ดัชนีราคาผู้บริโภคทั่วไปของประเทศและดัชนีราคาผู้บริโภคพื้นฐานของประเทศเดือน เมษายน 2565

ข่าวเศรษฐกิจ Tuesday May 10, 2022 15:40 —สำนักดัชนีเศรษฐกิจการค้า

สถิติอัตราเงินเฟ้อ ดัชนีราคาผู้บริโภคเดือนเมษายน 2565 เท่ากับ 105.15(ปีฐาน 2562 =100)

เมื่อเทียบกับการเปลี่ยนแปลงร้อยละ7.0 106.0 6.0 105.0 1. เดือนเมษายน2564 (YoY)สูงขึ้น4.65 5.0 104.0 4.0

102.0 3.0

101.0 2. เดือนมีนาคม 2565 (MoM) สูงขึ้น0.34 2.0

100.0 1.0

99.0 3.เฉลี่ย 4 เดือน (ม.ค. -เม.ย.) ปี 2565 0.0

98.0 สูงขึ้น4.71 -1.0 97.0 -2.0 เทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน (AoA)96.0 -3.0 95.0 -4.0 94.0 Highlights อัตราเงินเฟ้อเดือนเมษายน 2565 เมื่อเทียบกับเดือนเดียวกันของปีก่อน -5.0

ม.ค. 62 มี.ค. 62 พ.ค.62 ก.ค.62 ก.ย.62 พ.ย.62 ม.ค. 63 มี.ค. 63 พ.ค.63 ก.ค.63 ก.ย.63 พ.ย.63 ม.ค. 64 มี.ค. 64 พ.ค. 64 ก.ค. 64 ก.ย. 64 พ.ย. 64 ม.ค. 65 มี.ค. 65 สูงขึ้นร้อยละ 4.65 (YoY)เป็นการเพิ่มขึ้นในอัตราที่ชะลอตัวลงจากเดือนก่อนหน้าที่สูงขึ้นดัชนีเงินเฟ้อทั่วไปเงินเฟ้อฟื้นฐานร้อยละ 5.73เนื่องจากฐานที่สูงขึ้นของค่ากระแสไฟฟ้าจากการสิ้นสุดมาตรการลดภาระ105.15 4.65%2.00%

ค่าครองชีพของประชาชน ในปี 2564 ประกอบกับราคาน้ำมันเชื้อเพลิงเริ่มชะลอตัวลง นอกจากนี้ มีสินค้าสำคัญอื่นๆ ที่ราคาลดลง ได้แก่ ข้าวสารเจ้า ข้าวสารเหนียวผลไม้สด และอัตราการเปลี่ยนแปลงดัชนีราคาเดือนเมษายน2565 เครื่องนุ่งห่มและรองเท้า เป็นต้น อย่างไรก็ตาม มีสินค้าที่ราคาสูงขึ้น อาทิ ก๊าซหุงต้มที่ราคาปรับตัวสูงขึ้นจากการสิ้นสุดระยะเวลาตรึงราคาโดยมีการทยอยรวมทุกรายการ4.65 ปรับขึ้นราคาแบบขั้นบันได และสินค้าในกลุ่มอาหาร โดยเฉพาะเนื้อสุกร ไก่สดไข่ไก่ อาหารและเครื่องดื่มไม่มี.4.83 น้ำมันพืช อาหารบริโภคในบ้าน-นอกบ้าน ตามต้นทุนการผลิตและต้นทุนวัตถุดิบที่เพิ่มขึ้นขณะที่ราคาสินค้าและบริการในหมวดอื่น ๆ ส่วนใหญ่ยังทรงตัวและ-อาหารสด3.47 เคลื่อนไหวในทิศทางปกติสอดคล้องกับพฤติกรรมการบริโภคของประชาชน

ทั้งนี้ เมื่อหักอาหารสดและพลังงานออกแล้ว เงินเฟ้อพื้นฐานขยายตัวที่ร้อยละ 2.00 หมวดอื่น ๆ ที่ไม่ใช่.4.54

และเฉลี่ย 4 เดือน (ม.ค.-เม.ย.) 2565 เงินเฟ้อทั่วไปสูงขึ้นร้อยละ 4.71 (AoA)เครื่องนุ่งห่มและรองเท้า-0.17 และเงินเฟ้อพื้นฐานสูงขึ้นร้อยละ 1.58 (AoA)เคหสถาน0.98 1. เทียบกับเดือนเมษายน 2564 สูงขึ้นร้อยละ 4.65(YoY)โดยมีการเปลี่ยนแปลงของราคาสินค้าและบริการ ดังนี้การตรวจรักษาและ.0.85 พาหนะการขนส่งและ.10.73 *หมวดอาหารและเครื่องดื่มไม่มีแอลกอฮอล์ สูงขึ้นร้อยละ 4.83 โดยมีปัจจัยสำคัญจาก21.07 การสูงขึ้นของสินค้าเกือบทุกกลุ่ม ได้แก่ กลุ่มเนื้อสัตว์ เป็ดไก่ และสัตว์น้ำร้อยละ 6.86 -พลังงาน

จากการสูงขึ้นของราคาเนื้อสุกร ไก่สด และเนื้อโค กลุ่มไข่และผลิตภัณฑ์นมร้อยละ 9.89 การบันเทิง การอ่าน การ.-0.83 จากการสูงขึ้นของราคาไข่ไก่ นมสด และนมผง กลุ่มผักสดร้อยละ 1.06 จากการสูงขึ้นของราคามะนาว พริกสด มะเขือ และผักบุ้ง กลุ่มเครื่องประกอบอาหารร้อยละ 9.13 ยาสูบและเครื่องดื่มมี.2.21 จากการสูงขึ้นของราคาน้ำมันพืช ซีอิ๊ว และกะปิ กลุ่มเครื่องดื่มไม่มีแอลกอฮอล์ร้อยละ 1.81 จากการสูงขึ้นของราคากาแฟ/ชา (ร้อน/เย็น) กาแฟผงสำเร็จรูป และน้ำปั่นผลไม้/ผัก ดัชนีราคาผู้บริโภคพื้นฐาน 2.00 กลุ่มอาหารบริโภคในบ้านร้อยละ 6.57 จากการสูงขึ้นของราคากับข้าวสำเร็จรูป ข้าวแกง/ข้าวกล่อง และผัดซีอิ๊ว/ราดหน้า และกลุ่มอาหารบริโภคนอกบ้านร้อยละ 6.24 จากการสูงขึ้นของราคาอาหารเช้า อาหารกลางวัน (ข้าวราดแกง) และอาหารเย็น (อาหารตามสั่ง) แนวโน้มเงินเฟ้อปี 2565

ในขณะที่มีสินค้าราคาลดลง ได้แก่กลุ่มข้าวแป้งและผลิตภัณฑ์จากแป้งร้อยละ -3.64 จากการลดลงของราคาข้าวสารเจ้า ข้าวสารเหนียว และแป้งข้าวเจ้า และกลุ่มผลไม้สดร้อยละ -1.05 จากการลดลงของราคาส้มเขียวหวาน มะม่วง และกล้วยหอม*หมวดอื่น ๆ ที่ไม่ใช่อาหารและเครื่องดื่ม สูงขึ้นร้อยละ 4.54 โดยมีสาเหตุหลักจากการสูงขึ้นของหมวดพาหนะ การขนส่ง และการสื่อสารร้อยละ 10.73 จากการสูงขึ้นของราคาน้ำมันเชื้อเพลิง ร้อยละ 29.74 และค่าโดยสารสาธารณะ ร้อยละ 1.36 หมวดเคหสถานร้อยละ 0.98 จากการสูงขึ้นของราคาค่ากระแสไฟฟ้า ก๊าซหุงต้ม และน้ำยาล้างจาน หมวดการตรวจรักษา และบริการส่วนบุคคลร้อยละ 0.85 จากการสูงขึ้นของราคาแชมพู ยาสีฟัน และสบู่ถูตัว และหมวดยาสูบและเครื่องดื่มมีแอลกอฮอล์ร้อยละ 2.21 จากการสูงขึ้นของราคาบุหรี่ เบียร์ และสุรา ในขณะที่มีสินค้าและบริการราคาลดลง ได้แก่หมวดเครื่องนุ่งห่มและรองเท้าร้อยละ -0.17 จากการลดลงของราคากางเกงขายาวบุรุษ เสื้อยืดสตรี และเสื้อเชิ้ตบุรุษและสตรี หมวดการบันเทิง การอ่าน การศึกษาฯร้อยละ -0.83 จากการลดลงของค่าเล่าเรียนและค่าธรรมเนียมการศึกษาในทุกระดับชั้น และกลุ่มการสื่อสารลดลงร้อยละ -0.07

2. เทียบกับเดือนมีนาคม 2565สูงขึ้นร้อยละ 0.34(MoM)โดยมีการเปลี่ยนแปลงของราคาสินค้าและบริการ ดังนี้*หมวดอาหารและเครื่องดื่มไม่มีแอลกอฮอล์ สูงขึ้นร้อยละ 0.99 ตามการรวมทุกรายการ0.34 สูงขึ้นของกลุ่มเนื้อสัตว์ เป็ดไก่ และสัตว์น้ำ(เนื้อสุกร ไก่สด และเนื้อโค) ร้อยละ 1.18 กลุ่มไข่และผลิตภัณฑ์นม(ไข่ไก่ นมผง และนมสด) ร้อยละ 2.69 อาหารและเครื่องดื่มไม่มี.0.99 กลุ่มผักสด(มะนาว ผักกาดขาว และกะหล่ำปลี)ร้อยละ 4.26 กลุ่มผลไม้สด-อาหารสด1.67

(น้ำมันพืช น้ำพริกแกง และซีอิ๊ว) ร้อยละ 0.98 กลุ่มเครื่องดื่มไม่มีแอลกอฮอล์หมวดอื่น ๆ ที่ไม่ใช่อาหาร.-0.10 (กาแฟ/ชา (ร้อน/เย็น) กาแฟผงสำเร็จรูป และเครื่องดื่มบำรุงกำลัง) ร้อยละ 0.20 กลุ่มอาหารบริโภคในบ้าน(กับข้าวสำเร็จรูป อาหารโทรสั่ง (delivery)เครื่องนุ่งห่มและรองเท้า0.04 และก๋วยเตี๋ยว) ร้อยละ 0.35 และกลุ่มอาหารบริโภคนอกบ้าน(อาหารเช้าเคหสถาน0.13

และผลิตภัณฑ์จากแป้ง(ข้าวสารเหนียว และขนมปังปอนด์) ราคาลดลงร้อยละ -0.03 การตรวจรักษาและบริการ.0.32 *หมวดอื่น ๆ ที่ไม่ใช่อาหารและเครื่องดื่ม ลดลงร้อยละ -0.10 ตามการลดลงของสินค้าและบริการในหมวดพาหนะ การขนส่ง และการสื่อสาร(น้ำมันเชื้อเพลิง) พาหนะการขนส่งและการ.-0.44 ร้อยละ -0.44 และหมวดการบันเทิง การอ่าน การศึกษาฯ(เครื่องถวายพระ-0.62 ค่าห้องพักโรงแรม และเครื่องรับโทรทัศน์) ลดลงร้อยละ -0.02 ในขณะที่-พลังงาน

มีสินค้าและบริการที่ราคาสูงขึ้น ได้แก่ หมวดเครื่องนุ่งห่มและรองเท้า(กางเกงขายาวการบันเทิง การอ่าน การ.-0.02 และเสื้อเชิ้ตบุรุษ) ร้อยละ 0.04 หมวดเคหสถาน(ก๊าซหุงต้ม น้ำยาล้างจาน น้ำยารีดผ้า และถ่านไม้) ร้อยละ 0.13 หมวดการตรวจรักษาและบริการส่วนบุคคลยาสูบและเครื่องดื่มมี.0.03 (ยาสีฟัน ผลิตภัณฑ์ป้องกันและบำรุงผิว และแชมพู) ร้อยละ 0.32 หมวดยาสูบ และเครื่องดื่มมีแอลกอฮอล์(เบียร์ สุรา และไวน์)ร้อยละ 0.03 ค่าโดยสารสาธารณะดัชนีราคาผู้บริโภคพื้นฐาน *0.14

(ค่าโดยสารเครื่องบิน และค่าโดยสารรถตู้) ร้อยละ 0.18 และกลุ่มการสื่อสาร ร้อยละ 0.01 3. เฉลี่ย 4 เดือน (ม.ค. -เม.ย.) ปี 2565 เทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน สูงขึ้นร้อยละ 4.71(AoA) โดยมีการเปลี่ยนแปลง ดังนี้รวมทุกรายการ4.71 *หมวดอื่นๆ ไม่ใช่อาหาร และเครื่องดื่ม สูงขึ้นร้อยละ 5.16 โดยมีปัจจัยหลักจากการสูงขึ้นของหมวดพาหนะ การขนส่ง และการสื่อสารร้อยละ 10.23 อาหารและเครื่องดื่มไม่มี.4.07 ตามการสูงขึ้นของราคาน้ำมันเชื้อเพลิง ร้อยละ 29.01 เป็นสำคัญ หมวดเคหสถาน(ค่ากระแสไฟฟ้า ค่าน้ำประปา และแก๊สหุงต้ม) ร้อยละ 3.23 หมวดการตรวจรักษา-อาหารสด3.35 และบริการส่วนบุคคล(แชมพู ค่าแต่งผมชาย และยาแก้ปวดและลดไข้) ร้อยละ 0.54 หมวดยาสูบ และเครื่องดื่มมีแอลกอฮอล์(บุหรี่ เบียร์ และสุรา) ร้อยละ 1.96 หมวดอื่น ๆ ที่ไม่ใช่อาหาร.5.16

และค่าโดยสารสาธารณะ ร้อยละ 0.86 ในขณะที่มีสินค้าและบริการราคาลดลง เครื่องนุ่งห่มและรองเท้า-0.19 ได้แก่ หมวดเครื่องนุ่งห่มและรองเท้า(กางเกงขายาวบุรุษ เสื้อยืดสตรีและบุรุษ) ร้อยละ -0.19 หมวดการบันเทิง การอ่าน การศึกษาฯ(ค่าธรรมเนียมการศึกษาเคหสถาน3.23 และอาหารสัตว์) ร้อยละ -0.84และกลุ่มการสื่อสาร ร้อยละ -0.07 *หมวดอาหาร และเครื่องดื่มไม่มีแอลกอฮอล์ สูงขึ้นร้อยละ 4.07 จากการการตรวจรักษาและบริการ.0.54 สูงขึ้นของสินค้าในกลุ่มเนื้อสัตว์ เป็ดไก่ และสัตว์น้ำ(เนื้อสุกร เนื้อโค และไก่สด)ร้อยละ 7.87 กลุ่มไข่และผลิตภัณฑ์นม(ไข่ไก่ ไข่เป็ด และนมสด) ร้อยละ 5.63 พาหนะการขนส่งและการ.

10.23 กลุ่มผักสด(กะหล่ำปลี ผักคะน้า และมะนาว) ร้อยละ 4.12 กลุ่มเครื่องประกอบ25.33

อาหาร(น้ำมันพืช ซีอิ๊ว และกะปิ) ร้อยละ 8.01 กลุ่มเครื่องดื่มไม่มีแอลกอฮอล์-พลังงาน

(กาแฟ/ชา (ร้อน/เย็น) น้ำปั่นผลไม้/ผัก และชาสำเร็จรูปพร้อมดื่ม) ร้อยละ 1.13 การบันเทิง การอ่าน การ.-0.84

ร้อยละ 5.00 และกลุ่มอาหารบริโภคนอกบ้าน(อาหารกลางวัน (ข้าวราดแกง) ยาสูบและเครื่องดื่มมี.1.96 อาหารเช้า และอาหารเย็น (อาหารตามสั่ง)) ร้อยละ 4.67 สำหรับสินค้าที่ราคาลดลงได้แก่ กลุ่มข้าวแป้งและผลิตภัณฑ์จากแป้ง (ข้าวสารเจ้าและข้าวสารเหนียว) ดัชนีราคาผู้บริโภคพื้นฐาน *1.58 ร้อยละ -4.67 และกลุ่มผลไม้สด(ส้มเขียวหวาน มะม่วง และกล้วยน้ำว้า) ร้อยละ -2.98

เดือนเมษายน 2565

สนักงนนโยบยและยุทธศสตร์กรค (สนค.)4. อัตราการเปลี่ยนแปลงของเงินเฟ้อ (YoY) จำแนกรายภาค เดือนเมษายน 2565

อัตราการเปลี่ยนแปลง(YoY) จำแนกรายภาค พบว่า ดัชนีราคาผู้บริโภคทุกภาคยังคงขยายตัวต่อเนื่องโดยมีรายละเอียดดังนี้

รวมอาหารและเครื่องดื่มไม่มีแอลกอฮอล์อื่น ๆ ที่ไม่ใช่อาหารและเครื่องดื่มภาค

การเปลี่ยนแปลง (ร้อยละ)การเปลี่ยนแปลง (ร้อยละ)การเปลี่ยนแปลง (ร้อยละ)1. กรุงเทพฯ และปริมณฑล 4.58 5.97 3.74 2. ภาคกลาง 5.02 5.50 4.70 3.ภาคเหนือ4.25 3.39 4.87 4. ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 4.14 3.55 4.61 5. ภาคใต้5.33 5.24 5.39 ดัชนีราคาผู้บริโภคจำแนกรายภาค พบว่า ดัชนีราคาผู้บริโภคในทุกภาคยังคงขยายตัวต่อเนื่องในอัตราที่ชะลอตัวลงจากเดือนก่อนหน้าโดยภาคใต้ ขยายตัวสูงกว่าภูมิภาคอื่น ๆ ที่ร้อยละ 5.33 ในขณะที่ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ขยายตัวต่ำที่สุด ที่ร้อยละ 4.14สำหรับภาคกลาง กรุงเทพฯ และปริมณฑล และภาคเหนือ ขยายตัวร้อยละ 5.024.58และ 4.25ตามลำดับ

เมื่อพิจารณาเป็นรายหมวด พบว่า ภาคเหนือและภาคตะวันออกเฉียงเหนือ มีการขยายตัวของหมวดอาหารและเครื่องดื่มไม่มีแอลกอฮอล์ ต่ำกว่าภูมิภาคอื่น ๆ สาเหตุสำคัญจากสินค้าในกลุ่มข้าวราคาลดลงมากกว่าภาคอื่น ๆ และสินค้ากลุ่มผักสดราคาโดยเฉลี่ยของทั้งสองภูมิภาคปรับตัวลดลง ในขณะที่ภูมิภาคอื่น ๆ ราคาปรับตัวสูงขึ้น เนื่องจากเป็นแหล่งเพาะปลูกหลักของประเทศ

เมื่อพิจารณาเป็นรายสินค้า พบว่า สินค้าสำคัญที่ราคาปรับตัวสูงขึ้นในทุกภาค ได้แก่ น้ำมันเชื้อเพลิง อาหารสำเร็จรูป อาทิ อาหารกลางวัน (ข้าวราดแกง) กับข้าวสำเร็จรูป ไข่ไก่ เนื้อสุกร สำหรับสินค้าสำคัญที่ราคาลดลงในทุกภาคได้แก่ ข้าวสารเจ้า ผักสด อาทิ ขิง ต้นหอม ถั่วฝักยาว และค่าธรรมเนียมการศึกษา เป็นต้น

5.แนวโน้มเงินเฟ้อเดือนพฤษภาคม 2565

แนวโน้มเงินเฟ้อเดือนพฤษภาคม 2565 ขยายตัวต่อเนื่องจากราคาน้ำมันที่ยังคงอยู่ในระดับสูงเมื่อเทียบกับเดือนเดียวกันของปีก่อน ประกอบกับมาตรการตรึงราคาและการปรับลดภาษีสรรพสามิตน้ำมันดีเซล ได้สิ้นสุดลงในเดือนเมษายนและปลายเดือนพฤษภาคมนี้ และการปรับราคาสูงขึ้นแบบขั้นบันไดของก๊าซหุงต้มในเดือนเมษายน-พฤษภาคม 2565 รวมทั้งสินค้าอุปโภคบริโภค โดยเฉพาะอาหารสดและอาหารสำเร็จรูปยังมีแนวโน้มปรับสูงขึ้นตามต้นทุนการผลิตและวัตถุดิบ นอกจากนี้ ราคาพลังงานและสินค้าโภคภัณฑ์โลก มาตรการคว่ำบาตรของสหรัฐฯ และพันธมิตรและการแพร่ระบาดของโควิด-19 รวมถึงความไม่แน่นอนของสภาพอากาศ ยังคงเป็นปัจจัยที่จะส่งผลให้เงินเฟ้อของประเทศสูงขึ้นได้ในระยะต่อไป ซึ่งจะต้องเฝ้าระวังอย่างใกล้ชิด ทั้งนี้ กระทรวงพาณิชย์ คาดการณ์ว่าเงินเฟ้อทั่วไปของไทย ปี 2565 จะเคลื่อนไหวในกรอบร้อยละ 4.0 -5.0(ค่ากลางอยู่ที่ 4.5)ซึ่งเป็นระดับที่เหมาะสมกับสถานการณ์ปัจจุบัน และหากสถานการณ์เปลี่ยนแปลงอย่างมีนัยสำคัญจะมีการทบทวนอีกครั้ง

ที่มา: สำนักงานนโยบายและยุทธศาสตร์การค้า กระทรวงพาณิชย์


เว็บไซต์นี้มีการใช้งานคุกกี้ ศึกษารายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และ ข้อตกลงการใช้บริการ รับทราบ