ดัชนีราคาส่งออก-นำเข้าของประเทศเดือนธันวาคม 2563

ข่าวเศรษฐกิจ Tuesday January 5, 2021 14:21 —สำนักดัชนีเศรษฐกิจการค้า

ดัชนีราคาส่งออกเดือนธันวาคม 2563 เท่ากับ 101.2 ดัชนีราคานำเข้าเดือนธันวาคม 2563 เท่ากับ 94.4 เมื่อเทียบกับระยะเวลาการเปลี่ยนแปลงร้อยละเมื่อเทียบกับระยะเวลาการเปลี่ยนแปลงร้อยละ1.เดือนพฤศจิกายน 2563 (MoM) สูงขึ้น0.3 1.เดือนพฤศจิกายน 2563 (MoM) สูงขึ้น1.9 2.เดือนธันวาคม 2562 (YoY)สูงขึ้น0.1 2.เดือนธันวาคม 2562 (YoY)สูงขึ้น0.9 3. เฉลี่ย 12 เดือน (ม.ค.-ธ.ค.) ปี 2563

ลดลง-1.0 3. เฉลี่ย 12 เดือน (ม.ค.-ธ.ค.) ปี 2563

ลดลง-2.0 เทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน (AoA)เทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน (AoA)4.ไตรมาสที่4 ปี 2563 เทียบกับไตรมาส

สูงขึ้น0.1 4.ไตรมาสที่4 ปี 2563 เทียบกับไตรมาส

ลดลง-0.4 เดียวกันของปีก่อน (YoY)เดียวกันของปีก่อน (YoY)5.ไตรมาสที่4 ปี 2563 เทียบกับไตรมาส

สูงขึ้น0.5 5.ไตรมาสที่4 ปี 2563 เทียบกับไตรมาส

สูงขึ้น1.2 ก่อนหน้า (QoQ)ก่อนหน้า (QoQ)Highlights

ดัชนีราคาส่งออก เดือนธันวาคม 2563 เทียบกับเดือนเดียวกันปีก่อน สูงขึ้นร้อยละ 0.1 (YoY)ขยายตัวต่อเนื่อง 2 เดือนติดต่อกัน โดยดัชนีราคาส่งออกที่ปรับตัวสูงขึ้น ประกอบด้วย หมวดสินค้าเกษตรกรรมสูงขึ้นร้อยละ 4.2 ได้แก่ ยางพารา เนื่องจากความต้องการใช้เพื่อผลิตถุงมือยางเพิ่มขึ้น ส่วนผลไม้สดแช่เย็นแช่แข็งและแห้ง สูงขึ้นตามความต้องการของตลาดคู่ค้าที่มีอย่างต่อเนื่อง สำหรับผลิตภัณฑ์มันสำปะหลัง การส่งออกไปจีนขยายตัวสูงขึ้นมาก ประกอบกับผลผลิตยังคงออกสู่ตลาดไม่มากนัก หมวดสินค้าอุตสาหกรรมการเกษตร สูงขึ้นร้อยละ 3.4 ได้แก่น้ำตาลทราย เพิ่มขึ้นจากผลผลิตในตลาดโลกที่ลดลง สำหรับอาหารทะเลกระป๋องและแปรรูป ผลไม้กระป๋องและแปรรูป และอาหารสัตว์เลี้ยงส่วนหนึ่งจากต้นทุนวัตถุดิบโดยเฉพาะปลาทูน่าปรับตัวสูงขึ้น และหมวดสินค้าอุตสาหกรรม สูงขึ้นร้อยละ 0.4 ได้แก่ เครื่องอิเล็กทรอนิกส์ โดยเฉพาะ เครื่องคอมพิวเตอร์ อุปกรณ์และส่วนประกอบตามความต้องการในประเทศสำคัญยังขยายตัว ขณะที่หมวดสินค้าแร่และเชื้อเพลิง ลดลงร้อยละ 20.7 ได้แก่ น้ำมันสำเร็จรูป น้ำมันดิบ และก๊าซปิโตรเลียมเหลว ตามความต้องการใช้น้ำมันทั่วโลกที่ลดลงเมื่อเทียบกับปีก่อนหน้า จากผลกระทบของเศรษฐกิจโลกที่ยังหดตัว

ดัชนีราคานำเข้า เดือนธันวาคม 2563 เทียบกับเดือนเดียวกันปีก่อน สูงขึ้นร้อยละ 0.9 (YoY)ซึ่งเป็นการขยายตัวครั้งแรกในรอบ 11 เดือน หมวดสินค้าที่ดัชนีราคานำเข้าปรับสูงขึ้น ประกอบด้วย หมวดสินค้าวัตถุดิบและกึ่งสำเร็จรูป สูงขึ้นร้อยละ 4.2 ได้แก่ ทองคำ เพื่อการลงทุนในสินทรัพย์ที่ปลอดภัย ส่วนราคาเหล็ก เหล็กกล้า และผลิตภัณฑ์สูงขึ้นตามราคาในประเทศจีนที่ปรับตัวสูงขึ้น หมวดสินค้าอุปโภคบริโภค สูงขึ้นร้อยละ 1.7 ได้แก่ วัสดุสำนักงาน นมและผลิตภัณฑ์นม เครื่องใช้ไฟฟ้าในบ้านมีความต้องการที่เพิ่มขึ้น หมวดสินค้าทุน สูงขึ้นร้อยละ 1.4 ได้แก่เครื่องคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ เครื่องมือแพทย์และอุปกรณ์ทางการแพทย์ จากความต้องการใช้อุปกรณ์เพื่อป้องกันการติดเชื้อไวรัส COVID-19และหมวดยานพาหนะและอุปกรณ์การขนส่ง สูงขึ้นร้อยละ 0.2 ตามความต้องการใช้รถยนต์นั่ง รถจักรยานยนต์ และส่วนประกอบอุปกรณ์จักรยานยนต์ที่ปรับตัวดีขึ้น ขณะที่หมวดสินค้าเชื้อเพลิงเป็นหลัก ลดลงร้อยละ 9.7 ได้แก่ น้ำมันดิบ น้ำมันสำเร็จรูป และก๊าซธรรมชาติปิโตรเลียม เนื่องจากราคาน้ำมันดิบโลกยังต่ำกว่าเดียวกันของปีก่อนหน้า ตามเศรษฐกิจโลกที่ยังหดตัว

ดัชนีราคาส่งออกปี 2564 มีแนวโน้มสูงขึ้นอย่างค่อยเป็นค่อยไป โดยมีปัจจัยสนับสนุนจาก 1) ต้นทุนการขนส่งระหว่างประเทศที่สูงขึ้น 2) สินค้ากลุ่มอาหาร และกลุ่มเวชภัณฑ์ทางการแพทย์ 3) ราคาน้ำมันดิบโลกมีแนวโน้มฟื้นตัวอย่างช้าๆ ประกอบกับฐานที่ต่ำในปี 2563 ทำให้ราคาสินค้าที่เกี่ยวเนื่องปรับตัวสูงขึ้นด้วย 4) สินค้าที่อยู่ในกระแสความต้องการของตลาด โดยเฉพาะสินค้าเทคโนโลยีสมัยใหม่ เช่น คอมพิวเตอร์ อุปกรณ์และการสื่อสาร และ 5) เงินบาทที่มีแนวโน้มแข็งค่าจะส่งผลให้ราคาสินค้าส่งออกโดยเฉพาะสินค้าเกษตรสูงขึ้น

ดัชนีราคานำเข้าปี 2564 มีแนวโน้มปรับตัวสูงขึ้นเช่นกัน โดยมีปัจจัยสนับสนุนจาก 1) เศรษฐกิจประเทศสำคัญให้กลับมาฟื้นตัว ส่งผลให้ความต้องการสินค้ามีแนวโน้มปรับตัวเพิ่มขึ้นเป็นวงกว้าง 2) ราคาน้ำมันที่มีแนวโน้มปรับตัวสูงขึ้นกว่าปี 2563 3) ราคาวัตถุดิบที่สำคัญในตลาดโลกมีแนวโน้มปรับตัวสูงขึ้น เช่น เหล็ก และถั่วเหลือง เป็นต้น และ 4) ราคาสินค้าคอมพิวเตอร์และอิเล็กทรอนิกส์ปรับตัวสูงขึ้น

อัตราการค้า (Term of Trade)เดือนธันวาคม 2563 อัตราการค้าของไทย ในเดือนธันวาคม 2563 เท่ากับ 107.2 (เดือนพฤศจิกายน 2563 เท่ากับ 109.0) ทั้งนี้ อัตราการค้ายังสูงกว่า 100 แสดงว่า ประเทศไทยยังมีความสามารถทางการแข่งขันที่ดี โดยกลุ่มสินค้าที่ไทยมีความได้เปรียบในอัตราการค้า ได้แก่ เคมีภัณฑ์ ผักและผลไม้กระป๋องและแปรรูป เครื่องสำอาง สบู่และผลิตภัณฑ์รักษาผิว เครื่องคอมพิวเตอร์ อุปกรณ์และส่วนประกอบ เม็ดพลาสติก เครื่องจักรกลและส่วนประกอบ ผลิตภัณฑ์ทำจากข้าวและแป้ง และผลิตภัณฑ์พลาสติก ขณะที่กลุ่มสินค้าที่ราคานำเข้าสูงกว่าราคาส่งออก (เสียเปรียบในอัตราการค้า) ได้แก่ น้ำมันดิบ น้ำมันสำเร็จรูป ทองคำ แผงวงจรไฟฟ้า อัญมณีและเครื่องประดับ ทองแดงและผลิตภัณฑ์ นมและผลิตภัณฑ์นม กระดาษและผลิตภัณฑ์กระดาษ สิ่งทอและเสื้อผ้า และเครื่องใช้ไฟฟ้า 1. ดัชนีราคาส่งออกของประเทศเดือนธันวาคม 2563 เท่ากับ 101.2 (ปีฐาน 2555 =100) (เดือนพฤศจิกายน 2563 เท่ากับ 100.9) โดยดัชนีราคาส่งออกหมวดสินค้าเกษตรกรรม เท่ากับ 106.7หมวดสินค้าอุตสาหกรรมการเกษตร เท่ากับ 110.9หมวดสินค้าอุตสาหกรรม เท่ากับ 103.0และหมวดสินค้าแร่และเชื้อเพลิง เท่ากับ 63.7 2. การเปลี่ยนแปลงของดัชนีราคาส่งออกของประเทศเดือนธันวาคม 2563 เมื่อเทียบกับ2.1 เทียบกับเดือนก่อนหน้า (MoM)สูงขึ้นร้อยละ 0.3 โดยมีการเปลี่ยนแปลง ดังนี้

ดัชนีราคาส่งออกปรับตัวสูงขึ้น โดยเฉพาะหมวดสินค้าแร่และเชื้อเพลิง สูงขึ้นร้อยละ 5.6 ได้แก่ น้ำมันสำเร็จรูป และน้ำมันดิบ เนื่องจากความต้องการใช้น้ำมันเพิ่มขึ้น ตามการฟื้นตัวของรวมทุกรายการ0.3

เศรษฐกิจประเทศสำคัญของโลก โดยเฉพาะจีน หมวดสินค้าอุตสาหกรรม สูงขึ้นร้อยละ 0.3 ได้แก่ เครื่องอิเล็กทรอนิกส์ เครื่องใช้ไฟฟ้า เม็ดพลาสติก ผลิตภัณฑ์พลาสติก เคมีภัณฑ์ ตามความ-0.8

ต้องการของตลาดโลกที่เพิ่มขึ้น และเป็นสินค้าที่เกี่ยวเนื่องกับราคาน้ำมัน และหมวดสินค้าหมวดสินค้าเกษตรกรรม

อุตสาหกรรมการเกษตร สูงขึ้นร้อยละ 0.2 ได้แก่ อาหารทะเลกระป๋องและแปรรูป เครื่องดื่ม 0.2 หมวดสินค้าอุตสาหกรรมการเกษตรผลิตภัณฑ์ข้าวสาลีอื่น ๆ ผักกระป๋องและแปรรูป เนื่องจากการแพร่ระบาดของไวรัสโควิด-19 ทำให้มีความต้องการสินค้าอาหารที่เก็บไว้ได้นานเพิ่มขึ้น ขณะที่หมวดสินค้าเกษตรกรรม ลดลงหมวดสินค้าอุตสาหกรรม0.3 ร้อยละ 0.8 ได้แก่ ยางพารา ซึ่งหดตัวสูงถึงร้อยละ 8.8 โดยคาดว่าจะเป็นการปรับตัวลดลงเพียงชั่วคราว เนื่องจากการส่งออกยางพาราและความต้องการใช้ยังมีแนวโน้มขยายตัวสูง5.6 หมวดสินค้าแร่และเชื้อเพลิง2.2เทียบกับเดือนเดียวกันปีก่อนหน้า (YoY)สูงขึ้นร้อยละ 0.1 โดยมีการเปลี่ยนแปลง ดังนี้ดัชนีราคาส่งออก เดือนธันวาคม 2563 สูงขึ้นร้อยละ 0.1 (YoY)ขยายตัวต่อเนื่อง 2 เดือนติดต่อกัน โดยดัชนีราคาส่งออกที่ปรับตัวสูงขึ้น ประกอบด้วย หมวดสินค้าเกษตรกรรม สูงขึ้นร้อยละ 4.2 ได้แก่ ยางพารา เนื่องจากความต้องการใช้เพื่อผลิตถุงมือยางเพิ่มขึ้น และการส่งออก0.1 ยางพาราขยายตัวสูง ส่วนผลไม้สดแช่เย็นแช่แข็งและแห้ง สูงขึ้นตามความต้องการของตลาดคู่ค้าที่มีอย่างต่อเนื่อง ขณะที่ราคาข้าวเพิ่มขึ้นจากอานิสงส์ของการส่งออกข้าวนึ่งขยายตัวสูงทำให้ราคารวมทุกรายการ

ข้าวภาพรวมปรับตัวสูงขึ้นด้วย สำหรับผลิตภัณฑ์มันสำปะหลังมีการส่งออกไปจีนขยายตัวสูงมาก 4.2 ประกอบกับเป็นช่วงเริ่มต้นฤดูกาลผลิตปี 2563/64 ผลผลิตยังคงออกสู่ตลาดไม่มากนักหมวดหมวดสินค้าเกษตรกรรม

สินค้าอุตสาหกรรมการเกษตร สูงขึ้นร้อยละ 3.4 ได้แก่ น้ำตาลทราย เพิ่มขึ้นจากผลผลิตใน3.4 ตลาดโลกที่ลดลง สำหรับอาหารทะเลกระป๋องและแปรรูป ผลไม้กระป๋องและแปรรูป และอาหารหมวดสินค้าอุตสาหกรรมการเกษตรสัตว์เลี้ยงตามความต้องการบริโภคสินค้าอาหารสำเร็จรูปจากทั่วโลกที่เพิ่มขึ้น ทำให้ต้นทุนวัตถุดิบ 0.4 โดยเฉพาะปลาทูน่าปรับตัวสูงขึ้นและหมวดสินค้าอุตสาหกรรม สูงขึ้นร้อยละ 0.4 ได้แก่ หมวดสินค้าอุตสาหกรรมเครื่องอิเล็กทรอนิกส์ โดยเฉพาะ เครื่องคอมพิวเตอร์ อุปกรณ์และส่วนประกอบตามความต้องการ-20.7 ในประเทศสำคัญยังขยายตัว และอัญมณีและเครื่องประดับ โดยเฉพาะราคาทองคำยังไม่ได้ขึ้นรูปที่ราคาสูงกว่าปีก่อนหน้าค่อนข้างมาก จากความต้องการลงทุนในสินทรัพย์ปลอดภัยขณะที่หมวดสินค้าแร่และเชื้อเพลิง

หมวดสินค้าแร่และเชื้อเพลิง ลดลงร้อยละ 20.7 ได้แก่ น้ำมันสำเร็จรูป น้ำมันดิบ และก๊าซปิโตรเลียมเหลว ตามความต้องการใช้น้ำมันทั่วโลกที่ลดลงเมื่อเทียบกับปีก่อนหน้า จากผลกระทบของเศรษฐกิจโลกที่ยังหดตัว2.3 เฉลี่ย12 เดือนม.ค.-ธ.ค. ปี 2563 เทียบกับปี 2562 (AoA)ลดลงร้อยละ 1.0 โดยมีการเปลี่ยนแปลง ดังนี้-1.0 ดัชนีราคาส่งออกปรับตัวลดลง ประกอบด้วย หมวดสินค้าแร่และเชื้อเพลิง ลดลงร้อยละ 24.4 รวมทุกรายการได้แก่ น้ำมันสำเร็จรูป น้ำมันดิบ และก๊าซปิโตรเลียมเหลว ตามราคาน้ำมันดิบโลกที่ปรับตัวลดลง2.7 จากปีก่อนหน้าค่อนข้างมากและหมวดสินค้าอุตสาหกรรม ลดลงร้อยละ 0.6 ได้แก่ ยานพาหนะ หมวดสินค้าเกษตรกรรมอุปกรณ์และส่วนประกอบ เครื่องใช้ไฟฟ้า เป็นผลจากความต้องการสินค้าที่ชะลอตัว2.1 ตามสถานการณ์เศรษฐกิจโลก เม็ดพลาสติก และผลิตภัณฑ์พลาสติก ลดลงเพราะเป็นสินค้าที่หมวดสินค้าอุตสาหกรรมการเกษตรเกี่ยวเนื่องกับราคาน้ำมันขณะที่หมวดสินค้าเกษตรกรรม สูงขึ้นร้อยละ 2.7 ได้แก่ ข้าว ไก่ -0.6 ผลไม้สดแช่เย็นแช่แข็งและแห้ง และยางพารา ตามความต้องการสินค้าที่มีอย่างต่อเนื่องและหมวดสินค้าอุตสาหกรรมหมวดสินค้าอุตสาหกรรมการเกษตร สูงขึ้นร้อยละ 2.1 ได้แก่ น้ำตาลทราย อาหารทะเล-24.4 กระป๋อง ผลไม้กระป๋องและแปรรูป และอาหารสัตว์เลี้ยง ตามความต้องการสินค้าในหมวดอาหารหมวดสินค้าแร่และเชื้อเพลิงที่ขยายตัว เนื่องจากเป็นสินค้าที่ได้ประโยชน์จากที่หลายประเทศมีการดำเนินมาตรการปิดเมืองและการทำงานที่บ้านในช่วงที่มีการแพร่ระบาดของไวรัสโควิด-19 2.4ไตรมาสที่ 4 ปี 2563 เทียบกับไตรมาสเดียวกันของปีก่อน (YoY) สูงขึ้นร้อยละ 0.1(ไตรมาสที่ 3 ปี 2563 ลดลงร้อยละ 0.7) โดยมีการเปลี่ยนแปลง ดังนี้หมวดสินค้าที่ดัชนีราคาส่งออกปรับสูงขึ้น ประกอบด้วย หมวดสินค้าเกษตรกรรม สูงขึ้นร้อยละ 5.3 ได้แก่ ยางพารา ผลไม้สดแช่เย็น แช่แข็งและแห้ง ฝ้าย ข้าวและสินค้า0.1 กสิกรรมอื่น ๆ ตามความต้องการสินค้าที่มีอย่างต่อเนื่อง หมวดสินค้าอุตสาหกรรมรวมทุกรายการ

การเกษตร สูงขึ้นร้อยละ 3.5 โดยเฉพาะน้ำตาลทราย อาหารทะเลกระป๋องและแปรรูป 5.3

ผลไม้กระป๋องและแปรรูป และผลิตภัณฑ์ข้าวสาลีและอาหารสำเร็จรูปอื่นๆ เนื่องจากหมวดสินค้าเกษตรกรรม

อาหารทะเลกระป๋องและแปรรูป ยังเป็นที่ต้องการของหลายประเทศทั่วโลก โดยเฉพาะ3.5

ในช่วงที่มีการแพร่ระบาดของไวรัสโควิด-19ขณะที่อ้อยได้รับผลกระทบจากปัญหาหมวดสินค้าอุตสาหกรรมการเกษตร

ภัยแล้ง ทำให้ผลผลิตออกสู่ตลาดน้อยลงและหมวดสินค้าอุตสาหกรรม สูงขึ้นร้อยละ 0.2

0.2 หมวดสินค้าอุตสาหกรรมได้แก่ อัญมณีและเครื่องประดับ เครื่องอิเล็กทรอนิกส์ เหล็ก เหล็กกล้าและ-22.4 ผลิตภัณฑ์ และเคมีภัณฑ์ตามความต้องการสินค้าจากตลาดโลกที่เพิ่มขึ้น ประกอบกับหมวดสินค้าแร่และเชื้อเพลิงต้นทุนการนำเข้าปรับตัวสูงขึ้นขณะที่หมวดสินค้าแร่และเชื้อเพลิง ลดลงร้อยละ 22.4 ได้แก่ น้ำมันดิบ และน้ำมันสำเร็จรูป เนื่องจากความต้องการใช้น้ำมันโลกยังอยู่ในระดับต่ำกว่าปีก่อนหน้าซึ่งเป็นผลมาจากผลกระทบของการแพร่ระบาดของไวรัสโควิด-19 2.5ไตรมาสที่ 4 ปี 2563 เทียบกับไตรมาสก่อนหน้า (QoQ) สูงขึ้นร้อยละ 0.5(ไตรมาสที่ 3 ปี 2563 สูงขึ้นร้อยละ 1.3) โดยมีการเปลี่ยนแปลง ดังนี้0.5 หมวดสินค้าที่ดัชนีราคาส่งออกปรับสูงขึ้นทุกหมวดสินค้า ประกอบด้วย หมวดสินค้ารวมทุกรายการแร่และเชื้อเพลิง สูงขึ้นร้อยละ 2.7 ได้แก่ น้ำมันดิบ และน้ำมันสำเร็จรูป 2.2 ตามทิศทางราคาน้ำมันดิบตลาดโลกที่ปรับตัวสูงขึ้นกว่าไตรมาสก่อนหน้าหมวดสินค้าหมวดสินค้าเกษตรกรรมเกษตรกรรม สูงขึ้นร้อยละ 2.2 ได้แก่ ยางพารา ผลิตภัณฑ์มันสำปะหลัง กุ้ง ผลไม้สด0.9 แช่เย็น แช่แข็งและแห้ง สุกรสดแช่เย็นแช่แข็ง และผักสดแช่เย็น แช่แข็งและแห้ง หมวดสินค้าอุตสาหกรรมการเกษตรตามความต้องการสินค้าที่ปรับตัวเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง หมวดสินค้าอุตสาหกรรม0.2 การเกษตร สูงขึ้นร้อยละ 0.9 ได้แก่ น้ำตาลทราย เนื่องจากผลผลิตของประเทศบราซิลหมวดสินค้าอุตสาหกรรม

ลดลงและหมวดสินค้าอุตสาหกรรม สูงขึ้นร้อยละ 0.2 ได้แก่ เหล็ก เหล็กกล้าและ2.7 ผลิตภัณฑ์เพิ่มขึ้นตามราคานำเข้าจากประเทศจีน ส่วนราคาเม็ดพลาสติกและเคมีภัณฑ์หมวดสินค้าแร่และเชื้อเพลิง

ฟื้นตัวตามราคาน้ำมัน

ที่มา: สำนักงานนโยบายและยุทธศาสตร์การค้า กระทรวงพาณิชย์


แท็ก ดัชนีราคา  

เว็บไซต์นี้มีการใช้งานคุกกี้ ศึกษารายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และ ข้อตกลงการใช้บริการ รับทราบ