่า : ล้านบาท อัตราการขยายตัว : ร้อยละ สัดส่วน : ร้อยละ
2548 2548 2549 2548 2549 2548 2548 2549
(ม.ค.-มิ.ย) (ม.ค.-มิ.ย) (ม.ค.-มิ.ย) (ม.ค.-มิ.ย) (ม.ค.-มิ.ย)
อาเซียน 71 28 113.9 -57.2 306.8 1.2 1.1 3.7
สหภาพยุโรป 559.6 282.6 265.7 85.2 -6 9.6 10.6 8.5
ญี่ปุ่น 42.1 20.5 19.8 -27 -3.4 0.7 0.8 0.6
สหรัฐอเมริกา 1245.7 560.9 589.7 -13.2 5.1 21.3 21.1 18.9
ที่มา : กรมเจรจาการค้าระหว่างประเทศ กระทรวงพาณิชย์ โดยความร่วมมือจากกรมศุลกากร กระทรวงการคลัง
แหล่งนำเข้าที่สำคัญของสินค้าประเภทเครื่องเพชรพลอย อัญมณี เงินแท่งและทองคำ แบ่งตามสัดส่วนมูลค่าที่นำเข้าโดยรวมในไตรมาสที่
สองได้แก่ สหภาพยุโรป อาเซียน และ ญี่ปุ่น ตามลำดับ
ตารางที่ 5: ปริมาณการนำเข้าเครื่องเพชรพลอย อัญมณี เงินแท่งและทองคำ
รายการ มูลค่า : ล้านบาท อัตราการ สัดส่วน : ร้อยละ
ขยายตัว:ร้อยละ
2548 2549 2549 2548 2549
(ม.ค.-มิ.ย) (ม.ค.-มิ.ย) (ม.ค.-มิ.ย) (ม.ค.-มิ.ย) (ม.ค.-มิ.ย)
อาเซียน 3,244.70 3,351.90 3.3 4.04 4.32
สหภาพยุโรป 5,866.70 6,766.30 15.33 7.31 8.72
ญี่ปุ่น 2,375.40 3,089.80 30.07 2.96 3.98
สหรัฐอเมริกา 5,163.10 3,038.20 -41.16 6.43 3.91
ที่มา : กรมเจรจาการค้าระหว่างประเทศ กระทรวงพาณิชย์ โดยความร่วมมือจากกรมศุลกากร กระทรวงการคลัง
การส่งออก
ไตรมาสที่สองของปี 2549 ประเทศไทยส่งออกสินค้าประเภทเครื่องเพชรพลอย อัญมณี เงินแท่งและทองคำ มีมูลค่ารวม 34.6 หมื่นล้าน
บาท ซึ่งเป็นมูลค่าเพิ่มขึ้นจากช่วงเดียวกันของปีที่แล้วคิดเป็นร้อยละ 23.1 โดยสินค้าที่มีมูลค่าการส่งออกเพิ่มมากที่สุดอย่างต่อเนื่องคือทองคำยังไม่ได้ขึ้น
รูป ที่เพิ่มขึ้นจากช่วงเดียวกันของปีที่แล้วถึงร้อยละ 343.4 และอัญมณีสังเคราะห์ที่มีสัดส่วนการส่งออกเพิ่มขึ้นเป็นอันดับสองโดยเพิ่มขึ้นร้อยละ 107.6
ส่วนเครื่องประดับอัญมณีเทียมมีสัดส่วนการส่งออกเพิ่มมากขึ้นเป็นอันดับ 3 คือโดยมีสัดส่วนเพิ่มขึ้นคิดเป็นร้อยละ 39.0 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีที่
แล้ว ตามลำดับ
ประเทศลูกค้าหลักของสินค้าประเภทอัญมณีและเครื่องประดับในไตรมาสที่สอง ยังคงเป็น สหภาพยุโรป สหรัฐอเมริกา และญี่ปุ่น
ตารางที่ 6: มูลค่าการส่งออกอัญมณีและเครื่องประดับ
รายการ ---------------- มูลค่า : ล้านบาท------------- อัตราการขยายตัว : ร้อยละ
2548 2549 2548 2549 2549 2549
(ม.ค.-มีค.) (ม.ค.-มีค.) (ม.ค.-มิ.ย.) (ม.ค.-มิ.ย.) (ม.ค.-มีค.) (ม.ค.-มิ.ย.)
3.2 อัญมณีและเครื่องประดับ 29,760.30 35,780.90 57,196.70 70,381.00 20.2 23.1
3.2.1 อัญมณี 10,798.60 11,902.60 20,941.10 21,953.20 10.2 4.8
(1) เพชร 8,119.80 9,150.40 16,086.70 16,812.10 12.7 4.5
(2) พลอย 2,353.00 2,615.70 4,367.30 4,760.10 11.2 9
(3) ไข่มุก 325.9 136.5 487.1 381.1 -58.1 -21.8
3.2.2 เครื่องประดับแท้ 16,307.10 14,626.50 29,291.20 28,610.90 -10.3 -2.3
(1) ทำด้วยเงิน 4,327.10 4,632.90 8,855.10 9,572.90 7.1 8.1
(2) ทำด้วยทอง 11,441.80 9,617.60 19,707.00 18,277.70 -15.9 -7.3
(3) ทำด้วยโลหะมีค่าอื่น ๆ 538.2 376 729.1 760.3 -30.1 4.3
3.2.3 เครื่องประดับอัญมณีเทียม 900.5 1,291.20 2,042.30 2,839.50 43.4 39
3.2.4 อัญมณีสังเคราะห์ 147.8 142.8 304.4 631.8 -3.4 107.6
3.2.5 ทองคำยังไม่ได้ขึ้นรูป 844.3 6,928.20 3,363.70 14,914.50 720.6 343.4
3.2.6 โลหะมีค่าและของที่หุ้มด้วยโลหะมีค่าอื่น ๆ 761.9 889.5 1,254.00 1,431.10 16.8 14.1
ที่มา : กรมเจรจาการค้าระหว่างประเทศ กระทรวงพาณิชย์ โดยความร่วมมือจากกรมศุลกากร กระทรวงการคลัง
โดยในไตรมาสที่สองของปี 2549 การส่งออกไปยังประเทศคู่ค้าที่เป็นลูกค้าหลัก ได้แก่ สหภาพยุโรป ญี่ปุ่น และอาเซียนมีปริมาณเพิ่มขึ้น
ยกเว้นการส่งออกไปสหรัฐอเมริการทีมีมูลค่าลดลงเมื่อเทียบกับไตรมาสเดียวกันของปีที่แล้ว โดยศักยภาพและกำลังซื้อที่เพิ่มขึ้นของประเทศเพื่อนบ้านใน
แถบอาเซียนยังคงมีต่อเนื่องเพิ่มขึ้นจากเดือนที่แล้วและเดือนเดียวกันของปีก่อน
ตารางที่ 4: มูลค่าการส่งออกอัญมณีและเครื่องประดับแยกตามประเทศคู่ค้า
ประเทศ มูลค่า : ล้านบาท อัตราการขยายตัว:ร้อยละ สัดส่วน:ร้อยละ
2548 2549 2549 2548 2549
(ม.ค.-มิ.ย) (ม.ค.-มิ.ย) (ม.ค.-มิ.ย) (ม.ค.-มิ.ย) (ม.ค.-มิ.ย)
อาเซียน 1,460.60 2,589.70 77.3 2.6 3.7
สหภาพยุโรป 14,594.70 16,318.10 11.8 25.5 23.2
ญี่ปุ่น 3,046.80 3,187.40 4.6 5.3 4.5
สหรัฐอเมริกา 16,607.50 16,150.30 -2.8 29 23
ที่มา : กรมเจรจาการค้าระหว่างประเทศ กระทรวงพาณิชย์ โดยความร่วมมือจากกรมศุลกากร กระทรวงการคลัง
สรุปและแนวโน้ม
ข้อสรุปจากข้อมูลโดยรวมของการค้าอัญมณีในไตรมาสที่สองของปี 2549 มีดังนี้คือ
- แนวโน้มการเติบโตของตลาดส่งออกของอุตสาหกรรมอัญมณีไทยยังมีอย่างต่อเนื่อง โดยเฉลี่ยคิดเป็นร้อยละ 23.1 เมื่อเทียบกับช่วง
เดียวกันของปีที่แล้ว
- การเติบโตของสินค้าประเภทเครื่องประดับอัญมณีเทียมมีปริมาณเพิ่มขึ้นทั้งการส่งออก และการนำเข้า แสดงถึงการเพิ่มขึ้นของความต้อง
การสินค้าที่มีราคาที่ถูกกว่าโดยเปรียบเทียบ ซึ่งอาจเนื่องมาจากสภาพเศรษฐกิจที่ชะลอตัว และการเพิ่มขึ้นของราคาสินค้าอื่นๆ ในท้องตลาด
- ปริมาณการเติบโตของอุตสาหกรรมนี้ยังมีอย่างต่อเนื่อง แต่เนื่องจากภาวะเศรษฐกิจโดยรวมไม่เอื้ออำนวยกับการใช้จ่ายกับสินค้าที่มี
ราคาแพง การบริโภคของสินค้าทดแทนประเภทเครื่องประดับอัญมณีเทียมจึงมีปริมาณเพิ่มขึ้น อย่างไรก็ตาม อัญมณีสังเคราะห์ ที่มีแนวโน้มเติบโตและส่ง
ออกได้ดีในช่วงไตรมาสก่อนยังคงแสดงการเติบโตที่ต่อเนื่อง รวมทั้งแนวโน้มของการขยายตัวของตลาดในอาเซียน ยังคงแสดงศักยภาพของการพัฒนาที่
เป็นตลาดที่ยั่งยืนต่อไปได้
--สำนักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม กระทรวงอุตสาหกรรม--
-พห-