รายงานภาวะเศรษฐกิจรายสัปดาห์ (Weekly) ณ 6 ส.ค. 64

ข่าวเศรษฐกิจ Monday August 9, 2021 14:41 —กระทรวงการคลัง

เศรษฐกิจไทย
ExecutiveSummary

เศรษฐกิจไทยอัตราเงินเฟ้อทั่วไปเดือน ก.ค. 64ขยายตัวอยูที่รอยละ 0.45ตอปี ขณะที่อัตราเงินเฟ้อพื้นฐานขยายตัวที่รอยละ 0.14ตอปีดัชนีราคาวัสดุกอสรางในเดือน ก.ค.64ขยายตัวรอยละ 7.8เมื่อเทียบกับชวงเดียวกันของปีกอนดัชนีความเชื่อมั่นของผูบริโภคในเดือน ก.ค. 64ปรับตัวลดลงมาอยูที่ระดับ 40.9จากระดับ 43.1ในเดือนกอนปริมาณรถจักรยานยนต์จดทะเบียนใหมในเดือน ก.ค. 64หดตัวที่รอยละ -17.7เมื่อเทียบกับชวงเดียวกันของปีกอนหนี้สาธารณะคงคาง ณ สิ้นเดือน มิ.ย.64 อยูที่รอยละ 56.09 ของ GDP

ภาคการเงินดุลบัญชีเดินสะพัดเดือน มิ.ย. 64ขาดดุล -1,305.5ลานดอลลาร์สหรัฐสินเชื่อในสถาบันการเงินเดือน มิ.ย. 64ขยายตัวรอยละ 3.7จากชวงเดียวกันปีกอน ขณะที่เงินฝากในสถาบันการเงินขยายตัวที่รอยละ 3.1จากชวงเดียวกันปีกอน

เศรษฐกิจตางประเทศGDPอินโดนีเซีย ไตรมาสที่ 2 ปี 64 ขยายตัวที่รอยละ 7.1 จากชวงเดียวกันปีกอน เครื่องชี้เศรษฐกิจไทย อัตราเงินเฟ้อทั่วไปเดือน ก.ค. 64 ขยายตัวอยูที่รอยละ 0.45ตอปี ชะลอตัวลงจากเดือนกอนหนา โดยมาตรการลดภาระคาครองชีพของรัฐบาล และการลดลงของราคาอาหารสดบางประเภทยังคงเป็นปัจจัยสำคัญที่ทำใหเงินเฟ้อชะลอตัว ขณะที่ราคาสินคากลุมพลังงานยังคงขยายตัวอยางตอเนื่องทั้งนี้ เมื่อหักอาหารสดและพลังงานออกแลว อัตราเงินเฟ้อพื้นฐานขยายตัวที่รอยละ 0.14 ปัจจัยสำคัญของการสูงขึ้นยังคงเป็นผลจากสินคาในกลุมพลังงานที่ขยายตัวและการสูงขึ้นของราคาอาหารสดบางประเภทโดยเฉพาะเนื้อสุกร ไขไก และผลไมสด ตามความตองการในชวงล็อคดาวน์ ขณะที่มาตรการลดคาครองชีพของภาครัฐ (คาน้ำ-ไฟ และคาเลาเรียน) และการลดลงของราคาอาหารสดบางประเภท เชน ผักสด และขาวสาร เป็นปัจจัยที่สงผลใหอัตราเงินเฟ้อในเดือนนี้ขยายตัวชะลอลง ดัชนีราคาวัสดุกอสรางในเดือน ก.ค. 64 ขยายตัวรอยละ 7.8 เมื่อเทียบกับชวงเดียวกันของปีกอน

โดยขยายตัวติดตอกันเป็นเดือนที่ 10 จากหมวดเหล็กและผลิตภัณฑ์เหล็กที่ขยายตัวรอยละ 34.6 ตามราคาเหล็กและผลิตภัณฑ์เหล็กในตลาดโลกที่ยังคงอยูในระดับสูง แตเริ่มเห็นทิศทางราคามีแนวโนมชะลอลงจากการผลิตที่กลับมาดำเนินการไดมากขึ้นในหลายประเทศ ขณะที่ราคาวัสดุกอสรางในหมวดอื่นที่เหลือ สวนใหญยังคงเคลื่อนไหวตามราคาตนทุนวัถุดิบที่เพิ่มขึ้น มีเพียงหมวดซีเมนต์ที่เป็นหมวดหลักยังหดตัวตอเนื่องที่รอยละ -2.7 ทั้งนี้ มาตรการปิดแคมปคนงานกอสราง 1 เดือน คาดวาจะสงผลกระทบตอการกอสรางในระยะสั้น ประกอบกับการเขาสูฤดูฝนที่การกอสรางชะลอตัวอยูแลว จึงทำใหมาตรการดังกลาวกระทบกับราคาวัสดุกอสรางไมมากนัก เครื่องชี้เศรษฐกิจไทย

ดัชนีความเชื่อมั่นของผูบริโภคในเดือน ก.ค. 64 ปรับตัวลดลงมาอยูที่ระดับ 40.9 จากระดับ 43.1    ในเดือนกอน ซึ่งเป็นระดับต่ำสุดในรอบ 22 ปี 10 เดือน นับตั้งแตทำการสำรวจในเดือน ต.ค. 41        เป็นตนมาเนื่องจากความกังวลในสถานการณ์การแพรระบาดของเชื้อไวรัส COVID-19 ในประเทศไทยในรอบที่ 3 และการที่รัฐบาลกำหนดพื้นที่ควบคุมสูงสุด 13 จังหวัดโดยออกมาตรการมาตรการล็อกดาวน์และเคอร์ฟิวในเวลา       21.00-04.00 น. เพื่อควบคุมการระบาด สงผลกระทบตอการดำเนินชีวิตของประชาชน การทำธุรกิจ และภาวะเศรษฐกิจของประเทศ ประกอบกับความกังวลในสถานการณ์ทางการเมืองที่มีเสถียรภาพนอยลงและการฉีดวัคซีนใหกับประชาชนที่ลาชา สงผลใหผูบริโภครูสึกวาเศรษฐกิจไทยชะลอตัวลง และขาดแรงกระตุนในการฟืนตัวทางเศรษฐกิจในอนาคต
ปริมาณรถจักรยานยนต์จดทะเบียนใหมในเดือน ก.ค. 64 กลับมาหดตัวที่รอยละ -17.7 เมื่อเทียบกับชวงเดียวกันของปีกอน และเมื่อเทียบกับเดือนกอนหนาหลังขจัดผลทางฤดูกาล หดตัวที่รอยละ -16.0 การกลับมาหดตัวครั้งแรกในรอบ 4 เดือน สาเหตุหลักมาจากความกังวลของผูบริโภคสถานการณ์การระบาดของ     เชื้อไวรัส COVID-19ที่มีจำนวนผูติดเชื้อเพิ่มขึ้นอยางมาก ทำใหมีมาตรการล็อกดาวน์ในหลายพื้นที่ สงผลกระทบตอรายไดและความเชื่อมั่นของผูบริโภค จึงทำใหการตัดสินใจในการใชจายสินคาในชวงนี้ลดลง
เครื่องชี้ภาคการเงิน
ดุลบัญชีเดินสะพัดเดือน มิ.ย. 64 ขาดดุล -1,305.5ลานดอลลาร์สหรัฐ ขาดดุลลดลงจากเดือนกอนหนาที่อยูที่ -2,625.0ลานดอลลาร์สหรัฐ โดยดุลบริการ รายได และเงินโอน ขาดดุลที่ -5,211.2ลานดอลลาร์สหรัฐ ขาดดุลลดลงจากเดือนกอนหนา ขณะที่ดุลการคา (ตามระบบ BOP)เกินดุลเพิ่มขึ้นจากเดือนกอนหนามาอยูที่ 3,905.8 ลานดอลลาร์สหรัฐ จากมูลคาการสงออกที่เพิ่มขึ้นมากกวามูลคาการนำเขา สงผลใหดุลบัญชีเดินสะพัดตั้งแตตนปี 64 ขาดดุลรวม -8,645.6 ลานดอลลาร์สหรัฐ
สินเชื่อในสถาบันการเงินเดือน มิ.ย. 64            มียอดคงคาง 19.4 ลานลานบาท คิดเป็น         การขยายตัวรอยละ 3.7 จากชวงเดียวกันปีกอนหรือขยายตัวเรงขึ้นที่รอยละ 0.4 จากเดือนกอนหนา (หลังขจัดผลทางฤดูกาล) เมื่อแยกประเภทการขอสินเชื่อพบวา สินเชื่อเพื่อธุรกิจขยายตัวรอยละ 1.5ขณะที่สินเชื่อเพื่อการอุปโภคบริโภคขยายตัวรอยละ 5.0จากชวงเดียวกันปีกอนเงินฝากในสถาบันการเงินเดือน มิ.ย. 64                มียอดคงคาง 22.7 ลานลานบาท คิดเป็น               การขยายตัวที่รอยละ 3.1 จากชวงเดียวกันปีกอน หรือหากขจัดผลทางฤดูกาลแลวขยายตัวที่รอยละ 0.1 จากเดือนกอนหนา โดยเงินฝากจากธนาคารพาณิชย์ขยายตัวที่รอยละ 3.6ขณะที่ เงินฝากสถาบันการเงินเฉพาะกิจขยายตัวในอัตราชะลอตัวที่รอยละ 1.7จากชวงเดียวกันปีกอน
เครื่องชี้เศรษฐกิจไทย
หนี้สาธารณะคงคาง ณ สิ้นเดือน มิ.ย.64 มีจำนวนทั้งสิ้น 8,825,097.81 ลานบาท หรือคิดเป็น   รอยละ 56.09 ของ GDPและเมื่อเปรียบเทียบกับเดือนกอนหนา พบวา หนี้สาธารณะคงคางเพิ่มขึ้นสุทธิ 128,956.86ลานบาท ทั้งนี้ สถานะหนี้สาธารณะของไทยถือวามีความมั่นคง สะทอนได จากสัดสวนหนี้สาธารณะตอ GDP ยังอยูในระดับต่ำกวากรอบวินัยในการบริหารหนี้สาธารณะที่ตั้งไวไมเกินรอยละ 60 ของ GDP และหนี้สาธารณะสวนใหญเป็นหนี้ระยะยาว โดยแบงตามอายุคงเหลือ คิดเป็นรอยละ 86.0 ของยอดหนี้สาธารณะและเป็นหนี้ในประเทศคิดเป็นรอยละ 98.2ของยอดหนี้สาธารณะ
เครื่องชี้เศรษฐกิจตางประเทศ

ดัชนีฯ PMIภาคอุตสาหกรรม (ISM) เดือน ก.ค. 64 อยูที่ระดับ 59.5จุดลดลงจากเดือนกอนหนาที่อยูที่ระดับ 60.6จุด และเป็นระดับที่ต่ำที่สุดในรอบ 6เดือน โดยเป็นผลจากการปรับตัวลดลงของยอดคำสั่งซื้อใหมเป็นสำคัญ ขณะที่ยังคงเผชิญปัญหาการขาดแคลนวัตถุดิบและแรงงานดัชนีฯ PMI นอกภาคอุตสาหกรรม (ISM) เดือน ก.ค. 64 อยูที่ระดับ 64.1 จุดเพิ่มขึ้นจากเดือนกอนหนาที่ฐอยูที่ระดับ 60.1จุด และเป็นสถิติที่สูงที่สุดนับตั้งแตเริ่มเก็บขอมูลมาในปี 40เป็นผลจากกิจกรรมทางธุรกิจคำสั่งซื้อใหม และการจางงานที่ปรับตัวเพิ่มขึ้น ตามอุปสงค์ที่ขยายตัวขึ้นหลังมีการผอนคลายมาตรการสควบคุมการแพรระบาดของไวรัสโควิด-19 จำนวนผูขอรับสวัสดิการวางงานครั้งแรกรายสัปดาห์ (25-31ก.ค. 64) อยูที่ 3.85แสนรายลดลงตอเนื่องเป็นสัปดาห์ที่ 2จากสัปดาห์กอนหนาที่อยูที่ 3.99แสนราย สะทอนการทยอยฟืนตัวของตลาดแรงงานสหรัฐฯ ทั้งนี้ ยังคงเป็นระดับสูงกวาคาเฉลี่ยตอสัปดาห์ในชวงกอนเกิดการแพรระบาดของไวรัสโควิด-19 ในสหรัฐฯ ที่อยูที่ระดับ 2.3 แสนราย

ดัชนีฯ PMIภาคอุตสาหกรรม (NBS)เดือน ก.ค. 64 อยูที่ระดับ 50.4 จุด ลดลงจากเดือนกอนหนาที่อยูระดับ 50.9 จุด และเป็นระดับที่ต่ำที่สุดนับตั้งแตเดือน ก.พ. 63เป็นผลจากการแพรระบาดของไวรัส          โควิด-19สายพันธุ์เดลตาในเมืองทางตะวันออกของหนานจิงรวมถึงราคาตนทุนที่เพิ่มสูงขึ้น และสภาพอากาศที่แปรปรวน ซึ่งสงผลกระทบตอกิจกรรมทางธุรกิจดัชนีฯ PMIภาคอุตสาหกรรม (Caixin)เดือน ก.ค. 64 อยูที่ระดับ 50.3 จุด ลดลงจากเดือนกอนหนาที่อยูระดับ 51.3จุด และเป็นระดับที่ต่ำที่สุดตั้งแตเดือน พ.ค. 63จากอุปสงค์ตลาดที่ลดลง ขณะที่ตนทุนการผลิตเพิ่มสูงขึ้น ทามกลางการระบาดของโรคโควิด-19ปัญหาอุทกภัยรุนแรง การขาดแคลนชิป และ    การขนสงที่ลาชาดัชนีฯ PMIภาคบริการ (Caixin)เดือน ก.ค. 64 อยูที่ระดับ 54.9 จุด เพิ่มขึ้นจากเดือนกอนหนาที่อยูที่ระดับ 50.3 จุด หลังสามารถควบคุมการแพรระบาดของโควิด-19ไดดี โดยมียอดผูติดเชื้อใหมรายวัน        ลดนอยลง และทำใหกิจกรรมในภาคการบริการขยายตัวอยางรวดเร็วดัชนีฯ PMIภาคอุตสาหกรรม เดือน ก.ค. 64 อยูที่ระดับ 62.8 จุด ลดลงจากจากเดือน มิ.ย. 64 ที่อยูที่ระดับ 63.4 จุด อยางไรก็ดี ระดับดัชนียังคงอยูในระดับที่สูงกวาระดับ 50 จุด สะทอนถึงการขยายตัวภาคอุตสาหกรรมดัชนีฯ PMIภาคการบริการ เดือน ก.ค. 64 อยูที่ระดับ 59.8 จุดเพิ่มขึ้นจากเดือน มิ.ย. 64 ที่อยูที่ระดับ 58.3จุด โดยไดรับแรงหนุนจากมาตรการควบคุมโรคโควิด-19ที่ผอนคลายลง และเป็นระดับที่สูงสุดนับตั้งแตเดือน มิ.ย. 49 ยอดคาปลีก เดือน มิ.ย. 64 ขยายตัวที่รอยละ 5.0 จากชวงเดียวกันปีกอน ขยายตัวลดลงจากเดือน พ.ค. 64 ที่ขยายตัวที่รอยละ 8.6อยางไรก็ดี ขยายตัวมากกวาที่ตลาดคาดการณ์ไววาจะขยายตัวที่รอยละ 4.5

ดัชนีฯ PMIภาคการผลิตเดือน ก.ค. 64 ปรับตัวลดลงมาอยูที่ระดับ 56.9 จุด จากระดับ 58.6ในเดือน มิ.ย. 64เนื่องจากกิจกรรมในโรงงานชะลอตัวลงดัชนีฯ PMIภาคบริการเดือน ก.ค. 64 ปรับตัวลดลงมาอยูที่ระดับ 44.2 จุด จากระดับ 56.8ในเดือน มิ.ย. 64ซึ่งนับวาเป็นคาที่ต่ำที่สุดในรอบ 14เดือน เครื่องชี้เศรษฐกิจตางประเทศ ดัชนีฯ PMI ภาคอุตสาหกรรม เดือน ก.ค. 64 อยูที่ระดับ 45.1 จุด เพิ่มขึ้นจากเดือนกอนหนาที่อยูที่ระดับ 44.1 จุด

ดัชนีฯ PMIภาคอุตสาหกรรม เดือน ก.ค. 64 อยูที่ระดับ 56.7 จุด เพิ่มขึ้นจากเดือนกอนหนาที่อยูที่ระดับ 50.1 จุด เพิ่มขึ้นสูงสุดนับตั้งแต พ.ค. 61เนื่องจากการผอนคลายมาตรการการควบคุมการแพรระบาดในระยะที่ 2ทำใหกิจกรรมทางธุรกิจฟืนตัวอยางแข็งแกรงยอดคาปลีก เดือน มิ.ย. ขยายตัวที่รอยละ 25.8 จากชวงเดียวกันปีกอน ลดลงจากเดือนกอนหนาที่รอยละ 79.9เนื่องจากยอดขายในหมวดอาหารและเครื่องดื่มแอลกอฮอล์เป็นสำคัญดัชนีฯ PMIภาคอุตสาหกรรม เดือน ก.ค. 64 อยูที่ระดับ 53.3จุดเป็นการกลับมาปรับตัวเพิ่มขึ้นอีกครั้ง หลังลดลงในเดือนกอนหนาอยูที่ระดับ48.1จุด เป็นผลจากดัชนีที่ปรับตัวเพิ่มขึ้นในหลายหมวด อาทิ ผลผลิต คำสั่งซื้อใหม การสงออก สินคาคงคลัง และการจางงาน ขณะที่เงินเฟ้อปรับตัวลดลง และความเชื่อมั่นของภาคธุรกิจเพิ่มสูงขึ้น

          ดัชนีฯ PMIภาคอุตสาหกรรม เดือน ก.ค. 64 อยูที่ระดับ 51.3 จุด ลดลงเล็กนอยจากเดือนกอนหนาที่อยูที่ระดับ 51.4จุด จากอุปสงค์จากตางประเทศที่ปรับตัวลดลง ยอดคำสั่งซื้อจากจีนชะลอลงเป็นเดือนที่สอง ขณะที่ตนทุนการผลิตเพิ่มสูงขึ้นGDPไตรมาสที่ 2 ปี 64 ขยายตัวที่รอยละ 7.1 จากชวงเดียวกันปีกอน หรือคิดเป็น         การขยายตัวที่รอยละ 3.3เมื่อเทียบกับไตรมาสกอนหนา (หลังขจัดผลทางฤดูกาลแลว) ดัชนีฯ PMIภาคอุตสาหกรรม เดือน ก.ค. 64 อยูที่ระดับ 40.1 จุด ลดลงจากเดือนกอนหนาที่อยูที่ระดับ 53.5จุด เนื่องจากมาตรการควบคุมที่เขมขนขึ้น หลังจากมีการแพรระบาด         โควิด-19ระลอกที่ 2 อัตราเงินเฟ้อ เดือน ก.ค. 64 ขยายตัวที่รอยละ 1.5 จากชวงเดียวกันปีกอน เพิ่มขึ้นจากเดือนกอนหนาที่อยูที่รอยละ 1.3 จากชวงเดียวกันปีกอน เป็นผลมาจากราคาอาหาร เครื่องดื่ม และยาสูบเป็นสำคัญดัชนีฯ PMIภาคอุตสาหกรรม เดือน ก.ค. 64 อยูที่ระดับ 40.1 จุด เพิ่มขึ้นเล็กนอยจากเดือนกอนหนาที่อยูที่ระดับ 39.9จุด
เครื่องชี้เศรษฐกิจตางประเทศ
ดัชนีฯ PMIภาคอุตสาหกรรม เดือน ก.ค. 64 อยูที่ระดับ 50.4 จุดลดลงเล็กนอยจากเดือนกอนหนาที่อยูที่ระดับ 50.8จุดอัตราเงินเฟ้อ เดือน ก.ค. 64 ขยายตัวที่รอยละ 4.0 จากชวงเดียวกันปีกอนลดลงจากเดือนกอนหนาที่อยูที่รอยละ 4.1จากชวงเดียวกันปีกอน เป็นผลมาจากตนทุนคาขนสงเป็นสำคัญดัชนีฯ PMIภาคอุตสาหกรรม เดือน ก.ค. 64 อยูที่ระดับ 53.0จุด ลดลงจากเดือน มิ.ย. 64 ที่อยูที่ระดับ 53.9จุด และเป็นระดับที่ต่ำที่สุดในปี 64จากการจางงานที่ลดลง ปัญหาการขาดแคลนวัตถุดิบ ราคาสินคาที่เพิ่มขึ้น เนื่องจากราคาตนทุนที่สูงขึ้น ซึ่งสงผลให        ความเชื่อมั่นของธุรกิจลดลงอัตราเงินเฟ้อ เดือน ก.ค. 64 ขยายตัวที่รอยละ 2.6จากชวงเดียวกันปีกอน เรงขึ้นจากเดือนกอนหนาที่อยูที่รอยละ 2.4จากชวงเดียวกันของปีกอน เป็นผลจากราคาสินคาที่ปรับตัวเพิ่มขึ้นในกลุมที่อยูอาศัยและสาธารณูปโภค และรานอาหารและโรงแรมเป็นสำคัญดัชนีฯ PMIภาคอุตสาหกรรม เดือน ก.ค. 64 อยูที่ระดับ 59.7จุด เพิ่มขึ้นจากเดือนกอนหนาที่อยูที่ระดับ 57.6จุด จากผลกระทบของการแพรระบาดที่บรรเทาลง สงผลใหการผลิตปรับตัวเรงขึ้น ปริมาณการสงออกเพิ่มสูงขึ้น ตนทุนการผลิตลดลง และความเชื่อมั่นทางธุรกิจเพิ่มขึ้นอัตราเงินเฟ้อ เดือน ก.ค. 64 ขยายตัวที่รอยละ 1.95จากชวงเดียวกันปีกอน เรงขึ้นจากเดือนกอนหนาที่อยูที่รอยละ 1.87จากชวงเดียวกันของปีกอน เป็นผลจากราคาสินคาที่ปรับตัวเพิ่มขึ้นในกลุมการขนสงและการสื่อสาร อาหาร เสื้อผา การศึกษาและการบันเทิง และที่อยูอาศัย เป็นสำคัญดัชนีฯ PMIภาคการผลิต เดือน ก.ค. 64 ปรับตัวลดลงมาอยูที่ 60.4 จุด จาก 63.9จุด      ในเดือนกอนหนา อยางไรก็ดี ณ ระดับ 60.4จุดนี้ สะทอนใหเห็นวาภาคการผลิตยังคงสงสัญญาณขยายตัวดัชนีฯ PMIภาคบริการ เดือน ก.ค. 64 ปรับตัวลดลงมาอยูที่ 59.6 จุด จาก 62.4จุด       ในเดือนกอนหนา ซึ่งเป็นการสงสัญญาณบงบอกถึงอัตราการขยายตัวที่ชาที่สุด
เครื่องชี้ตลาดเงิน ตลาดอัตราแลกเปลี่ยน
ดัชนี SETปรับตัวลดลงจากสัปดาห์กอนเล็กนอย สอดคลองกับ   ตลาดหลักทรัพย์อื่น ๆ ในภูมิภาคที่ปรับตัวลดลง เชน Nikkei225 (ญี่ปุ่น)KLCI(มาเลเซีย)และ DJIA(สหรัฐอเมริกา)เป็นตน เมื่อวันที่           5 ส.ค. 64 ดัชนีปิดที่ระดับ 1,527.66จุด ดวยมูลคาซื้อขายเฉลี่ยระหวางวันที่ 2-5 ส.ค. 64อยูที่ 71,056.11ลานบาทตอวัน โดย      นักลงทุนตางชาติเป็นผูขายสุทธิ ขณะที่นักลงทุนทั่วไปในประเทศนักลงทุนสถาบันในประเทศ และนักลงทุนบัญชีบริษัทหลักทรัพย์       เป็นผูซื้อสุทธิ ทั้งนี้ ระหวางวันที่ 2-5 ส.ค. 64 ตางชาติ ขายหลักทรัพย์สุทธิ -6,070.12ลานบาทอัตราผลตอบแทนพันธบัตรรัฐบาลโดยรวมปรับตัวลดลงในชวง -1ถึง -10bpsโดยในสัปดาห์นี้นักลงทุนมีการประมูลพันธบัตรรัฐบาลอายุ 22 ปี ซึ่งมีนักลงทุนสนใจ 1.87เทาของวงเงินประมูล ทั้งนี้ ระหวางวันที่ 2-5 ส.ค. 64 กระแสเงินทุนของนักลงทุนตางชาติ ไหลเขาในตลาดพันธบัตรสุทธิ 14,693.40ลานบาทและหากนับจากตนปีจนถึงวันที่ 5 ส.ค. 64 กระแสเงินทุนของนักลงทุนตางชาติ ไหลเขาในตลาดพันธบัตรสุทธิ 79,026.66ลานบาทเงินบาทออนคาลงจากสัปดาห์กอน โดย ณ วันที่ 5ส.ค. 64 เงินบาทปิดที่ 33.14บาทตอดอลลาร์สหรัฐ ออนคาลงรอยละ -0.80จากสัปดาห์กอนหนา สอดคลองกับเงินสกุลยูโร ที่ปรับตัวออนคาลงจากสัปดาห์กอนเมื่อเทียบกับดอลลาร์สหรัฐ ขณะที่ เงินสกุล เยน ริงกิต วอน ดอลลาร์สิงคโปร์ และหยวน ปรับตัวแข็งคาขึ้นจากสัปดาห์กอนเมื่อเทียบกับดอลลาร์สหรัฐ ทั้งนี้ เงินบาทออนคาลงมากกวาเงินสกุลหลัก อื่น ๆ ในภูมิภาค สงผลให ดัชนีคาเงินบาท (NEER)ออนคาลงรอยละ  -1.07จากสัปดาห์กอน



ที่มา: สำนักงานเศรษฐกิจการคลัง กระทรวงการคลัง


เว็บไซต์นี้มีการใช้งานคุกกี้ ศึกษารายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และ ข้อตกลงการใช้บริการ รับทราบ