รายงานภาวะเศรษฐกิจประจำวันที่ 2 ก.ค. 2564

ข่าวเศรษฐกิจ Tuesday July 6, 2021 16:07 —กระทรวงการคลัง

เศรษฐกิจไทย

การเบิกจ่ายงบประมาณรวมในเดือน พ.ค. ปีงบประมาณ 64 ขยายตัวร้อยละ 5.2

ต่อปี

? รัฐบาลจัดเก็บรายได้สุทธิ (หลังหักจัดสรรให้ อปท.) ในเดือน พ.ค. ปีงบประมาณ 64

ขยายตัวร้อยละ 11.5 ต่อปี

? ฐานะการคลังของรัฐบาลตามระบบกระแสเงินสดในเดือน พ.ค. ปีงบประมาณ 64

ขาดดุลจานวน -33,615 ล้านบาท

? หนี้สาธารณะคงค้าง ณ สิ้นเดือน พ.ค. 64 อยู่ที่ร้อยละ 55.4 ของ GDP

? ภาษีมูลค่าเพิ่มที่รัฐบาลจัดเก็บได้ ณ ระดับราคาคงที่ในเดือน พ.ค. 64 ขยายตัว

ร้อยละ 11.3 ต่อปี

? ภาษีจากการทาธุรกรรมอสังหาริมทรัพย์ในเดือน พ.ค. 64 ขยายตัวร้อยละ 2.8 ต่อปี

? ดัชนีผลผลิตอุตสาหกรรม (MPI) เดือน พ.ค. 64 ขยายตัวร้อยละ 25.8 ต่อปี

? ปริมาณการจาหน่ายเหล็กและผลิตภัณฑ์เหล็กรวมภายในประเทศเดือน พ.ค. 64

ขยายตัวร้อยละ 19.8 ต่อปี

? ปริมาณการจาหน่ายรถยนต์นั่งในเดือน พ.ค. 64 ขยายตัวร้อยละ 32.7 ต่อปี

? ปริมาณการจาหน่ายรถยนต์เชิงพาณิชย์ในเดือน พ.ค. 64 ขยายตัวร้อยละ 40.6

ต่อปี

เศรษฐกิจต่างประเทศ

เศรษฐกิจเวียดนาม ไตรมาสที่ 2 ปี 64 ขยายตัวที่ร้อยละ 6.6 ต่อปี

เครื่องชี้เศรษฐกิจไทย

การเบิกจ่ายงบประมาณรวมในเดือน พ .ค.

ปีงบประมาณ 64 เบิกจ่ายได้ทั้งสิ้น 196,389

ล้านบาท ขยายตัวร้อยละ 5.2 ต่อปี ท ให้

8 เดือนแรกเบิกจ่ายได้ 2,112,868 ล้านบาท

หดตัวร้อยละ ?4.4 คิดเป็นอัตราเบิกจ่ายสะสม

ที่ร้อยละ 60.3

โดย (1) รายจ่ายปีปัจจุบัน เบิกจ่ายได้ 187,738

ล้านบาท ขยายตัวร้อยละ 6.1 ต่อปี คิดเป็นอัตรา

เบิกจ่ายสะสมที่ร้อยละ 59.7 ทั้งนี้ แบ่งออกเป็น (1.1)

รายจ่ายประจา 148,821 ล้านบาท ขยายตัวร้อยละ

2.4 ต่อปี คิดเป็นอัตราเบิกจ่ายสะสมที่ร้อยละ 65.5

และ (1.2) รายจ่ายลงทุน 38,917 ล้านบาท ขยายตัว

ร้อ ย ล 2 3 . 3 ต่อ ปี คิดเ ป็น อัต รา เ บิก จ่า ย ส ส ม

ที่ร้อยละ 36.2 (2) รายจ่ายปีก่อน เบิกจ่ายได้ 8,651

ล้านบาท หดตัวร้อยละ ?11.2 ต่อปี คิดเป็นอัตรา

เบิกจ่ายสะสมที่ร้อยละ 69.9 ต่อปี

รัฐบาลจัดเก็บรายได้สุทธิ (หลังหักจัดสรรให้

อ ป ท . ) ใ น เ ดือ น พ . ค . ปีง บ ป ร ม ณ 6 4

ได้ 221,536 ล้านบาท ขยายตัวร้อยละ 11.5

ต่อปี ทาให้ 8 เดือนแรกจัดเก็บได้ 1,441,417

ล้านบาท หดตัวร้อยละ -3.9 ต่อปี

โดยรายได้ขยายตัวจากภาษีสรรพสามิต ที่ขยายตัว

ร้อยละ 62.4 ต่อปี ภาษีเงินได้นิติบุคคล ขยายตัว

ร้อยละ 60.7 ต่อปี และภาษีมูลค่าเพิ่ม ขยายตัว

ร้อยละ 14.8 ต่อปี จากการเลื่อนการชาระภาษีเบียร์

และภาษีรถยนต์ รวมทั้งการขยายเวลาการยื่นแบบ

แสดงรายการและชาระภาษีเงินได้นิติบุคคล

ฐานะการคลังของรัฐบาลตามระบบกระแสเงินสด

ใ น เ ดือ น พ . ค . ปีง บ ป ร ม ณ 6 4 พ บ ว่า

ดุล เงิน งบ ป ระม ณข ด ดุลจา นว น -3 3 ,6 1 5

ล้านบาท ทาให้ 8 เดือนแรกดุลเงินงบประมาณ

ขาดดุล -669,593 ล้านบาท

ทั้งนี้เมื่อรวมกับดุลนอกงบประมาณที่เกินดุลแล้วพบว่า

ดุลเงินสดก่อนกู้ขาดดุล ?707,016 ล้านบาท โดย

ในเดือนนี้ รัฐบาลมีการกู้เงิน 51,000 ล้านบาท ทาให้

ดุลเงินสุดหลังกู้ขาดดุล ?204,206 ล้านบาท ทั้งนี้

จานวนเงินคงคลังอยู่ที่ 367,898 ล้านบาท

ดุลการคลัง

[พันล้านบาท] 2020 Q1 Mar Q2 Apr May FYTD

รายได้ 2,340.4 616.8 170.8 487.0 176.7 162.8 1,443.3

รายจ่าย ?3,168.7 ?1,018.3 ?278.5 ?667.0 ?231.1 ?196.4 ?2,112.9

ดุลเงินงบประมาณ ?828.3 ?401.5 ?107.7 ?180.1 ?54.4 ?33.6 ?669.6

ดุลเงินนอกงบประมาณ 103.3 ?38.4 ?57.1 12.4 10.8 ?22.3 ?37.4

ดุลเงินสดก่อนกู้ ?725.0 ?439.9 ?164.9 ?167.6 ?43.6 ?55.9 ?707.0

กู้เพื่อชดเชยการขาดดุล 784.1 340.8 ? 46.0 65.0 51.0 502.8

ดุลเงินสดหลังกู้ 59.1 ?99.1 ?164.9 ?121.6 21.4 ?4.9 ?204.2

เงินคงคลังต้นงวด 513.0 572.1 516.2 473.0 351.4 372.8 572.1

เงินคงคลังปลายงวด 572.1 473.0 351.4 351.4 372.8 367.9 367.9

2020 2021

หนี้สาธารณะคงค้าง ณ สิ้นเดือน พ .ค. 64

มีจา น ว น ทั้ ง สิ้น 8 , 696, 141. 0 ล้า น บ ท

หรือคิดเป็นร้อยละ 55.4 ของ GDP และเมื่อ

เ ป รีย บ เ ทีย บ กับ เ ดือ น ก่อ น ห น้า พ บ ว่า

หนี้สาธารณะคงค้างเพิ่มขึ้นสุทธิ 102,306.8

ล้านบาท

ทั้งนี้ สถานะหนี้สาธารณะของไทยถือว่ามีความมั่นคง

ส ท้อ น ไ ด้ จ ก สัด ส่ว น ห นี้ส ธ รณะ ต่อ GDP

ยัง อ ยู่ใ น ร ดับ ต่า ก ว่า ก ร อ บ วินัย ใ น ก ร บ ริห ร

หนี้สาธารณะที่ตั้งไว้ไม่เกินร้อยละ 60 ของ GDP

แ ล ห นี้ส ธ ร ณ ส่ว น ใ ห ญ่เ ป็น ห นี้ร ย ย ว

โ ด ย แ บ่ง ต ม อ ยุค ง เ ห ลือ คิด เ ป็น ร้อ ย ล 86.5

ของ ยอดหนี้สาธารณะ และเป็นหนี้ในประเทศคิดเป็น

ร้อยละ 98.2 ของยอดหนี้สาธารณะ

การจัดเก็บภาษีจากการทาธุรกรรมอสังหาริมทรัพย์

ในเดือน พ.ค. 64 ชะลอลงจากเดือนก่อนในทุกหมวด

การจัดเก็บ โดยหมวดการจัดเก็บภาษีธุรกิจเฉพาะ

ขยายตัวชะลอลงจากร้อยละ 26.4 ต่อปีในเดือน

เม.ย. 64 มาอยู่ที่ร้อยละ 3.7 ต่อปี ในเดือน พ.ค. 64

โดยมีปัจจัยสาคัญมาจากผลกระทบของการระบาดของ

โควิด-19 รอบ 3 ที่มีความรุนแรงและขยายวงกว้าง

ส่งผลให้ ความเชื่อมั่นต่อเศรษฐกิจของผู้บริโภคมี

แนวโน้มชะลอลง สะท้อนจากดัชนีความเชื่อมั่นผู้บริโภค

ของทั้งมหาวิทยาลัยหอการค้าไทย และกระทรวง

พาณิชย์ เดือน พ.ค. 64 ที่ชะลอลงอยู่ที่ระดับ 44.7

และ 41.6 ตามลาดับ จากระดับ 46.0 และ 43.5 ใน

เดือน เม.ย. 64 อย่างไรก็ดี มาตรการกระตุ้นเศรษฐกิจ

ของภาครัฐที่ออกมาหลากหลายและต่อเนื่อง

การกระจายและฉีดวัคซีนที่มีความคืบหน้า

และแผนการเปิดประเทศเพื่อสนับสนุน

ภาคการท่องเที่ยวจะช่วยฟื้นความเชื่อมั่นต่อเศรษฐกิจ

ในระยะต่อไปปรับตัวดีขึ้น

โดยภาษีมูลค่าเพิ่มที่จัดเก็บจากใช้จ่ายภายในประเทศ

หดตัวที่ร้อยละ -6.5 ต่อปี ส่วนหนึ่งเป็นผลจาก

1) ปัจจัยฐานสูง เนื่องจากปีที่แล้วมีการขยายเวลา

การยื่นแบบชาระภาษีมูลค่าเพิ่มสาหรับเดือนภาษี

มี.ค. 63 และ เม.ย. 63 ออกไป ส่งผลให้

ภาษีมูลค่าเพิ่มบางส่วนถูกนามาคานวณในเดือนภาษี

พ.ค. 63 และ มิ.ย. 63

2) การแพร่ระบาดระลอกที่ 3 ทาให้การเดินทางและ

การใช้จ่ายของผู้บริโภคลดลง ส่งผลให้การจัดเก็บ

ภาษีมูลค่าเพิ่มลดลง

3) ในเดือน พ.ค. 64 มีการขยายเวลาการยื่นแบบฯ

ออนไลน์จนถึงวันที่ 31 พ.ค. 64 (ภ.พ. 30, 36)

ขณะที่ภาษีมูลค่าเพิ่มที่จัดเก็บจากการนาเข้ายังคง

ขยายตัวได้ดีอย่างต่อเนื่องที่ร้อยละ 51.1 ต่อปี

สอดคล้องกับทิศทางการนาเข้าของประเทศที่ขยายตัว

ได้สูง

ภาษีจากการทาธุรกรรมอสังหาริมทรัพย์ใน

เดือน พ.ค. 64 ขยายตัวร้อยละ 2.8 ต่อปี

แต่หดตัวร้อยละ -5.6 เมื่อเทียบกับเดือน

ก่อนหน้าหลังปรับผลทางฤดูกาล

ดัชนีผลผลิตอุตสาหกรรม (MPI) เดือน พ.ค. 64 ขยายตัวจากช่วงเดียวกันปีก่อนร้อยละ 25.8 ต่อปี

และขยายตัวร้อยละ 2.1 เมื่อเทียบกับเดือนก่อนหน้าหลังขจัดผลของฤดูกาล

การขยายตัวของดัชนี MPI ในเดือน พ.ค. 64 เป็นผลมาจากการขยายตัวในกลุ่มอุตสาหกรรมที่สาคัญ ได้แก่

อุตสาหกรรมยานยนต์ อุตสาหกรรมเครื่องปรับอากาศและชิ้นส่วน อุตสาหกรรมชิ้นส่วนและแผ่นวงจร

อิเล็กทรอนิกส์ อุตสาหกรรมเหล็กกล้าขั้นมูลฐาน และอุตสาหกรรมยางนอก ยางใน และการหล่อดอกยาง

ที่ขยายตัวร้อยละ 151.4 90.3 35.4 40.3 และ 167.9 ต่อปี ตามลำดับ ขณะที่อุตสาหกรรมที่ยังคงหดตัว

ได้แก่ อุตสาหกรรมปุ๋มเคมีและสารประกอบไนโตรเจน อุตสาหกรรมเสื้อผ้าและเครื่องแต่งกาย อุตสาหกรรม

น้าตาล อุตสาหกรรมสัตว์น้ำบรรจุกระป๋อง และอุตสาหกรรมผลิตภัณฑ์นมที่หดตัวร้อยละ -41.7 -25.7 -12.7

-11.8 และ -6.1 ตามลาดับ

ปริมาณการจำหน่ายเหล็กและผลิตภัณฑ์เหล็ก

รวมภายในประเทศเดือน พ.ค. 64 ขยายตัว

ร้อยละ 19.8 ต่อปี

แต่หดตัวร้อยละ -4.2 เทียบกับเดือนก่อนหน้า

หลังปรับผลทางฤดูกาล

ปริมาณการจาหน่ายเหล็กในประเทศขยายตัวต่อเนื่องเป็นเดือนที่ 3 โดยผลิตภัณฑ์เหล็กที่ใช้ในอุตสาหกรรม

ขยายตัวในระดับสูง เช่น เหล็กแผ่นเคลือบสังกะสี และเหล็กแผ่นรีดเย็น ที่ขยายตัวร้อยละ 79.4 และ 63.3 ต่อปี

ตามลาดับ สอดคล้องกับภาคการผลิตและภาคการส่งออกที่ฟื้นตัวต่อเนื่อง จากเศรษฐกิจโลกที่ปรับตัวดีขึ้น

โดยเฉพาะในอุตสาหกรรมยานยนต์ อย่างไรก็ดี การระบาดของโควิด-19 รอบสามจะเป็นปัจจัยเสี่ยงต่อเศรษฐกิจ

รวมถึงการบริโภคเหล็กให้ชะลอลง

ปริมาณการจาหน่ายรถยนต์นั่งในเดือน พ.ค. 64

มีจานวน 15,569 คัน ขยายตัวชะลอลงที่ร้อยละ

32.7 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน

และเมื่อเทียบกับเดือนก่อนหน้าหลังขจัดผลทาง

ฤดูกาล หดตัวร้อยละ -7.6

ปริมาณการจาหน่ายรถยนต์เชิงพาณิชย์ใน

เดือน พ.ค. 64 มีจานวน 40,373 คัน

ขยายตัวร้อยละ 40.6 เมื่อเทียบกับช่วง

เดียวกันของปีก่อน แต่หดตัวร้อยละ -5.5

เมื่อเทียบกับเดือนก่อนหน้าหลังปรับผลทาง

ฤดูกาล ตามปริมาณการจาหน่ายรถกระบะ

1 ตัน ที่ขยายตัวร้อยละ 37.3 เมื่อเทียบกับ

ช่วงเดียวกันของปีก่อน

ส่วนหนึ่งเป็นผลจากปัจจัยฐานต่า เนื่องจาก

ในปีที่แล้วมีการล็อกดาวน์ภายในประเทศ

ส่งผลให้ภาคการผลิตหยุดการผลิตชั่วคราว

ประกอบกับผู้บริโภคไม่มั่นใจเรื่องรายได้ใน

อนาคตจากการระบาดของเชื้อโควิด-19

ระลอกที่ 3 อย่างไรก็ดี ตลาดรถยนต์ยังคงมี

ปัจจัยสนับสนุนจากกิจกรรมส่งเสริมการขาย

ของบริษัทรถยนต์อย่างต่อเนื่อง

ในเดือน พ.ค. ยอดจาหน่ายรถยนต์เชิงพาณิชย์ยังคง

ขยายตัวสูงต่อเนื่องเมื่อเทียบรายปี มาจากปัจจัยฐาน

โดยเปรียบเทียบที่ต่าในปีก่อน จากการระบาดของโควิด

รอบแรกในไทย ขณะที่เมื่อเทียบรายเดือน เริ่มเห็น

สัญญาณการชะลอลงผลจากการระบาดรอบใหม่ที่พบ

ผู้ติดเชื้อและเสียชีวิตเพิ่มมากขึ้น ส่งผลลบต่อความ

เชื่อมั่นจนทาให้ผู้บริโภคมีแนวโน้มชะลอการซื้อรถยนต์

อย่างไรก็ดี รายได้ภาคเกษตรที่ยังคงอยู่ในระดับสูงจาก

ราคาสินค้าเกษตรและผลผลิตสินค้าเกษตรที่ยังดีอยู่

มาตรการกระตุ้นการบริโภคของรัฐบาล และการส่งออก

สินค้าที่ยังเติบโตได้ดีตามเศรษฐกิจโลกที่ฟื้นตัว จะเป็น

ปัจจัยสนับสนุนการบริโภครถยนต์เชิงพาณิชย์ให้ฟื้น

ตัวได้มากขึ้นในระยะต่อไป

เครื่องชี้เศรษฐกิจต่างประเทศ

สหรัฐฯ

ดัชนีราคากลางบ้าน เดือน เม.ย. 64 ขยายตัวที่ร้อยละ 1.81.8จากเดือนก่อนหน้า (ขจัดผลทางฤดูกาลแล้ว) เร่งขึ้นจากเดือน มี.ค. 64 ที่ขยายตัวที่ร้อยละ 1.61.6จากเดือนก่อนหน้า (ขจัดผลทางฤดูกาลแล้ว) และเป็นการขยายตัวที่สูงที่สุดนับตั้งแต่เริ่มเก็บข้อมูลมาในปี 3434จากอัตราดอกเบี้ยเงินกู้เพื่อที่อยู่อาศัยยังคงอยู่ในระดับต่า ขณะที่บ้านพร้อมขายมีจานวนน้อยกว่า อุปสงค์ในตลาดที่เพิ่มขึ้น โดยดัชนีราคาบ้านปรับตัวเพิ่มขึ้นในเกือบทุกภูมิภาค ยกเว้นใน West South CentralCentralและ South AtlanticAtlanticที่ขยายตัวในอัตราคงที่ และมีเพียง Middle AtlanticAtlanticที่ปรับตัวลดลง ทั้งนี้ ยอดขายบ้านใหม่ในสหรัฐฯ ยังคงเผชิญปัญหาการขาดแคลนวัสดุก่อสร้าง และราคาบ้านที่ปรับตัวเพิ่มสูงขึ้น ทั้งนี้ หากเทียบเป็นรายปีพบว่า

ดัชนีราคากลางบ้าน เดือน เม.ย. 64 ขยายตัวที่ร้อยละ 15.7 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน

ดัชนีฯ PMIPMIภาคอุตสาหกรรม (ISMISM) เดือน มิ.ย. 64 อยู่ที่ระดับ 60.060.0จุด ปรับตัวลดลงจากเดือน พ.ค. 64 ที่อยู่ที่ระดับ 61.261.2จุด โดยสหรัฐฯ ยังคงเผชิญปัญหาการขาดแคลนวัตถุดิบในการผลิต ราคาสินค้าที่เพิ่มสูงขึ้น และการขนส่งสินค้าสินค้าทางทะเลที่ล่าช้า ซึ่งส่งผลกระทบต่อทุกภาคส่วนของตลาดอุตสาหกรรม

จานวนผู้ขอรับสวัสดิการว่างงานครั้งแรกรายสัปดาห์ (2020-2626มิ.ย. 64) อยู่ที่ 3.643.64แสนราย ลดลงจากเดือนก่อนหน้าที่อยู่ที่ 4.154.15แสนราย ซึ่งเป็นระดับต่าสุดนับตั้งแต่เกิดการแพร่ระบาดของไวรัสโควิด-19 ในสหรัฐฯ เมื่อเดือน มี.ค. 63 อย่างไรก็ดี จานวนผู้ขอรับสวัสดิการว่างงานครั้งแรกรายสัปดาห์นี้ ยังคงสูงกว่าค่าเฉลี่ยต่อสัปดาห์ในช่วงก่อนเกิดการแพร่ระบาดของไวรัสโควิด-19 ในสหรัฐ ที่อยู่ที่ระดับ 2.3 แสนราย

จีน

ดัชนีฯ PMIPMIภาคอุตสาหกรรม (NBS) เดือน มิ.ย. 6464อยู่ที่ระดับ 50.950.9จุด ลดลงจากเดือนก่อนหน้าที่อยู่ระดับ 51.051.0จุด และเป็นระดับที่ต่าที่สุดในรอบ 44เดือน สอดคล้องกับ

ดัชนีฯ PMIPMIภาคบริการ (NBS) เดือน มิ.ย. 6464อยู่ที่ระดับ 53.553.5จุด ลดลงจากเดือนก่อนหน้าที่อยู่ระดับ 55.255.2จุด ท่ามกลางราคาต้นทุนวัตถุดิบที่เพิ่มสูงขึ้น และการส่งออกทางเรือในมณฑลกวางตุ้งได้หยุดชะงักลง จึงส่งผลต่อกิจกรรมทางเศรษฐกิจ

ดัชนีฯ PMIPMIภาคอุตสาหกรรม (Caixin) เดือน มิ.ย. 6464อยู่ที่ระดับ 51.351.3จุด ลดลงจากเดือนก่อนหน้าที่อยู่ระดับ 52.052.0จุด จากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโควิด 1919ในประเทศ และปัญหาห่วงโซอุปทาน

ญี่ปุ่น

อัตราการว่างงาน เดือน พ.ค. 64 ปรับตัวเพิ่มขึ้นเป็นร้อยละ 3 ของกาลังแรงงานรวม จากร้อยละ 2.8ของกาลังแรงงานรวมในเดือน เม.ย. 64ซึ่งถือว่าเป็นอัตราการว่างงานที่สูงที่สุดนับตั้งแต่เดือน ธ.ค. 63

ยอดค้าปลีก เดือน พ.ค. 64 ปรับตัวเพิ่มสูงขึ้นร้อยละ 8.2 เมื่อเปรียบเทียบกับเดือนเดียวกันในปีก่อน เนื่องจากการบริโภคเริ่มกลับมาฟื้นตัวหลังการแพร่ระบาดของโควิด-19

ผลผลิตภาคอุตสาหกรรม เดือน พ.ค. 64 ปรับตัวเพิ่มสูงขึ้นร้อยละ 22.0 เมื่อเปรียบเทียบกับเดือนเดียวกันของปีก่อนขยายตัวเร่งขึ้นจากเดือนก่อนหน้าที่อยู่ที่ร้อยละ 15.8ต่อปี

ความเชื่อมั่นผู้บริโภคเดือน มิ.ย. 64 ปรับตัวเพิ่มสูงขึ้นมาอยู่ที่ 37.4 จุด จาก 34.1จุด ในเดือน พ.ค. 64ซึ่งนับว่าเป็นค่าที่สูงที่สุดนับตั้งแต่เดือน ก.พ. 64โดยดัชนีย่อยทั้งหมดปรับตัวดีขึ้น

ดัชนีฯ PMIPMIเดือน มิ.ย. 64 ลดลงเล็กน้อยมาอยู่ที่ 52.4 จุด จาก 53.0 จุดในเดือน พ.ค. 64เนื่องจากมีการประกาศใช้มาตรการเพื่อป้องกันการแพร่ระบาดของโควิด-19ระลอกใหม่ ส่งผลให้ทั้งผลผลิตและคาสั่งซื้อใหม่หดตัวลดลง

ยูโรโซน

อัตราเงินเฟ้อ เบื้องต้น เดือน มิ.ย. 64 ขยายตัวร้อยละ 1.9 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันปีก่อน ลดลงเล็กน้อยจากเดือน พ.ค. 64 ที่ขยายตัวร้อยละ 2.0อย่างไรก็ดี อัตราเงินเฟ้อที่ยังคงขยายตัว ได้รับแรงหนุนจากราคาพลังงาน และสินค้าอุตสาหกรรมที่ไม่ใช่พลังงาน

ดัชนีฯ PMIPMIภาคอุตสาหกรรม เดือน มิ.ย. 64 อยู่ที่ระดับ 63.4 จุด เพิ่มขึ้นจากเดือน พ.ค. 64 ที่อยู่ที่ระดับ 63.1จุด โดยได้รับแรงหนุนจากคาสั่งซื้อใหม่และการจ้างงานที่เพิ่มขึ้น

อัตราการว่างงาน เดือน พ.ค. 64 อยู่ที่ร้อยละ 7.9 ของกาลังแรงงานรวมลดลงจากเดือน เม.ย. 64 ที่อยู่ที่ร้อยละ 8.1ของกาลังแรงงานรวม เนื่องจากตลาดแรงงานเริ่มมีการฟื้นตัวจากมาตรการควบคุมโรคโควิด-19ที่มีการผ่อนคลายมากขึ้น

ฮ่องกง

ยอดค้าปลีกเดือน พ.ค. 64 ขยายตัวที่ร้อยละ 7.8 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน ชะลอลงจากเดือนก่อนหน้าที่ขยายตัวที่ร้อยละ 11.0 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน ซึ่งเป็นการปรับตัวลดลงติดต่อกันเป็นเดือนที่ 4 เป็นผลจากยอดขายที่ลดลงโดยเฉพาะในกลุ่มสินค้าเครื่องประดับและสินค้าอุปโภคบริโภคอื่น ๆ เป็นสาคัญ อย่างไรก็ตาม ยอดค้าปลีกยังคงต่ากว่าระดับปกติก่อนเกิดการแพร่ระบาด จากการชะลอตัวลงของการท่องเที่ยวขาเข้า

เวียดนาม

ยอดค้าปลีกเดือน พ.ค. 64 ขยายตัวที่ร้อยละ 7.8 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน ชะลอลงจากเดือนก่อนหน้าที่ขยายตัวที่ร้อยละ 11.0 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน ซึ่งเป็นการปรับตัวลดลงติดต่อกันเป็นเดือนที่ 4 เป็นผลจากยอดขายที่ลดลงโดยเฉพาะในกลุ่มสินค้าเครื่องประดับและสินค้าอุปโภคบริโภคอื่น ๆ เป็นสาคัญ อย่างไรก็ตาม ยอดค้าปลีกยังคงต่ากว่าระดับปกติก่อนเกิดการแพร่ระบาด จากการชะลอตัวลงของการท่องเที่ยวขาเข้า

อัตราเงินเฟ้อ เดือน พ.ค. 64 ขยายตัวที่ร้อยละ 1.0 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน เร่งขึ้นจากเดือนก่อนหน้าที่ขยายตัวที่ร้อยละ 0.8 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน และเป็นระดับที่สูงที่สุดนับตั้งแต่เดือน ก.พ. 64 เป็นผลจากการมีฐานต่า จากมาตรการลดค่าเช่าให้แก่ผู้เช่าอสังหาริมทรัพย์ของรัฐบาล เพื่อบรรเทาผลกระทบจากการแพร่ระบาดเมื่อปีที่แล้ว และจากราคาสินค้าในกลุ่มสาธารณูปโภค การขนส่ง และเครื่องแต่งกายที่ปรับตัวเพิ่มขึ้นเป็นสาคัญ

เศรษฐกิจไตรมาสที่ 2 ปี 64 ขยายตัวที่ร้อยละ 6.6 จากช่วงเดียวกันปีก่อน ขยายตัวเร่งขึ้นจากไตรมาสก่อนหน้าที่ขยายตัวที่ร้อยละ 44.7จากช่วงเดียวกันปีก่อน ทาให้ตลอดครึ่งปี 64ขยายตัวที่ร้อยละ 5.6จากช่วงเดียวกันปีก่อน

ผลผลิตภาคอุตสาหกรรม เดือน มิ.ย. 6464ขยายตัวที่ร้อยละ 6.86.8จากช่วงเดียวกันของปีก่อน ชะลอตัวลงจากเดือนก่อนหน้าที่ขยายตัวที่ร้อยละ 11.8 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน จากการผลิตก๊าซและไฟฟ้าในอัตราที่ลดลงเป็นสาคัญ

อัตราเงินเฟ้อ เดือน มิ.ย. 64 ขยายตัวที่ร้อยละ 2.4 จากช่วงเดียวกันปีก่อน ลดลงจากเดือนก่อนหน้าที่ขยายตัวที่ร้อยละ 2.9เนื่องการลดลงของราคาค่าขนส่ง อาหารและบริการจัดเลี้ยง เป็นสาคัญ

ดัชนี ฯ PMIPMIภาคอุตสาหกรรม เดือน มิ.ย. 64 อยู่ที่ระดับ 44.1 จุด ลดลงจากเดือนก่อนหน้าที่อยู่ที่ระดับ 53.1ต่าสุดนับตั้งแต่เดือน พ.ค. 63เนื่องจากการแพร่ระบาดโควิด-19ระลอกใหม่

ยอดค้าปลีกเดือน มิ.ย. 64 หดตัวที่ร้อยละ -6.6 จากช่วงเดียวกันปีก่อน หดตัวเพิ่มขึ้นจากเดือนก่อนหน้า เนื่องจากยอดค้าในทุกหมวดสินค้าที่ปรับตัวลดลงโดยเฉพาะหมวดบริการที่พักและอาหาร

ออสเตรเลีย

ดัชนีฯ PMIPMIภาคอุตสาหกรรม เดือน มิ.ย. 64 ปรับตัวลดลงมาอยู่ที่ 58.6 จุด จาก 60.4จุด ในเดือน พ.ค. 64เนื่องจากคาสั่งซื้อจากโรงงานและผลผลิตที่ชะลอตัวลง

มาเลเซีย

ดัชนี ฯ PMI ภาคอุตสาหกรรม เดือน มิ.ย. 64 อยู่ที่ระดับ 39.9 จุด ลดลงจากเดือนก่อนหน้าที่อยู่ที่ระดับ 51.3 จุด ต่าที่สุดนับตั้งแต่ เดือน เม.ย. 63เนื่องจากการเพิ่มขึ้นของจานวนผู้ติดเชื้อโควิด-19อย่างต่อเนื่อง ส่งผลให้มีมาตรการควบคุมที่เข้มงวดอีกครั้ง

มูลค่าการส่งออก เดือน พ.ค. 64 ขยายตัวที่ร้อยละ 47.347.3จากช่วงเดียวกันของปีก่อน ลดลงจากเดือนก่อนหน้าที่ขยายตัวที่ร้อยละ 63.063.0จากช่วงเดียวกันของปีก่อน

มูลค่าการนำเข้า เดือน พ.ค. 64 ขยายตัวที่ร้อยละ 50.350.3จากช่วงเดียวกันของปีก่อน เร่งขึ้นจากเดือนก่อนหน้าที่ขยายตัวที่ร้อยละ 24.424.4จากช่วงเดียวกันของปีก่อน

ดุลการค้า เดือน พ.ค. 64 เกินดุลที่ 13.7 พันล้านริงกิตมาเลเซีย

อินโดนีเซีย

อินเดีย

ดัชนีฯ PMIPMIภาคอุตสาหกรรม เดือน มิ.ย. 64 อยู่ที่ระดับ 48.148.1จุดลดลงจากเดือนก่อนหน้าที่อยู่ที่ระดับ 500.88จุด และเป็นระดับที่ต่าที่สุดนับตั้งแต่เดือน ส.ค. 6363จากสถานการณ์แพร่ระบาดในประเทศระลอกใหม่ ส่งผลให้รัฐบาลกลับมาใช้มาตรการล็อกดาวน์ที่เข้มงวดอีกครั้ง ซึ่งส่งผลกระทบต่ออุปสงค์การบริโภคในประเทศ

10

เกาหลีใต้

ผลผลิตภาคอุตสาหกรรม เดือน พ.ค. 64 ขยายตัวอยู่ที่ร้อยละ 16.0 จากช่วงเดียวกันปีก่อน เร่งขึ้นจากเดือนก่อนหน้าที่ขยายตัวที่ร้อยละ 13.2จากช่วงเดียวกันของปีก่อน และเป็นการขยายตัวเพิ่มขึ้นต่อเนื่องติดต่อกันเป็นเดือนที่ 4

ยอดค้าปลีก เดือน พ.ค. 64 ขยายตัวที่ร้อยละ 3.1 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน ชะลอลงจากเดือนก่อนที่ขยายตัวที่ร้อยละ 8.7จากช่วงเดียวกันของปีก่อน

มูลค่าการส่งออก เดือน มิ.ย. 64 ขยายตัวที่ร้อยละ 39.7 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน ชะลอลงจากเดือนก่อนหน้าที่ขยายตัวที่ร้อยละ 45.6จากช่วงเดียวกันของปีก่อน การส่งออกยังคงขยายตัวได้จากอุปสงค์ในต่างประเทศที่เพิ่มขึ้น

มูลค่าการนาเข้า เดือน มิ.ย. 64 ขยายตัวที่ร้อยละ 40.7 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน เร่งขึ้นจากเดือนก่อนหน้าที่ขยายตัวที่ร้อยละ 37.9จากช่วงเดียวกันของปีก่อน

ดุลการค้า เดือน มิ.ย. 64 เกินดุลที่ 4.44 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ เพิ่มขึ้นจากเดือนก่อนหน้าที่เกินดุลที่ 2.94พันล้านดอลลาร์สหรัฐ

ดัชนีฯ PMI ภาคอุตสาหกรรม เดือน มิ.ย. 64 อยู่ที่ 53.9 จุด เพิ่มขึ้นจากเดือนก่อนหน้าที่อยู่ที่ระดับ 53.7จุด ในเดือน พ.ค. 64โดยมียอดคาสั่งซื้อใหม่เพิ่มขึ้น จากความต้องการผู้บริโภคที่เพิ่มสูงขึ้นทั้งในประเทศและต่างประเทศ

ดัชนีฯ PMIPMIภาคอุตสาหกรรม เดือน มิ.ย. 64 อยู่ที่ระดับ 57.657.6จุด ลดลงจากเดือนก่อนหน้าที่อยู่ที่ระดับ 6262.00จุด และเป็นระดับที่ต่าที่สุดนับตั้งแต่เดือน ธ.ค. 6363เป็นผลจากผลผลิตและคาสั่งซื้อใหม่ที่ขยายตัวต่าที่สุดในรอบทศวรรษ และยอดการส่งออกใหม่ชะลอลงเป็นสาคัญ

ไต้หวัน

ดัชนีฯ PMIPMIภาคอุตสาหกรรม เดือน มิ.ย. 64 ปรับตัวลดลงมาอยู่ที่ 63.9 จุด จาก 65.6 จุด ในเดือน พ.ค. 64 อย่างไรก็ตาม ค่าดัชนีฯ PMIPMIภาคอุตสาหกรรมยังคงสูงกว่า 50.0จุด สะท้อนให้เห็นถึงการเติบโตของกิจกรรมในภาคอุตสาหกรรม

สหราชอาณาจักร

ดัชนี ฯ PMIPMIภาคอุตสาหกรรม เดือน มิ.ย. 64 อยู่ที่ระดับ 53.5 จุด ลดลงจากเดือนก่อนหน้าที่อยู่ที่ระดับ 55.3จุด

อัตราเงินเฟ้อ เดือน มิ.ย. 64 ขยายตัวที่ร้อยละ 1.3 จากช่วงเดียวกันปีก่อน ลดลงจากเดือนก่อนหน้าที่ขยายตัวที่ร้อยละ 1.7 เนื่องจากราคาสินค้าในหมวดอาหาร เครื่องดื่ม และ ยาสูบ เป็นสาคัญเครื่องชี้ตลาดเงิน ตลาดอัตราแลกเปลี่ยน

ดัชนีSETSETปรับตัวลดลงจากสัปดาห์ก่อนเล็กน้อยสอดคล้องกับตลาดหลักทรัพย์อื่นๆในภูมิภาคที่ปรับตัวลดลงเช่นJCI อินโดนีเซีย)STOXX 50 E สหภาพยุโรป)และCAC 40 ฝรั่งเศส)เป็นต้นดัชนีSETSETปรับตัวเพิ่มขึ้นช่วงต้นสัปดาห์ลดลงเล็กน้อยช่วงกลางสัปดาห์และเพิ่มขึ้นอีกครั้งตอนปลายสัปดาห์โดยเมื่อวันที่1ก.ค.64ดัชนีปิดที่ระดับ1,593 7575จุดด้วยมูลค่าซื้อขายเฉลี่ยระหว่างวันที่28มิ.ย

1ก.ค.64อยู่ที่78 199 1616ล้านบาทต่อวันโดยนักลงทุนต่างชาติเป็นผู้ขายสุทธิขณะที่นักลงทุนทั่วไปในประเทศนักลงทุนสถาบันในประเทศและนักลงทุนบัญชีหลักทรัพย์เป็นผู้ซื้อสุทธิทั้งนี้ระหว่างวันที่28มิ.ย.-1ก.ค.64ต่างชาติขายหลักทรัพย์สุทธิ-5 409 2828ล้านบาท

อัตราผลตอบแทนพันธบัตรรัฐบาลโดยรวมปรับตัวลดลงในช่วง 11ถึง

10 bpsbpsโดยในสัปดาห์นี้นักลงทุนไม่มีการประมูลพันธบัตรรัฐบาลทั้งนี้ระหว่างวันที่2828มิ.ย 11ก.ค.64กระแสเงินทุนของนักลงทุนต่างชาติไหลเข้าในตลาดพันธบัตรสุทธิ1212,423423.7272ล้านบาทและหากนับจากต้นปีจนถึงวันที่1ก.ค.64กระแสเงินทุนของนักลงทุนต่างชาติไหลเข้าตลาดพันธบัตรสุทธิ7171,949949.7878ล้านบาท

เงินบาทอ่อนค่าลงจากสัปดาห์ก่อน โดย ณ วันที่ 3030มิ.ย. 64 เงินบาทปิดที่ 322.0202บาทต่อดอลลาร์สหรัฐ อ่อนค่าลงร้อยละ -00.3939จากสัปดาห์ก่อนหน้า สอดคล้องกับเงินสกุลอื่น ๆ อาทิ เงินสกุลเยน ยูโร และดอลลาร์สิงคโปร์ ที่ปรับตัวอ่อนค่าลงจากสัปดาห์ก่อนเมื่อเทียบกับดอลลาร์สหรัฐ ขณะที่เงินสกุลริงกิตวอน และหยวน ปรับตัวแข็งค่าขึ้นจากสัปดาห์ก่อนเมื่อเทียบกับดอลลาร์สหรัฐ ทั้งนี้ เงินบาทอ่อนค่าลงมากกว่าเงินสกุลหลักอื่น ๆ ในภูมิภาค ส่งผลให้ ดัชนีค่าเงินบาท (NEER) อ่อนค่าลงร้อยละ 0.280.28จากสัปดาห์ก่อน

ที่มา: สำนักงานเศรษฐกิจการคลัง กระทรวงการคลัง


เว็บไซต์นี้มีการใช้งานคุกกี้ ศึกษารายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และ ข้อตกลงการใช้บริการ รับทราบ