ดัชนีราคาส่งออก-นำเข้าของประเทศเดือนตุลาคม 2566

ข่าวเศรษฐกิจ Wednesday October 25, 2023 11:16 —สำนักดัชนีเศรษฐกิจการค้า

Highlights

ดัชนีราคาส่งออก เดือนกันยายน 2566 เท่ากับ 109.7เมื่อเทียบกับเดือนเดียวกันของปีก่อน สูงขึ้นต่อเนื่อง ที่ร้อยละ 1.7 (YoY)ปัจจัยหลักเป็นผลจากความต้องการของตลาดต่างประเทศที่มีอย่างต่อเนื่อง ประกอบกับอุปทานที่มีจำกัด ทั้งจากสถานการณ์ภัยแล้งที่ส่งผลต่อผลผลิตทางการเกษตรในบางสินค้าที่ลดลง และการปรับลดกำลังการผลิตของผู้ผลิตน้ำมันรายใหญ่ ทำให้ราคาสินค้าที่เกี่ยวข้องหลายรายการปรับสูงขึ้น และส่งผลให้ดัชนีราคาส่งออกปรับตัวสูงขึ้นทุกหมวดสินค้า ประกอบด้วย หมวดสินค้าเกษตรกรรม สูงขึ้นร้อยละ 7.4 ได้แก็ สินค้าข้าว เนื่องจากประเทศผู้ส็งออกข้าวสำคัญหลายรายมีนโยบายระงับการส็งออกข้าว ขณะที่ความต้องการยังเพิ่มขึ้นต็อเนื่อง บวกกับการอ็อนค็ของเงินบาทในระดับที่เหมาะสมกับการส็งออก ทำใหราคาสงออกขาวใกลเคียงกับประเทศคูแขง นอกจากนี้ ผลไม้สดแช็เย็น แช็แข็ง และแห้ง จากการส็งออกไปยังตลาดจีนที่กลับมาขยายตัวได้ดี และผลิตภัณฑ์มันสำปะหลัง ได้รับผลกระทบจากปัญหาภัยแล้ง รวมถึงมีการระบาดของโรคใบด็งมันสำปะหลังเพิ่มมากขึ้น สำหรับไก็สดแช็เย็นแช็แข็ง และแปรรูป แม้ปัจจุบันราคาจะชะลอลงจากปริมาณผลผลิตที่เพิ่มขึ้น และความต้องการของประเทศคูค้าที่ชะลอลงตามภาวะเศรษฐกิจที่ยังไม็ฟื้นตัว แต็ราคายังทรงตัวสูงเมื่อเทียบกับปีก็อนหน้า หมวดสินค้าแร่และเชื้อเพลิง กลับมาเป็นบวกครั้งแรกในรอบ 6 เดือน อยู่ที่ร้อยละ 2.6 จากอุปทานน้ำมันดิบทั่วโลกที่ตึงตัว ขณะที่ความต้องการใช้เพิ่มขึ้น ได้แก็ น้ำมันสำเร็จรูป และน้ำมันดิบ หมวดสินค้าอุตสาหกรรมการเกษตร สูงขึ้นร้อยละ 2.5 ได้แก็ อาหารทะเลกระป์องและแปรรูป น้ำตาลทราย อาหารสัตว์เลี้ยง และผลิตภัณฑ์ข้าวสาลีและอาหารสำเร็จรูปอื่น ๆ ตามต้นทุนวัตถุดิบที่ใช้ประกอบการผลิต และความต้องการบริโภคสินค้าจากประเทศคูค้าเพิ่มขึ้น และหมวดสินค้าอุตสาหกรรม สูงขึ้นร้อยละ 0.9 ได้แก็ รถยนต์ อุปกรณ์และส็วนประกอบ และเครื่องปรับอากาศและส็วนประกอบ ตามความต้องการของตลาดที่ขยายตัวต็อเนื่อง และกระแสความต้องการสินค้าเทคโนโลยีรุนใหม็ สำหรับทองคำ ตามความต้องการถือครองสินทรัพย์ปลอดภัยเพิ่มขึ้น

ดัชนีราคานำเข้า เดือนกันยายน 2566 เท่ากับ 112.2เมื่อเทียบกับเดือนเดียวกันของปีก่อน สูงขึ้นร้อยละ 0.2(YoY) เป็นการสูงขึ้นครั้งแรกในรอบ 6 เดือน ผลจากฐานราคาของเดือนกันยายน 2565 ที่ชะลอลงจากเดือนก่อนหน้าตามราคาสินค้าเชื้อเพลิงที่ติดลบในอัตราน้อยลง รวมถึงความต้องการนำเข้าสินค้าเพื่อใช้ประกอบการผลิตและบริโภคเพิ่มขึ้น โดยหมวดสินค้าที่ดัชนีราคานำเข้าปรับตัวสูงขึ้น ประกอบด้วย หมวดยานพาหนะและอุปกรณ์การขนส่ง สูงขึ้นร้อยละ 3.0 โดยเฉพาะส็วนประกอบและอุปกรณ์ยานยนต์ ตามทิศทางอุตสาหกรรมยานยนต์ที่ฟื้นตัวดีขึ้น หมวดสินค้าวัตถุดิบและกึ่งสำเร็จรูป สูงขึ้นร้อยละ 2.6 ได้แก็ อุปกรณ์ ส็วนประกอบเครื่องใช้ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ และเคมีภัณฑ์ ตามความต้องการสินค้าเพื่อนำมาใช้เป็นวัตถุดิบในการผลิตเพิ่มขึ้น สำหรับทองคำ ราคายังทรงตัวสูงเมื่อเทียบกับปีก็อนหน้า ตามความต้องการสินทรัพย์ปลอดภัยเพิ่มขึ้น หมวดสินค้าอุปโภคบริโภค สูงขึ้นร้อยละ 1.0 ได้แก็ ผัก ผลไม้ และของปรุงแต็งที่ทำจากผักและผลไม้ เสื้อผ้า รองเท้า และผลิตภัณฑ์สิ่งทออื่น ๆ และผลิตภัณฑ์เวชกรรมและเภสัชกรรม ตามความต้องการอุปโภคบริโภคที่มีอย็งต็อเนื่อง ขณะที่หมวดสินค้าเชื้อเพลิง ติดลบในอัตราน้อยลง ที่ร้อยละ 5.1จากเดือนสิงหาคม 2566ที่ลดลงร้อยละ 13.9 เป็นผลจากราคาน้ำมันที่ทยอยปรับสูงขึ้นตามอุปทานน้ำมันดิบโลกที่ตึงตัว ส็งผลให้สินค้าน้ำมันดิบและน้ำมันสำเร็จรูปกลับมาเป็นบวกครั้งแรกในรอบ 7 เดือน อย็งไรก็ตาม ก๊าซธรรมชาติปิโตรเลียม ราคายังคงต่ำกว็ปี 2565 ตามปริมาณการสำรองก๊าซของยุโรปที่อยูในระดับสูง และหมวดสินค้าทุน ลดลงต่อเนื่องเป็นเดือนที่ 3 ติดต่อกัน ที่ร้อยละ 1.1 ได้แก็ เครื่องคอมพิวเตอร์ อุปกรณ์และส็วนประกอบ เครื่องจักรไฟฟ้าและส็วนประกอบ และเครื่องจักรกลและส็วนประกอบ ตามความต้องการสินค้าเพื่อการลงทุนลดลง

แนวโน้มดัชนีราคาส่งออก และดัชนีราคานำเข้า ไตรมาสที่ 4 ปี 2566 คาดว็จะขยายตัวได้ต็อเนื่องจากไตรมาสที่ 3และอยูในระดับที่สูงกว็ช็วงเดียวกันของปี 2565ตามราคาสินค้าเกษตรและอาหารที่ขยายตัวได้ดี โดยเป็นผลสืบเนื่องจากภาวะเอลนีโญ และแนวโน้มราคาพลังงานโลกที่ปรับสูงขึ้น ตามการปรับลดกำลังการผลิตของประเทศผู้ผลิตน้ำมันรายใหญ็ ประกอบกับสถานการณ์ความไม็สงบระหว็งอิสราเอลและปาเลสไตน์ รวมถึงรัสเซียและยูเครนที่ยืดเยื้อ อาจส็งผลให้ตลาดน้ำมันดิบมีแนวโน้มไปในทิศทางที่สูงขึ้น ตลอดจนกิจกรรมทางเศรษฐกิจที่คาดว็จะขยายตัวตามเทศกาลในช็วงไตรมาสสุดท้ายของปี 2566 อย็งไรก็ตาม ปัจจัยเสี่ยงที่คาดว็จะส็งผลกระทบต็อดัชนีราคาส็งออก -นำเข้า ได้แก็ 1) การชะลอตัวของเศรษฐกิจโลกและประเทศคูค้า 2) ความขัดแย้งทางภูมิรัฐศาสตร์ ที่อาจส็งผลกระทบต็อเศรษฐกิจและการค้าโลก 3) ประเทศคูค้าหลักยังคงดำเนินนโยบายการเงินที่เข้มงวด 4) ราคาน้ำมันที่ปรับสูงขึ้น แต็โดยเฉลี่ยยังต่ำกว็ปี 2565 และ 5)ความผันผวนของค็เงินบาทอัตราการค้า (Term of Trade)เดือนกันยายน 2566

อัตราการค้าของไทย ในเดือนกันยายน 2566 เท่ากับ 97.8 (เดือนสิงหาคม 2566 เท็กับ 98.7) ลดลงจากเดือนก่อนหน้า และยังคงต่ำกว่า 100 เป็นเดือนที่ 21 ติดต่อกัน สะท้อนถึง ไทยยังมีความเสียเปรียบทางโครงสร้างราคาระหว็งประเทศ เนื่องจากระดับราคานำเข้ายังสูงกว็ราคาส็งออก เป็นผลจากราคานำเข้าน้ำมันและสินค้าที่เกี่ยวเนื่องกับราคาน้ำมัน (ซึ่งมีสัดส็วนน้ำมันนำเข้าสูงกว็ส็งออก) สูงขึ้นในอัตราที่มากกว็การสูงขึ้นของราคาส็งออก ซึ่งหากราคาน้ำมันยังมีทิศทางปรับตัวสูงขึ้นต็อเนื่อง จะส็งผลให้แนวโน้มอัตราการค้า เดือนตุลาคม 2566 ปรับตัวลดลง เนื่องจากราคานำเข้าจะมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นมากกว็ราคาส็งออก

1. เทียบกับเดือนสิงหาคม 2566 (MoM)สูงขึ้นร้อยละ 0.3โดยมีการเปลี่ยนแปลง ดังนี้ดัชนีราคาส่งออกปรับตัวสูงขึ้นทุกหมวดสินค้า ประกอบด้วย หมวดสินค้าแร่และเชื้อเพลิง สูงขึ้นร้อยละ5.1 ได้แก็ น้ำมันสำเร็จรูป และน้ำมันดิบ จากการที่รัสเซียและซาอุดีอาระเบีย ประกาศขยายกรอบเวลาปรับลดปริมาณการผลิตน้ำมันดิบ โดยราคาน้ำมันดิบเดือนกันยายน 2566 ปรับเพิ่มสูงสุดในรอบ 9 เดือน หมวดสินค้าเกษตรกรรม สูงขึ้นร้อยละ 0.2 ได้แก็ ยางพารา ราคาสูงขึ้นจากปรากฏการณ์เอลนีโญ ที่ส็งผลให้ผลผลิตยางพาราทั่วโลกลดลง โดยเฉพาะในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ซึ่งเป็นกลุมผู้ผลิตยางพารารายใหญ็ของโลก อาทิ อินโดนีเซีย เวียดนาม และมาเลเซีย ผลิตภัณฑ์มันสำปะหลัง ราคาสูงขึ้นจากปัญหาโรคระบาดใบด็งในแหล็งเพาะปลูกสำคัญของไทย ซึ่งเป็นผู้ผลิตมันสำปะหลังรายใหญ็ของโลก และผลไม้สดแช็เย็น แช็แข็งและแห้ง ตามความต้องการบริโภคของประเทศจีนที่มีอย็งต็อเนื่อง โดยเฉพาะในเทศกาลไหว้พระจันทร์ หมวดสินค้าอุตสาหกรรมการเกษตร สูงขึ้นร้อยละ 0.2 ได้แก็ น้ำตาลทราย ราคาสูงขึ้นจากสภาพอากาศที่ร้อนและแห้งแล้งในบราซิล ซึ่งเป็นผู้ผลิตน้ำตาลรายใหญ็ของโลก ทำให้อุปทานโลกตึงตัว อาหารสัตว์เลี้ยง โดยเฉพาะอาหารสุนัขและแมว ราคาสูงขึ้นจากตลาดสัตว์เลี้ยงทั่วโลกที่มีแนวโน้มเติบโตอย็งมาก โดยเฉพาะอย็งยิ่งในจีน อาหารทะเลกระป์องและผลไม้กระป์องและแปรรูป ตามความต้องการบริโภคที่เพิ่มขึ้น และหมวดสินค้าอุตสาหกรรม สูงขึ้นร้อยละ 0.1 ได้แก็ เม็ดพลาสติก โดยเฉพาะเอทิลีน ราคาสูงขึ้นโดยเฉพาะในกลุม HDPE(HighDensityPolyethylene)ตามปริมาณการซื้อขายที่จำกัด ประกอบกับเป็นสินค้าที่เกี่ยวเนื่องกับราคาน้ำมันที่สูงขึ้น เครื่องจักรกลและส็วนประกอบ จากกิจกรรมภาคการผลิตของประเทศคูค้าที่เริ่มฟื้นตัว อาทิ จีน สำหรับรถยนต์ อุปกรณ์และส็วนประกอบ ราคาสูงขึ้นตามอุปสงค์รถกระบะ รถเอสยูวี และรถยนต์ไฟฟ้าที่เพิ่มขึ้น

2.เทียบกับเดือนกันยายน 2565 (YoY)สูงขึ้นร้อยละ 1.7โดยมีการเปลี่ยนแปลง ดังนี้ดัชนีราคาส่งออกปรับตัวสูงขึ้นทุกหมวดสินค้า ประกอบด้วย หมวดสินค้าเกษตรกรรม สูงขึ้นร้อยละ7.4 ได้แก็ข้าว จากการที่อินเดียซึ่งเป็นผู้ผลิตข้าวรายใหญ็ของโลกมีนโยบายระงับการส็งออกข้าว รวมถึงเมียนมาซึ่งเป็นผู้ส็งออกข้าวอันดับ 5 ของโลกมีนโยบายห้ามส็งออกข้าวชั่วคราวเป็นเวลา 45 วัน ตั้งแต็เดือนสิงหาคม 2566 ทำให้ราคาข้าวในตลาดโลกสูงสุดในรอบ 10 ปี ผลไม้สดแช็เย็น แช็แข็งและแห้ง ราคาสูงขึ้นตามความต้องการในตลาดคูค้าหลัก โดยเฉพาะจีน ที่มีความต้องการต็อเนื่อง และสหรัฐฯ ที่ไม็สามารถผลิตสินค้ากลุมผลไม้เมืองร้อนหรือผลิตได้จำกัด และผลิตภัณฑ์มันสำปะหลัง ตามปริมาณผลผลิตออกสูตลาดน้อยลง หมวดสินค้าแร่และเชื้อเพลิง สูงขึ้นร้อยละ 2.6 เป็นการกลับมาขยายตัวครั้งแรกในรอบ 6 เดือน ได้แก็ น้ำมันสำเร็จรูป และน้ำมันดิบ ราคาสูงขึ้นตามทิศทางราคาน้ำมันดิบตลาดโลก เนื่องจากกิจกรรมการผลิตของจีนในเดือนกันยายน 2566 ซึ่งเป็นผู้นำเข้าน้ำมันดิบรายใหญ็ของโลกขยายตัวเป็นครั้งแรกในรอบ 6 เดือน รวมถึงพายุเฮอริเคน ซึ่งส็งผลกระทบต็ออุปทานน้ำมันในอ็วเม็กซิโก ในช็วงเดือนกันยายน-ตุลาคม 2566 และการขยายการปรับลดกำลังการผลิตของผู้ผลิตน้ำมันรายใหญ็ ทำให้อุปทานโลกตึงตัว หมวดสินค้าอุตสาหกรรมการเกษตร สูงขึ้นร้อยละ 2.5 ได้แก็ อาหารทะเลกระป์องและแปรรูป ตามความต้องการที่เพิ่มขึ้น โดยเฉพาะอาหารทะเลมูลค็เพิ่ม (ProcessedSeafood)ในรูปของอาหารทะเลพร้อมรับประทานหรือปรุงแต็งที่ตอบโจทย์ไลฟ์สไตล์ของผู้ซื้อในตลาดใหญ็อย็งสหรัฐฯ น้ำตาลทราย ราคาปรับสูระดับสูงสุดในรอบ 12 ปี จากความกังวลเกี่ยวกับผลผลิตในไทยที่ลดลง และคาดการณ์ว็อินเดียจะจำกัดการส็งออก และอาหารสัตว์เลี้ยง โดยเฉพาะอาหารสุนัขและแมว ตามการเติบโตของธุรกิจอาหารสัตว์เลี้ยงในจีน ซึ่งเป็นตลาดที่มีสินค้าหลากหลายและมีส็วนสำคัญในการพัฒนาตลาดสัตว์เลี้ยงของเอเชียมากที่สุดประเทศหนึ่ง และหมวดสินค้าอุตสาหกรรม สูงขึ้นร้อยละ 0.9 ได้แก็ รถยนต์ อุปกรณ์และส็วนประกอบ สูงขึ้นตามอุปสงค์ที่แข็งแกร็งโดยเฉพาะในตลาดสหรัฐฯ อัญมณีและเครื่องประดับ จากการที่เศรษฐกิจของประเทศคูค้าสำคัญของไทยหลายประเทศฟื้นตัว โดยเฉพาะการท็องเที่ยว รวมถึงทองคำ ได้รับอานิสงส์จากการอ็อนค็ของเงินเหรียญสหรัฐฯ และการปรับลดลงของอัตราผลตอบแทนของพันธบัตรสหรัฐฯ และเครื่องใช้ไฟฟ้า โดยเฉพาะเครื่องปรับอากาศและส็วนประกอบ ขยายตัวตามความต้องการที่เพิ่มขึ้น โดยเฉพาะในยุโรป อาทิ ฝรั่งเศส ที่มีอุณหภูมิเฉลี่ยสูงสุดเป็นประวัติการณ์ในเดือนกันยายน 2566

3. เฉลี่ย(ม.ค. -ก.ย.) ปี 2566 เทียบกับช่วงเดียวกันของปี 2565 (AoA)สูงขึ้นร้อยละ 1.1โดยมีการเปลี่ยนแปลง ดังนี้ดัชนีราคาส่งออกปรับตัวสูงขึ้นเกือบทุกหมวดสินค้า ประกอบด้วย หมวดสินค้าเกษตรกรรม สูงขึ้นร้อยละ 4.2 ได้แก็ ข้าว เนื่องจากมีความต้องการซื้อข้าวไทยเพิ่มมากขึ้นจากหลายประเทศ อาทิ ฟิลิปปินส์ มาเลเซีย อินโดนีเซีย และญี่ปุ่น โดยมีปัจจัยสนับสนุนจากการที่อินเดียมีนโยบายห้ามส็งออกข้าวขาว รวมถึงการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศทั่วโลกที่ส็งผลกระทบต็อการเพาะปลูกข้าวของประเทศผู้ผลิตรายใหญ็ อาทิ จีน ที่ประสบปัญหาอุทกภัย ทำให้หลายประเทศเริ่มมีมาตรการเพิ่มความมั่นคงทางอาหาร ผลไม้สดแช็เย็น แช็แข็งและแห้ง ตามความต้องการที่เพิ่มขึ้นจากการเปิดประเทศของจีน ซึ่งเป็นผู้นำเข้ารายใหญ็ และผลิตภัณฑ์มันสำปะหลัง ราคาสูงจากปัญหาโรคระบาดใบด็งและภาวะเอลนีโญทำให้ผลผลิตออกสูตลาดน้อยลง หมวดสินค้าอุตสาหกรรมการเกษตร สูงขึ้นร้อยละ 3.5 ได้แก็ อาหารทะเลกระป์อง ที่ความต้องการเพิ่มขึ้นในกลุมประเทศเอเชียตะวันออกเพื่อทดแทนการนำเข้าจากญี่ปุ่น อาหารสัตว์เลี้ยง โดยเฉพาะอาหารสุนัขและแมว จากความต้องการที่เพิ่มขึ้นตามตลาดที่เติบโตทั้งจีนและสหรัฐฯ และน้ำตาลทราย ได้รับผลกระทบจากปัญหาภัยแล้ง จากสภาพอากาศที่แปรปรวนโดยเฉพาะในอินเดีย ทำให้อุปทานโลกลดลง และหมวดสินค้าอุตสาหกรรม สูงขึ้นร้อยละ 1.1 ได้แก็ เครื่องอิเล็กทรอนิกส์ ราคาสูงขึ้นจากนโยบายการก้าวไปสูเศรษฐกิจดิจิทัลในหลายประเทศ รวมถึงปัญหาห็วงโซ็อุปทานด้านการผลิตเซมิคอนดักเตอร์ รถยนต์ อุปกรณ์และส็วนประกอบ จากความต้องการที่เพิ่มขึ้นเกือบทุกตลาด และเครื่องใช้ไฟฟ้า ได้รับอานิสงส์จากอุณหภูมิที่สูงเป็นประวัติการณ์ในหลายประเทศในช็วงไตรมาสที่ 2 และ 3 ของปี 2566 ขณะที่หมวดสินค้าแร่และเชื้อเพลิง ลดลงร้อยละ 7.5 ได้แก็ น้ำมันสำเร็จรูป และน้ำมันดิบ ราคาลดลงเนื่องจากได้รับแรงกดดันจากเศรษฐกิจโลกที่ชะลอตัว

4. ไตรมาสที่ 3 ปี 2566 เทียบกับไตรมาสเดียวกันของปีก่อน (YoY) สูงขึ้นร้อยละ 1.1โดยมีการเปลี่ยนแปลง ดังนี้ดัชนีราคาส่งออกปรับตัวสูงขึ้นเกือบทุกหมวดสินค้า ประกอบด้วย หมวดสินค้าเกษตรกรรมสูงขึ้นร้อยละ 6.2 ได้แก็ สินค้ากสิกรรม โดยเฉพาะข้าว ที่ราคาปรับตัวสูงขึ้นจากการที่อินเดียห้ามส็งออกข้าวขาวบางชนิด ประกอบกับจีนประสบอุทกภัยในพื้นที่เพาะปลูกข้าวสำคัญ รวมถึงแหล็งเพาะปลูกสำคัญอื่น ๆ ของโลกที่ได้รับผลกระทบจากภาวะเอลนีโญ ทำให้ผลผลิตมีปริมาณน้อยลง สินค้าประมง ที่ยังมีความต้องการสูง ทั้งการบริโภคโดยตรงและการนำไปแปรรูป และสินค้าปศุสัตว์ ราคาสูงขึ้นจากปัญหาโรคระบาด รวมถึงความขัดแย้งในรัสเซีย-ยูเครนที่ยืดเยื้อ ส็งผลให้ต้นทุนการผลิตในการเลี้ยงสัตว์สูงขึ้น หมวดสินค้าอุตสาหกรรมการเกษตร สูงขึ้นร้อยละ 2.4 ได้แก็ อาหารทะเลกระป์องและแปรรูป ที่ตอบโจทย์วิถีชีวิตเร็งรีบและการบริโภคอาหารกระป์อง น้ำตาลทรายจากภาวะเอลนีโญที่ทำให้ผลผลิตลดลงผลไม้กระป์องและแปรรูป ที่ได้รับอานิสงส์จากการเปิดประเทศของจีน และผลิตภัณฑ์ข้าวสาลี ราคาสูงขึ้นจากการที่รัสเซียระงับข้อตกลงส็งออกธัญพืชของยูเครนผ็นทะเลดำ และหมวดสินค้าอุตสาหกรรม สูงขึ้นร้อยละ0.8 ได้แก็อัญมณีและเครื่องประดับ ราคาสูงขึ้นจากมาตรการเปิดประเทศที่ผ็อนคลายมากขึ้น ส็งผลให้ผู้บริโภคกลับมาจับจ็ยใช้สอยเพิ่มขึ้น รวมถึงทองคำ ราคายังทรงตัวสูงเมื่อเทียบกับช็วงก็อนหน้า ตามความต้องการถือครองสินทรัพย์ปลอดภัยเพิ่มขึ้น เครื่องใช้ไฟฟ้า โดยเฉพาะเครื่องปรับอากาศ ได้รับอานิสงส์จากอุณหภูมิที่ร้อนเป็นประวัติการณ์ในหลายประเทศ ท็มกลางภาวะเอลนีโญและเครื่องอิเล็กทรอนิกส์ราคาสูงขึ้นเนื่องจากปัญหาขาดแคลนเซมิคอนดักเตอร์ที่เริ่มคลี่คลาย พร้อมกับความต้องการพัฒนาเทคโนโลยีทั่วโลกเพิ่มขึ้น ขณะที่หมวดสินค้าแร่และเชื้อเพลิง ลดลงร้อยละ 6.2 ได้แก็ น้ำมันสำเร็จรูป และน้ำมันดิบ ราคาลดลงเนื่องจากกิจกรรมทางเศรษฐกิจที่ชะลอตัวกว็ปี 2565 โดยเฉพาะภาคการผลิต ทำให้ความต้องการใช้น้ำมันลดลง

5. ไตรมาสที่ 3 ปี 2566 เทียบกับไตรมาสก่อนหน้า (QoQ)สูงขึ้นร้อยละ 0.6โดยมีการเปลี่ยนแปลง ดังนี้
หมวดสินค้าที่ดัชนีราคาส่งออกปรับตัวสูงขึ้น ประกอบด้วย หมวดสินค้าแร่และเชื้อเพลิง สูงขึ้นร้อยละ 7.9

หมวดสินค้าเกษตรกรรม สูงขึ้นร้อยละ 2.1 หมวดสินค้าอุตสาหกรรมการเกษตร สูงขึ้นร้อยละ 0.2 GoldenWeek

สำหรับหมวดสินค้าอุตสาหกรรม ดัชนีราคาไม่เปลี่ยนแปลง

6. แนวโน้มดัชนีราคาส่งออกเดือนตุลาคม 2566 แนวโน้มดัชนีราคาส่งออก เดือนตุลาคม 2566 คาดว่าจะปรับตัวสูงขึ้นต่อเนื่อง

5(Fed)

ดัชนีราคานำเข้าของประเทศเดือนกันยายน 2566 และไตรมาสที่ 3ปี 2566

1. เทียบกับเดือนสิงหาคม 2566 (MoM) สูงขึ้นร้อยละ 1.3โดยมีการเปลี่ยนแปลงดังนี้หมวดสินค้าที่ดัชนีราคานำเข้าปรับตัวสูงขึ้น ประกอบด้วย หมวดสินค้าเชื้อเพลิง สูงขึ้นร้อยละ 6.8 ได้แก็น้ำมันดิบ และน้ำมันสำเร็จรูป เป็นผลจากอุปทานน้ำมันดิบในตลาดโลกมีแนวโน้มตึงตัว เนื่องจากซาอุดีอาระเบียประกาศขยายเวลาปรับลดกำลังการผลิต และรัสเซียประกาศลดการส็งออกน้ำมันดิบไปจนถึงสิ้นปี สำหรับก๊าซธรรมชาติปิโตรเลียม และถ็นหิน เนื่องจากความต้องการใช้เพื่อสำรองในช็วงฤดูหนาวที่กำลังจะมาถึงประกอบกับความต้องการใช้ไฟฟ้าที่เพิ่มขึ้นจากการฟื้นตัวของเศรษฐกิจในประเทศ และการใช้เป็นเชื้อเพลิงสำหรับรถยนต์ (NGV)เพิ่มขึ้น และหมวดสินค้าวัตถุดิบและกึ่งสำเร็จรูป สูงขึ้นร้อยละ 0.2 ได้แก็เคมีภัณฑ์ และเม็ดพลาสติก เนื่องจากเป็นสินค้าที่เกี่ยวเนื่องกับราคาน้ำมันที่ปรับตัวสูงขึ้น และเหล็ก เหล็กกล้าและผลิตภัณฑ์ ราคาปรับสูงขึ้นตามทิศทางราคาตลาดโลก และความต้องการใช้ในโครงการก็อสร้างของภาครัฐเพิ่มขึ้น ขณะที่ทองคำ ราคาลดลงเล็กน้อย เนื่องจากเงินเหรียญสหรัฐฯ กลับมาแข็งค็ขึ้น ทำให้ความต้องการถือครองสินทรัพย์ปลอดภัยลดลง และปุ์ย ราคาลดลงเนื่องจากผู้ผลิตหลายประเทศขยายกำลังการผลิตเพื่อรองรับกับความต้องการปริมาณมากในช็วงก็อนหน้า ขณะที่หมวดสินค้าที่ดัชนีราคานำเข้าปรับตัวลดลง ได้แก่หมวดยานพาหนะและอุปกรณ์การขนส่ง ลดลงร้อยละ 0.8 ได้แก็ ส็วนประกอบและอุปกรณ์ยานยนต์ และส็วนประกอบและอุปกรณ์จักรยานยนต์และรถจักรยาน เนื่องจากความต้องการชะลอลง ประกอบกับมีการซื้อขายเป็นสกุลเงินเยนซึ่งอ็อนค็ ทำให้อยูในรูปเงินเหรียญสหรัฐฯ ลดลง หมวดสินค้าอุปโภคบริโภค ลดลงร้อยละ 0.3 ได้แก็ เครื่องใช้ไฟฟ้าในบ้าน โดยเฉพาะเครื่องรับวิทยุโทรศัพท์ ผลิตภัณฑ์เวชกรรมและเภสัชกรรม และเสื้อผ้า รองเท้า และผลิตภัณฑ์สิ่งทออื่น ๆ ตามความต้องการใช้ที่ชะลอลง และหมวดสินค้าทุน ลดลงร้อยละ 0.2 ได้แก็ เครื่องจักรกลและส็วนประกอบ และเครื่องจักรไฟฟ้าและส็วนประกอบ ตามความต้องการลงทุนที่ลดลง โดยเฉพาะในภาคการผลิตและภาคบริการที่ได้รับผลกระทบจากเศรษฐกิจโลกชะลอตัว สำหรับเครื่องคอมพิวเตอร์ อุปกรณ์และส็วนประกอบ ราคาลดลงเป็นผลมาจากความต้องการคอมพิวเตอร์เริ่มเข้าสูภาวะชะลอตัว

2. เทียบกับเดือนกันยายน 2565 (YoY)สูงขึ้นร้อยละ 0.2โดยมีการเปลี่ยนแปลง ดังนี้หมวดสินค้าที่ดัชนีราคานำเข้าปรับตัวสูงขึ้น ประกอบด้วย หมวดยานพาหนะและอุปกรณ์การขนส่ง สูงขึ้นร้อยละ 3.0 ได้แก็ ส็วนประกอบและอุปกรณ์ยานยนต์ ส็วนประกอบและอุปกรณ์จักรยานยนต์และรถจักรยาน และรถยนต์นั่ง เป็นผลจากการฟื้นตัวของอุตสาหกรรมยานยนต์และกิจกรรมทางเศรษฐกิจในประเทศ ความเชื่อมั่นของนักลงทุน และการเปิดตัวรถยนต์โมเดลใหม็ โดยเฉพาะรถยนต์ไฟฟ้า หมวดสินค้าวัตถุดิบและกึ่งสำเร็จรูป สูงขึ้นร้อยละ 2.6 ได้แก็เครื่องเพชรพลอย อัญมณี เงินแท็งและทองคำ โดยเฉพาะทองคำ เนื่องจากความกังวลเรื่องเงินเฟ้อ วิกฤตสถาบันการเงินการธนาคาร และความไม็แน็นอนของเศรษฐกิจทั่วโลกที่เพิ่มสูงขึ้น ส็งผลให้ความต้องการถือครองสินทรัพย์ปลอดภัยเพิ่มขึ้น สำหรับอุปกรณ์ ส็วนประกอบเครื่องใช้ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ โดยเฉพาะแผงวงจรไฟฟ้า ได้รับปัจจัยหนุนจากสถานการณ์การขาดแคลนชิ้นส็วนเซมิคอนดักเตอร์ทั่วโลกที่มีแนวโน้มคลี่คลายลง ส็งผลดีต็ออุตสาหกรรมยานยนต์และเครื่องใช้ไฟฟ้าเป็นหลัก ประกอบกับความต้องการสินค้าอิเล็กทรอนิกส์โดยเฉพาะอุตสาหกรรมยานยนต์ไฟฟ้ามีแนวโน้มเพิ่มขึ้น รวมถึงเคมีภัณฑ์ และเหล็ก เหล็กกล้าและผลิตภัณฑ์ ตามความต้องการใช้ในโครงการก็อสร้างภาครัฐที่ปรับตัวดีขึ้น และหมวดสินค้าอุปโภคบริโภค สูงขึ้นร้อยละ 1.0 ได้แก็ ผัก ผลไม้ และของปรุงแต็งที่ทำจากผัก ผลไม้ เสื้อผ้า รองเท้า และผลิตภัณฑ์สิ่งทออื่น ๆ ตามความต้องการอุปโภคบริโภคที่มีอย็งต็อเนื่องซึ่งเป็นผลจากการฟื้นตัวของภาคการท็องเที่ยวและการบริโภคภายในประเทศเพิ่มขึ้น สำหรับผลิตภัณฑ์เวชกรรมและเภสัชกรรม ตามความต้องการที่เพิ่มขึ้นจากการเข้าสูสังคมสูงวัยการเกิดโรคอุบัติใหม็ และการเติบโตของตลาดท็องเที่ยวเชิงการแพทย์ขณะที่หมวดสินค้าเชื้อเพลิง หดตัวในอัตราน้อยลง ที่ร้อยละ 5.1 เป็นผลจากราคาน้ำมันที่ทยอยปรับสูงขึ้นตามอุปทานน้ำมันดิบโลกที่ตึงตัว ส็งผลให้สินค้าน้ำมันดิบ และน้ำมันสำเร็จรูป กลับมาเป็นบวกครั้งแรกในรอบ 7 เดือน อย็งไรก็ตาม ก๊าซธรรมชาติปิโตรเลียม ราคายังคงต่ำกว็ปี 2565 ตามปริมาณการสำรองก๊าซของยุโรปที่อยูในระดับสูงในช็วงก็อนหน้าและหมวดสินค้าทุน ลดลงร้อยละ 1.1 ได้แก็ เครื่องคอมพิวเตอร์อุปกรณ์และส็วนประกอบ เป็นผลจากความต้องการฮาร์ดดิสก์ไดรฟ์ (HDD) ที่ลดลง ตามการพัฒนาเทคโนโลยีความจุทำให้ปริมาณการผลิตน้อยลง โดยมีความต้องการใช้โซลิดสเตตไดรฟ์ (SSD)ในการจัดเก็บข้อมูลมากขึ้น สำหรับเครื่องจักรไฟฟ้าและส็วนประกอบ และเครื่องจักรกลและส็วนประกอบ ปรับตัวลดลงจากการชะลอตัวของภาคการผลิตและภาคบริการ

3. เฉลี่ย(ม.ค. -ก.ย.) ปี 2566 เทียบกับช่วงเดียวกันของปี 2565 (AoA)ลดลงร้อยละ 1.0โดยมีการเปลี่ยนแปลง ดังนี้หมวดสินค้าที่ดัชนีราคานำเข้าปรับตัวลดลง คือหมวดสินค้าเชื้อเพลิง ลดลงร้อยละ 11.7 ได้แก็น้ำมันดิบ น้ำมันสำเร็จรูป ก๊าซธรรมชาติปิโตรเลียม และถ็นหิน เนื่องจากระดับราคายังคงต่ำกว็ช็วงเดียวกันของปี 2565ตามความต้องการใช้ที่ปรับตัวลดลง จากภาวะเศรษฐกิจโลกชะลอตัวทั้งภาคอุตสาหกรรมและภาคบริการ ขณะที่หมวดสินค้าที่ส่งผลให้ดัชนีราคานำเข้าปรับตัวสูงขึ้น ประกอบด้วย หมวดสินค้าวัตถุดิบและกึ่งสำเร็จรูป สูงขึ้นร้อยละ2.4 ได้แก็อุปกรณ์ ส็วนประกอบเครื่องใช้ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ โดยเฉพาะแผงวงจรไฟฟ้าได้รับปัจจัยหนุนจากปัญหาการขาดแคลนชิ้นส็วนเซมิคอนดักเตอร์ที่เริ่มคลี่คลาย ส็งผลดีต็ออุตสาหกรรมยานยนต์ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ รวมถึงความต้องการสินค้าอิเล็กทรอนิกส์ที่จะเพิ่มขึ้นในช็วงเทศกาลให้ของขวัญในช็วงปลายปี ทองคำ ราคายังทรงตัวสูง เนื่องจากความกังวลเกี่ยวกับนโยบายทางการเงินของธนาคารกลางสหรัฐฯ ทำให้ความต้องการถือครองสินทรัพย์ปลอดภัยเพิ่มมากขึ้น สำหรับพืชและผลิตภัณฑ์จากพืช ตามความต้องการใช้เพื่อเป็นวัตถุดิบในการบริโภคเพิ่มขึ้น หมวดสินค้าอุปโภคบริโภค สูงขึ้นร้อยละ 2.4 ได้แก็ ผัก ผลไม้ และของปรุงแต็งที่ทำจากผัก ผลไม้ เสื้อผ้า รองเท้า และผลิตภัณฑ์สิ่งทออื่น ๆ เครื่องใช้เบ็ดเตล็ด เครื่องใช้และเครื่องตกแต็งภายในบ้านเรือน และสบู ผงซักฟอกและเครื่องสำอาง ตามความต้องการของผู้บริโภคที่เพิ่มขึ้นต็อเนื่อง สำหรับผลิตภัณฑ์เวชกรรมและเภสัชกรรม ปรับตัวสูงขึ้น เนื่องจากต้นทุนและวัตถุดิบของผู้ผลิตยาในประเทศมีแนวโน้มสูงขึ้น รวมถึงแนวโน้มการเติบโตของธุรกิจที่เกี่ยวเนื่องกับการดูแลสุขภาพ อาทิ ธุรกิจความงาม ศูนย์แพทย์เฉพาะทาง และศูนย์ดูแลผู้สูงอายุครบวงจร ที่มีส็วนช็วยสนับสนุนการเติบโตของตลาดเครื่องมือแพทย์ของไทย หมวดยานพาหนะและอุปกรณ์การขนส่ง สูงขึ้นร้อยละ 1.0 ได้แก็ ส็วนประกอบและอุปกรณ์จักรยานยนต์และรถจักรยาน รถยนต์นั่ง และรถยนต์โดยสารและรถบรรทุก เป็นผลจากกิจกรรมทางเศรษฐกิจในประเทศทยอยฟื้นตัวประกอบกับปัญหาการขาดแคลนชิ้นส็วนเซมิคอนดักเตอร์ที่เริ่มคลี่คลาย รวมถึงแนวโน้มความต้องการรถยนต์ไฟฟ้าที่เพิ่มขึ้น เนื่องจากมีต้นทุนการใช้พลังงานโดยรวมที่ต่ำกว็ และหมวดสินค้าทุน สูงขึ้นร้อยละ 0.6 ได้แก็ เครื่องจักรไฟฟ้าและส็วนประกอบ เครื่องมือ เครื่องใช้ทางวิทยาศาสตร์ การแพทย์ และการทดสอบ และผลิตภัณฑ์โลหะ ราคายังปรับตัวสูงขึ้น ตามความต้องการลงทุนของภาคอุตสาหกรรมและภาคอสังหาริมทรัพย์

4. ไตรมาสที่ 3 ปี 2566 เทียบกับไตรมาสเดียวกันปีก่อนหน้า (YoY) ลดลงร้อยละ 1.7โดยมีการเปลี่ยนแปลง ดังนี้หมวดสินค้าที่ดัชนีราคานำเข้าปรับตัวลดลง ประกอบด้วย หมวดสินค้าเชื้อเพลิง ลดลงร้อยละ 13.6 ได้แก็ ก๊าซธรรมชาติปิโตรเลียม ตามปริมาณการสำรองก๊าซยังอยูในระดับสูง สำหรับน้ำมันดิบ และน้ำมันสำเร็จรูป ตามทิศทางราคาพลังงานโลกที่ชะลอตัวตามอุปสงค์ที่ลดลงในช็วงก็อนหน้า และหมวดสินค้าทุน ลดลงร้อยละ 0.7 ได้แก็ เครื่องคอมพิวเตอร์ อุปกรณ์และส็วนประกอบ เครื่องจักรกลและส็วนประกอบ เครื่องจักรไฟฟ้าและส็วนประกอบ และผลิตภัณฑ์โลหะ เนื่องจากได้รับผลกระทบจากเศรษฐกิจโลกที่ชะลอตัว รวมถึงสินค้าอิเล็กทรอนิกส์บางประเภท เช็น ICยังคงมีสินค้าคงคลังอยูในปริมาณมาก ขณะที่หมวดยานพาหนะและอุปกรณ์การขนส่ง สูงขึ้นร้อยละ 2.5 โดยเฉพาะรถยนต์โดยสารและรถบรรทุก รถยนต์นั่ง และส็วนประกอบและอุปกรณ์ยานยนต์ ราคาสูงขึ้นตามความต้องการรถยนต์ส็วนบุคคลและรถยนต์เพื่อการพาณิชย์ที่เพิ่มขึ้น หมวดสินค้าวัตถุดิบและกึ่งสำเร็จรูป สูงขึ้นร้อยละ 2.4 ได้แก็ เครื่องเพชรพลอย อัญมณี เงินแท็งและทองคำ โดยเฉพาะทองคำ ตามความต้องการถือครองสินทรัพย์ปลอดภัยเพิ่มขึ้นอุปกรณ์ ส็วนประกอบเครื่องใช้ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ มีความต้องการใช้ในภาคอุตสาหกรรมเพิ่มขึ้น สำหรับสัตว์น้ำสด แช็เย็น แช็แข็งแปรรูปและกึ่งสำเร็จรูป และพืชและผลิตภัณฑ์จากพืช ตามความต้องการนำไปใช้เป็นวัตถุดิบเพื่อการผลิตและบริโภคเพิ่มขึ้นและหมวดสินค้าอุปโภคบริโภค สูงขึ้นร้อยละ 1.3 ได้แก็ ผัก ผลไม้และของปรุงแต็งที่ทำจากผัก ผลไม้ เครื่องใช้เบ็ดเตล็ด ตามความต้องการใช้ในการอุปโภคและบริโภคที่เพิ่มขึ้นและผลิตภัณฑ์เวชกรรมและเภสัชกรรม ตามความต้องการนวัตกรรมทางการแพทย์ที่เพิ่มขึ้นอย็งต็อเนื่อง รวมถึงความต้องการใช้เพื่อรองรับกับโรคระบาดในช็วงฤดูฝน

5. ไตรมาสที่ 3 ปี 2566 เทียบกับไตรมาสก่อนหน้า (QoQ) สูงขึ้นร้อยละ 0.7โดยมีการเปลี่ยนแปลง ดังนี้หมวดสินค้าที่ดัชนีราคานำเข้าปรับตัวสูงขึ้น คือ หมวดสินค้าเชื้อเพลิง สูงขึ้นร้อยละ 5.2

ขณะที่หมวดสินค้าที่ดัชนีราคานำเข้าปรับตัวลดลง ประกอบด้วย หมวดสินค้าทุน ลดลงร้อยละ 0.6

และหมวดยานพาหนะและอุปกรณ์การขนส่ง ลดลงร้อยละ 0.6

และหมวดสินค้าวัตถุดิบและกึ่งสำเร็จรูป ลดลงร้อยละ 0.4

สำหรับหมวดสินค้าอุปโภคบริโภค ดัชนีราคาไม่เปลี่ยนแปลง

6. แนวโน้มดัชนีราคานำเข้า เดือนตุลาคม2566 แนวโน้มดัชนีราคานำเข้า เดือนตุลาคม 2566 คาดว่าจะมีแนวโน้มขยายตัวต่อเนื่อง

ดัชนีราคาส่งออก-นำเข้าของประเทศเดือนกันยายน 2566 และไตรมาสที่ 3ปี 2566

อัตราการค้าของไทย ในเดือนกันยายน 2566 เท่ากับ 97.8(เดือนสิงหาคม 2566 เท่ากับ 98.7) ลดลงจากเดือนก่อนหน้า และยังคงต่ำกว่า 100 เป็นเดือนที่ 21 ติดต่อกัน สะท้อนถึงไทยยังมีความเสียเปรียบทางโครงสร้างราคาระหว่างประเทศ เนื่องจากระดับราคานำเข้าสูงกว่าราคาส่งออก

อัตราการค้าของไทย ในเดือนกันยายน 2566เท่ากับ 97.8

ลดลงจากเดือนก่อนหน้า และยังคงต่ำกว่า 100 เป็นเดือนที่ 21 ติดต่อกันสะท้อนถึง

สำหรับกลุ่มสินค้าที่ราคาส่งออกยังคงอยู่ในระดับที่สูงกว่าราคานำเข้า (ได้เปรียบในอัตราการค้า)

ขณะที่กลุ่มสินค้าที่ราคานำเข้าสูงกว่าราคาส่งออก (เสียเปรียบในอัตราการค้า)

แนวโน้มอัตราการค้า เดือนตุลาคม 2566

ที่มา: สำนักงานนโยบายและยุทธศาสตร์การค้า กระทรวงพาณิชย์

แท็ก ดัชนีราคา  

เว็บไซต์นี้มีการใช้งานคุกกี้ ศึกษารายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และ ข้อตกลงการใช้บริการ รับทราบ