รายงานภาวะเศรษฐกิจรายสัปดาห์ (Weekly) ณ 25 พ.ย. 65

ข่าวเศรษฐกิจ Monday November 28, 2022 14:50 —กระทรวงการคลัง

เศรษฐกิจไทย

เศรษฐกิจไทยในไตรมาส 3 ปี 2565 ขยายตัวที่ร้อยละ 4.5 ต่อปี

? ดัชนีผลผลิตสินค้าเกษตรกรรม ในเดือน ต.ค. 65 ขยายตัวที่ร้อยละ 6.0

เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน เช่นเดียวกับดัชนีราคาสินค้าเกษตรกรรม

ขยายตัวที่ร้อยละ 18.3 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน

? จานวนนักท่องเที่ยวต่างชาติที่เดินทางเข้าไทย ขยายตัวที่ร้อยละ 7,178.2 ต่อปี

? ปริมาณการจาหน่ายรถยนต์นั่งในเดือน ต.ค. 65 หดตัวที่ร้อยละ -2.4 เมื่อเทียบกับช่วง

เดียวกันของปีก่อน

? ปริมาณการจาหน่ายรถยนต์เชิงพาณิชย์ในเดือน ต.ค. 65 ขยายตัวที่ร้อยละ 1.4 เมื่อเทียบ

กับช่วงเดียวกันปีก่อน

? ปริมาณการจาหน่ายปูนซีเมนต์ภายในประเทศเดือน ต.ค. 65 หดตัวที่ร้อยละ -5.7 เมื่อเทียบ

กับช่วงเดียวกันของปีก่อน

? การเบิกจ่ายงบประมาณรวมในเดือน ต.ค. ปีงบประมาณ 66 หดตัวร้อยละ -4.4 ต่อปี

? รัฐบาลจัดเก็บรายได้สุทธิ (หลังหักจัดสรรให้ อปท.) ในเดือน ต.ค. ปีงบประมาณ 66

ขยายตัวร้อยละ 19.5 ต่อปี

? ฐานะการคลังของรัฐบาลตามระบบกระแสเงินสดในเดือน ต.ค. ปีงบประมาณ 66 ขาดดุล

จานวน 279,812 ล้านบาท

? ภาษีมูลค่าเพิ่มที่รัฐบาลจัดเก็บได้ ณ ระดับราคาคงที่ในเดือน ต.ค. 65 ขยายตัวที่ร้อยละ

5.2 ต่อปี

? ภาษีจากการทาธุรกรรมอสังหาริมทรัพย์ในเดือน ต.ค. 65 ขยายตัวที่ร้อยละ 12.0 เมื่อ

เทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน

เศรษฐกิจไทย

เศรษฐกิจต่างประเทศ

? เศรษฐกิจสิงคโปร์ ไตรมาสที่ 3 ปี 65 ขยายตัวที่ร้อยละ 4.1 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน

เครื่องชี้เศรษฐกิจไทย

เศรษฐกิจไทยในไตรมาส 3 ปี 2565 ขยายตัวร้อยละ 4.5 ต่อปี เร่งตัวขึ้นจากการขยายตัวร้อยละ 2.5 ในไตรมาสที่ 2 ของปี 2565 และเมื่อปรับผลของฤดูกาล พบว่า เศรษฐกิจไทยในไตรมาสที่ 3 ปี 2565 ขยายตัวจากไตรมาสก่อนหน้าร้อยละ 1.2

ในส่วนของภาคการผลิต การผลิตสินค้าอุตสาหกรรม ขยายตัวร้อยละ 6.3 ตามการกลับมาขยายตัวของทุกกลุ่มอุตสาหกรรมการผลิต ทั้งกลุ่มอุตสาหกรรมเบา อุตสาหกรรมวัตถุดิบ และอุตสาหกรรมสินค้าทุนและเทคโนโลยี เป็นผลมาจากการขยายตัวของอุปสงค์ทั้งในประเทศและต่างประเทศ และการผลิตสาขาบริการขยายตัวร้อยละ 5.3 โดยสาขาการขายส่งและการขายปลีก ขยายตัวร้อยละ 3.5 ตามการปรับตัวดีขึ้นของการใช้จ่ายภาคครัวเรือนและจานวนนักท่องเที่ยวต่างประเทศ ขณะที่การนาเข้าสินค้ายังขยายตัวได้ สาขาที่พักแรมและบริการด้านอาหาร ขยายตัวร้อยละ 53.6 เป็นการเพิ่มขึ้นทั้งบริการที่พักแรม และบริการด้านอาหาร ปัจจัยหลักมาจากนักท่องเที่ยวต่างชาติที่เดินทางเข้าประเทศ รวมถึงมาตรการกระตุ้นการท่องเที่ยวในประเทศของภาครัฐ ประกอบกับการผ่อนคลายมาตรการเดินทางออกนอกประเทศของหลายประเทศ

เครื่องชี้เศรษฐกิจไทย

ดัชนีผลผลิตสินค้าเกษตรกรรมในเดือนต.ค. 65ขยายตัวที่ร้อยละ 6.0เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน หรือคิดเป็นการปรับเพิ่มขึ้นร้อยละ 1.1เมื่อเทียบกับเดือนก่อนหน้าหลังขจัดผลทางฤดูกาล

หากพิจารณารายหมวดผลผลิตสินค้าเกษตรในเดือน ต.ค. 65พบว่า ดัชนีผลผลิตสินค้าเกษตรกรรมในหมวดพืชผลสาคัญขยายตัวที่ร้อยละ 4.3 ขณะที่ผลผลิตในหมวดปศุสัตว์ขยายตัวที่ร้อยละ 9.9 และหมวดประมงขยายตัวที่ร้อยละ 15 โดยผลผลิตสินค้าเกษตรที่ปรับตัวเพิ่มขึ้น ได้แก่ ข้าวเปลือก ข้าวโพด ปาล์มน้ามัน มันสาปะหลัง และกลุ่มไม้ผล ส่วนยางพาราปรับตัวลดลง

ดัชนีราคาสินค้าเกษตรกรรมในเดือน ต.ค. 65ขยายตัวที่ร้อยละ 18.3เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน หรือคิดเป็นการขยายตัวร้อยละ 0.4เมื่อเทียบกับเดือนก่อนหน้าหลังขจัดผลทางฤดูกาล หากพิจารณารายหมวดราคาสินค้าเกษตรในเดือน ต.ค. 65 พบว่า ดัชนีราคาสินค้าเกษตรขยายตัวในทุกหมวดสินค้า โดยหมวดพืชผลสาคัญ หมวดปศุสัตว์ และหมวดประมงขยายตัวที่ร้อยละ 12.7 40.4 และ 2.7 ตามลาดับ โดยสินค้าเกษตรสาคัญที่ราคาเพิ่มขึ้น ได้แก่ ข้าวเปลือก ยางพารา มันสาปะหลัง ข้าวโพด กลุ่มไม้ผลหมวดปศุสัตว์ และประมง ขณะที่ปาล์มน้ามันราคาลดล รายได้เกษตรที่แท้จริง (หักผลของเงินเฟ้อชุดชนบท) ในเดือน ต.ค. 65 ขยายตัวที่ร้อยละ 18.3 จากหมวดปศุสัตว์ข้าวเปลือก มันสาปะหลัง ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ และหมวดประมง เป็นสาคัญ

เดือน ต.ค. 65 จานวนนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติที่เดินทางเข้ามาในประเทศไทยเพิ่มขึ้นต่อเนื่อง โดยมีจานวนนักท่องเที่ยวมากกว่า 1 ล้านคน ติดต่อกันเป็นเดือนที่ 4 หลังจากที่รัฐบาลได้ประกาศให้โรคโควิด-19 จากโรคติดต่ออันตรายเป็นโรคติดต่อเฝ้าระวัง ขณะเดียวกันก็ส่งผลให้การท่องเที่ยวภายในประเทศปรับตัวดีขึ้นเช่นกัน

ในเดือน ต.ค. 65นักท่องเที่ยวชาวต่างชาติเดินทางเข้าประเทศไทย จานวน 1.48ล้านคน โดยส่วนใหญ่เป็นนักท่องเที่ยวชาวมาเลเซีย อินเดีย ลาว เกาหลีใต้และเวียดนาม ตามลาดับ โดยเมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อนพบว่า จานวนนักท่องเที่ยวขยายตัวสูงที่ร้อยละ 7,178.2 ส่วนหนึ่งเป็นผลจากปัจจัยฐานต่า จากการแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโควิด-19 สายพันธุ์เดลต้า ทั้งนี้ เมื่อขจัดผลทางฤดูกาลแล้วพบว่าหดตัวร้อยละ -11.2โดยจานวนนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติ สะท้อนการขยายตัวต่อเนื่องของการท่องเที่ยวของนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติหลังจากที่รัฐบาลได้

สะท้อนการขยายตัวต่อเนื่องของการท่องเที่ยวของนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติหลังจากที่รัฐบาลได้ยกเลิกข้อจากัดเกี่ยวกับการตรวจหาเชื้อโควิด-19ก่อนเข้าประเทศ อีกทั้งยังเป็นการเริ่มเข้าสู่ฤดูกาลท่องเที่ยวของประเทศไทย (High season)

การท่องเที่ยวของชาวไทย สะท้อนจากจานวนผู้เยี่ยมเยือนชาวไทยใน ต.ค. 65 มีจานวน 17.7ล้านคน ขยายตัวในอัตราชะลอที่ร้อยละ 285.0เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน และเมื่อขจัดผลทางฤดูกาลแล้วพบว่า หดตัวที่ร้อยละ -18.8สร้างรายได้จากการท่องเที่ยวของชาวไทยที่ 55,589ล้านบาท ขยายตัวที่ร้อยละ 436.3 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน ทั้งนี้ การเพิ่มขึ้นของนักท่องเที่ยวภายในประเทศเป็นผลจากการฟื้นตัวดีขึ้นของโรคโควิด-19 และการที่เดือน ต.ค. 65 มีช่วงวันหยุดยาว 2 ช่วงด้วยกัน คือ วันคล้ายวันสวรรคตของรัชกาลที่ 9 และวันปิยมหาราช อีกทั้งยังเป็นช่วงเดือนสุดท้ายของการใช้สิทธิ์โครงการเราเที่ยวด้วยกัน

ปริมาณการจาหน่ายรถยนต์นั่งในเดือน ต.ค. 65 มีจานวน 1919,468468คัน หดตัวที่ร้อยละ

2.42.4เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน แต่เมื่อเทียบกับเดือนก่อนหน้าหลังขจัดผลทางฤดูกาล ขยายตัวที่ร้อยละ 2.6

โดยยอดขายรถยนต์นั่งเริ่มส่งสัญญาณฟื้นตัวหลังจากปัญหาน้าท่วมในหลายพื้นที่คลี่คลายลง ประกอบกับกิจกรรมทางเศรษฐกิจที่ฟื้นตัวอย่างต่อเนื่องจากมาตรการผ่อนคลายควบคุมโรคและการเปิดรับนักท่องเที่ยวต่างชาติได้อย่างสะดวกขึ้น อีกทั้งรายได้ของเกษตรกรยังคงเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่องจากราคาสินค้าเกษตรที่ปรับตัวสูงขึ้น และมาตรการประกันรายได้เกษตรกร นอกจากนี้ ยังมีมาตรการบรรเทาภาระค่าครองชีพและมาตรการรักษาระดับการบริโภค รวมถึงการออกรถยนต์รุ่นใหม่ที่มีส่วนช่วยกระตุ้นกาลังซื้อของผู้บริโภค

ปริมาณการจาหน่ายรถยนต์เชิงพาณิชย์ในเดือน ต.ค. 65 มีจานวน 45,150 คัน ขยายตัวที่ ร้อยละ 1.4เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันปีก่อน ตามปริมาณจาหน่ายรถกระบะ 1 ตัน ที่ขยายตัว ร้อยละ 0.3เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันปีก่อน แต่ปริมาณการจาหน่ายรถยนต์เชิงพาณิชย์หดตัวลงร้อยละ -14.5 เมื่อเทียบกับเดือนก่อนหน้าหลังปรับผลทางฤดูกาล

ยอดจาหน่ายรถยนต์เชิงพาณิชย์เดือน ต.ค.65 ขยายตัวเพิ่มขึ้นเมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันปีก่อน เนื่องจากจากการฟื้นตัวของเศรษฐกิจภายในประเทศรวมทั้งการปรับตัวลดลงของราคาพลังงาน แต่ขณะเดียวกันยอดจาหน่ายรถยนต์เชิงพาณิชย์ปรับตัวลดลงเมื่อเทียบกับเดือน ก.ย.65 เนื่องจากการมียอดจาหน่ายที่สูงจากเดือนก่อนหน้า อย่างไรก็ตามการขึ้นอัตราดอกเบี้ยจะมีผลกระทบต่อต้นทุนของผู้ประกอบการ

ปริมาณการจาหน่ายปูนซีเมนต์ภายในประเทศเดือน ต.ค. 65 หดตัวที่ร้อยละ -5.7 เมื่อเทียบกับช่วง

เดียวกันของปีก่อน และปรับตัวลดลงร้อยละ -2.9 เมื่อเทียบกับเดือนก่อนหน้าหลังหักผลทางฤดูกาล

Cement Sales

-5.7

-2.9

-15.0

-10.0

-5.0

0.0

5.0

10.0

15.0

20.0

Apr-19

Jul-19

Oct-19

Jan-20

Apr-20

Jul-20

Oct-20

Jan-21

Apr-21

Jul-21

Oct-21

Jan-22

Apr-22

Jul-22

Oct-22

%YoY %MoM_Sa

ในเดือน ต.ค. 65 ยอดจาหน่ายปูนซีเมนต์ลดลงจากช่วงเดียวกันของปีก่อน และปรับตัวลดลงเมื่อเทียบกับเดือน

ก่อนหน้าหลังหักผลทางฤดูกาล เนื่องมาจาก ราคาวัตถุดิบยังคงอยู่ในระดับสูงรวมทั้งปัญหาอุทกภัยเป็น

อุปสรรคในการก่อสร้างจึงทาให้ความต้องการใช้ปูนซีเมนต์ลดลง

การเบิกจ่ายงบประมาณรวมในเดือน ต.ค. ปีงบประมาณ 66 เบิกจ่ายได้ทั้งสิ้น 487,686 ล้านบาท

หดตัวร้อยละ -4.4 ต่อปี คิดเป็นอัตราเบิกจ่ายสะสมที่ร้อยละ 14.4

โดย (1) รายจ่ายปีปัจจุบัน เบิกจ่ายได้

473,438 ล้านบาท หดตัวร้อยละ -4.1 ต่อ

ปี คิดเป็นอัต ราเบิกจ่ายส สมที่ร้อยล

14.9 ทั้งนี้ แบ่งออกเป็น (1.1) รายจ่าย

ป ร จ 4 2 0 , 9 4 4 ล้า น บ ท ห ด ตัว

ร้อยละ -4.1 ต่อปี คิดเป็นอัตราเบิกจ่าย

สะสมที่ร้อยละ 16.7 และ (1.2) รายจ่าย

ลงทุน 52,494 ล้านบาท หดตัวร้อยละ

-3.4 ต่อปี คิดเป็นอัตราเบิกจ่ายสะสม

ที่ร้อ ย ล 7 . 9 ( 2 ) ร ย จ่า ย ปีก่อ น

เ บิก จ่า ย ไ ด้ 1 4 , 2 4 8 ล้า น บ ท ห ด ตัว

ที่ร้อ ย ล - 1 4 . 8 ต่อ ปี คิด เ ป็น อัต ร

เบิกจ่ายสะสมที่ร้อยละ 7.5 ต่อปี

เครื่องชี้เศรษฐกิจไทย

ภาษีมูลค่าเพิ่มที่รัฐบาลจัดเก็บได้ ณ ระดับราคาคงที่ในเดือน ต.ค. 65 ขยายตัวที่ร้อยละ 5.25.2ต่อปี แต่เมื่อเทียบกับเดือนก่อนหน้าหลังขจัดผลทางฤดูกาล หดตัวที่ร้อยละ -5.4

โดยเป็นการขยายตัวต่อเนื่องเป็นเดือนที่ 20 นับตั้งแต่เดือน มี.ค. 64 โดยภาษีมูลค่าเพิ่มที่จัดเก็บจาก การใช้จ่ายภายในประเทศ กลับมาขยายตัวที่ร้อยละ 6.1 ส่วนหนึ่งเป็นผลมาจากกาลังซื้อที่เพิ่มขึ้นจากการผ่อนคลายให้นักท่องเที่ยวต่างชาติเดินทางเข้าประเทศมากขึ้น ประกอบกับกิจกรรมทางเศรษฐกิจที่ฟื้นตัวมากขึ้นตามมาตรการผ่อนคลายควบคุมโรคของภาครัฐ นอกจากนี้ มาตรการรักษาระดับการบริโภคภายในประเทศ เฟส 2 ของภาครัฐยังมีส่วนช่วยสนับสนุนการฟื้นตัวของกาลังซื้อผู้บริโภค อย่างไรก็ดี ปัญหาค่าครองชีพที่ปรับตัวสูงขึ้นตามราคาสินค้ายังคงเป็นปัจจัยกดดันต่อการบริโภคภายในประเทศในปัจจุบัน ขณะที่ภาษีมูลค่าเพิ่มที่จัดเก็บจากการนาเข้ายังคงขยายตัวอย่างต่อเนื่องที่ร้อยละ 4.2ตามการฟื้นตัวของเศรษฐกิจ และทิศทางการนาเข้าของประเทศที่ขยายตัวได้ดีอย่างต่อเนื่อง

ภาษีจากการทาธุรกรรมอสังหาริมทรัพย์ในเดือน ต.ค. 65 ขยายตัวที่ร้อยละ 12.0เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน และลดลงเมื่อเทียบกับเดือนก่อนหน้าหลังขจัดผลทางฤดูกาล

การจัดเก็บภาษีจากการทาธุรกรรมอสังหาริมทรัพย์ในเดือน ต.ค.65 มีการขยายตัวจากช่วงเดือนเดียวกันของปีก่อน แต่มีแนวโน้มลดลง โดยมีปัจจัยบวกมาจากการฟื้นตัวของเศรษฐกิจภายในประเทศ อย่างไรก็ดี ยังมีปัจจัยเสี่ยงในการทาธุรกรรมในธุรกิจอสังหาริมทรัพย์ จากการขึ้นดอกเบี้ยนโยบาย การชะลอตัวของเศรษฐกิจโลก รวมทั้งปัญหาอสังหาริมทรัพย์ในจีน

เครื่องชี้เศรษฐกิจต่างประเทศ

สหรัฐฯ

ยอดสร้างบ้านใหม่ เดือน ต.ค. 65 หดตัวร้อยละ -4.2 จากเดือนก่อนหน้า (ขจัดผลทางฤดูกาลแล้ว) หดตัวเพิ่มขึ้นจากเดือนก่อนหน้าที่ร้อยละ -1.3จากช่วงเดียวกันของปีก่อน เป็นผลจากยอดสร้างบ้านเดี่ยวและคอนโดมิเนียมที่ปรับตัวลดลง

ยอดใบอนุญาตสร้างบ้านใหม่ เดือน ต.ค. 65ที่หดตัวร้อยละ -3.3จากเดือนก่อนหน้า (ขจัดผลทางฤดูกาลแล้ว) หลังจากเดือนก่อนหน้าขยายตัวที่ร้อยละ 1.4จากช่วงเดียวกันของปีก่อน เป็นผลจากยอดใบอนุญาตก่อสร้างบ้านเดี่ยว และคอนโดมิเนียมที่ปรับตัวลดลง

ยอดขายบ้านใหม่ เดือน ต.ค. 65 หดตัวร้อยละ -5.8 จากเดือนก่อนหน้าหดตัวชะลอลงจากเดือนก่อนหน้าที่อยู่ที่ร้อยละ -19.7โดยมียอดขายบ้านใหม่ที่ปรับตัวเพิ่มขึ้นในภาคใต้ และภาคตะวันออกเฉียงเหนือ

จานวนผู้ขอรับสวัสดิการว่างงานครั้งแรกรายสัปดาห์ (13 1919พ.ย. 6565) อยู่ที่ระดับ 2.40แสนรายปรับตัวเพิ่มขึ้นจากสัปดาห์ก่อนหน้าที่ระดับ 2.23แสนราย ซึ่งเป็นระดับที่สูงที่สุดนับตั้งแต่ช่วงเดือน ส.ค. 65คาดว่า ได้รับแรงหนุนจากการปลดพนักกงานออกของบริษัทในกลุ่มเทคโนโลยี สอดคล้องกับจานวนผู้ยื่นขอรับสวัสดิการว่างงานระยะเฉลี่ย 4สัปดาห์

4 week moving average) ซึ่งขจัดความผันผวนรายสัปดาห์แล้ว ปรับตัวเพิ่มขึ้นจากสัปดาห์ก่อนมาอยู่ที่ 2.27แสนราย

ญี่ปุ่น

ดัชนีฯ PMIPMIภาคการผลิตและภาคบริการ (Composite Jibun PMI) เดือน พ.ย. 65 อยู่ที่ระดับ 48.9 จุด ต่าสุดในรอบ 9 เดือน จากการลดลงของกิจกรรมภาคเอกชนโดยเฉพาะในส่วนของการผลิตในโรงงาน จากแรงกดดันของเงินเฟ้อ ขณะที่คาสั่งซื้อจากต่างประเทศก็ลดลงอย่างมีนัยสาคัญ

ยูโรโซน

ดัชนีฯ PMIPMIภาคอุตสาหกรรม เดือน พ.ย. 65 อยู่ที่ระดับ 47.3 จุด เพิ่มขึ้นจากเดือนก่อนหน้าที่อยู่ที่ระดับ 46.4จุด

ดัชนีฯ PMIPMIภาคบริการ เดือน พ.ย. 65 คงที่จากเดือนก่อนหน้าที่อยู่ที่ระดับ 48.6จุด

ดัชนีความเชื่อมั่นผู้บริโภค เดือน พ.ย. 65 อยู่ที่ระดับ -23.9จุด เพิ่มขึ้นจากเดือนก่อนหน้าที่อยู่ที่ระดับ -27.5 จุด

ฮ่องกง

อัตราเงินเฟ้อ เดือน ต.ค. 65 อยู่ที่ร้อยละ 1.8 จากช่วงเดียวกันของปีก่อนลดลงจากเดือนก่อนหน้าที่อยู่ที่ร้อยละ 4.4จากช่วงเดียวกันปีก่อน โดยมีสาเหตุจากการชะลอตัวลงของอัตราเงินเฟ้อที่อยู่อาศัย รวมถึงค่าใช้จ่ายในหมวดอาหารลดลง

เครื่องชี้เศรษฐกิจต่างประเทศ

มาเลเซีย

อัตราเงินเฟ้อ เดือน ต.ค. 6565อยู่ที่ร้อยละ 4.04.0จากช่วงเดียวกันของปีก่อน ลดลงจากเดือนก่อนหน้าที่อยู่ที่ร้อยละ 4.5 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน

ออสเตรเลีย

ดัชนีฯ PMIPMIภาคอุตสาหกรรม (เบื้องต้น) เดือน พ.ย. 65 อยู่ที่ระดับ 51.5 จุด ลดลงจากเดือนก่อนหน้าที่อยู่ที่ระดับ 52.7จุด ภาคการผลิตยังคงได้รับแรงหนุนจากคาสั่งซื้อใหม่ที่สูงขึ้น

ดัชนีฯ PMI ภาคบริการ (เบื้องต้น) เดือน พ.ย. 65 อยู่ที่ระดับ 47.2 จุด ลดลงจากเดือนก่อนหน้าที่อยู่ที่ระดับ 49.3 จุด ซึ่งเป็นระดับที่ต่าที่สุดนับตั้งแต่เดือน ม.ค. 65 และเป็นเดือนที่ 2 ติดต่อกันที่ภาคบริการหดตัว โดยกิจกรรมทางธุรกิจและปริมาณคาสั่งซื้อใหม่ลดลงต่อเนื่องท่ามกลางอุปสงค์ในประเทศและต่างประเทศที่อ่อนแอ

ธนาคารกลางเกาหลีใต้มีมติในการประชุมประชุมเดือน พ.ย. 65 ปรับขึ้นอัตราดอกเบี้ยนโยบายจากร้อยละ 3.0 ต่อปี สู่ร้อยละ 3.25 ต่อปีซึ่งเป็นระดับสูงสุดนับตั้งแต่เดือน ก.ค. 55 ขณะเดียวกัน ที่ประชุมธนาคารกลางเกาหลีใต้คงตัวเลขคาดการณ์เศรษฐกิจ ปี 65 ที่ร้อยละ 2.6 แต่ปรับลดคาดการณ์การขยายตัวของเศรษฐกิจ ปี 66 จากร้อยละ 2.1 เป็นร้อยละ 1.7

ดัชนีความเชื่อมั่นผู้บริโภค เดือน พ.ย. 65 อยู่ที่ระดับ 86.5 จุด ลดลงจากเดือนก่อนหน้าที่อยู่ที่ระดับ 88.8จุด จากความเชื่อมั่นที่ลดลงในส่วนของรายได้ครัวเรือนและสภาพเศรษฐกิจในประเทศ เป็นสาคัญ

สิงคโปร์

เศรษฐกิจสิงคโปร์ ไตรมาสที่ 3ปี 65ขยายตัวที่ร้อยละ 4.1จากช่วงเดียวกันของปีก่อน ชะลอลงจากไตรมาสก่อนหน้าที่ขยายตัวที่ร้อยละ 4.5 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน หรือคิดเป็นการขยายตัวที่ร้อยละ 1.1เมื่อเทียบกับไตรมาสก่อนหน้า (หลังขจัดผลทางฤดูกาลแล้ว)

อัตราเงินเฟ้อ เดือน ต.ค. 65 อยู่ที่ร้อยละ 6.7 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน ลดลงจากเดือนก่อนหน้าที่อยู่ที่ร้อยละ 7.5 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน

สหราชอาณาจักร

ดัชนีฯ PMIPMIภาคอตสาหกรรมและบริการ (S&P Composite PMI) เดือน พ.ย. 65 อยู่ที่ระดับ 48.3จุด สะท้อนการลดลงของกิจกรรมทางธุรกิจ และการลดลงของผลผลิตภาคอุตสาหกรรม เป็นสาคัญ

เครื่องชี้เศรษฐกิจต่างประเทศ

ไต้หวัน

อัตราการว่างงาน เดือน ต.ค. 65 อยู่ที่ร้อยละ 3.64 จากช่วงเดียวกันของปีก่อนคงที่จากเดือนก่อนหน้า และยังคงอยู่ในระดับต่าสุดนับตั้งแต่เดือน ม.ค. 44

ผลผลิตอุตสาหกรรม เดือน ต.ค. 65 หดตัวที่ร้อยละ -3.56 จากช่วงเดียวกันของปีก่อนหดตัวชะลอลงจากเดือนก่อนหน้าที่หดตัวที่ร้อยละ -4.49จากช่วงเดียวกันของปีก่อน หดตัวต่อเนื่องเป็นเดือนที่ 2โดยได้รับผลกระทบจากการผลิตไฟฟ้าและก๊าซที่ลดลงและกิจกรรมภาคการผลิตที่ลดลงในอัตราที่เบาลง

ยอดค้าปลีก เดือน ต.ค. 65 ขยายตัวที่ร้อยละ 2.1 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน ชะลอลงจากเดือนก่อนหน้าที่ขยายตัวที่ร้อยละ 7.8จากช่วงเดียวกันของปีก่อน ซึ่งขยายตัวช้าสุดนับตั้งแต่เดือน ก.พ. 65

เครื่องชี้ตลาดเงิน ตลาดอัตราแลกเปลี่ยน

ดัชนี SETSETปรับตัวลดลงจากสัปดาห์ก่อนสอดคล้องกับตลาดหลักทรัพย์อื่น ๆ ในภูมิภาคที่ปรับตัวลดลงจากสัปดาห์ก่อน เช่น Hang Seng ฮ่องกง ShanghaiShanghai(จีน) และ STISTI(สิงคโปร์ เป็นต้น เมื่อวันที่ 2424พ.ย. 655ดัชนีปิดที่ระดับ 1,624.961,624.96จุด ด้วยมูลค่าซื้อขายเฉลี่ยระหว่างวันที่ 21 2424พ.ย. 6565อยู่ที่ 55,089.6555,089.65ล้านบาทต่อวัน โดยนักลงทุนทั่วไปในประเทศ นักลงทุนสถาบันในประเทศ และนักลงทุนบัญชีบริษัทหลักทรัพย์เป็นผู้ขายสุทธิ ขณะที่นักลงทุนต่างชาติเป็นผู้ซื้อสุทธิ ทั้งนี้ ระหว่างวันที่ 21 2424พ.ย. 6565นักลงทุนต่างชาติ ซื้อหลักทรัพย์สุทธิ 5,585.28 ล้านบาท

อัตราผลตอบแทนพันธบัตรรัฐบาลอายุ 11เดือน ถึง 33ปี ปรับตัวเพิ่มขึ้นในช่วง 1 15 bpsbpsขณะที่อัตราผลตอบแทนพันธบัตรรัฐบาลอายุ 4 2020ปี ส่วนใหญ่ปรับตัวลดลงในช่วง -11ถึง -10 bpsbpsโดยในสัปดาห์นี้นักลงทุนมีการประมูลพันธบัตรรัฐบาลอายุ 1111ปี ซึ่งนักลงทุนสนใจ 1.9

เท่าของวงเงินประมูล ทั้งนี้ ระหว่างวันที่ 21 2424พ.ย. 6565กระแสเงินทุนของนักลงทุนต่างชาติ ไหลออกจากตลาดพันธบัตรสุทธิ 13,321.13

ล้านบาทและหากนับจากต้นปีจนถึงวันที่ 2424พ.ย. 6565กระแสเงินทุนของนักลงทุนต่างชาติ ไหลเข้าในตลาดพันธบัตรสุทธิ 3,481.233,481.23ล้านบาท

เงินบาทอ่อนค่าลงจากสัปดาห์ก่อน โดย ณ วันที่ 2424พ.ย. 655เงินบาทปิดที่ 36.0036.00บาทต่อดอลลาร์สหรัฐ อ่อนค่าลงร้อยละ 0.420.42จากสัปดาห์ก่อนหน้า สอดคล้องกับเงินสกุลอื่น ๆ ในภูมิภาค อาทิ เงินสกุลวอน และหยวน ที่ปรับตัวอ่อนค่าลงจากสัปดาห์ก่อนหน้า เมื่อเทียบกับดอลลาร์ ขณะที่เงินสกุลเยน ยูโร ริงกิต เปโซ ดอลลาร์ไต้หวันใหม่ และดอลลาร์สิงคโปร์ ที่ปรับตัวแข็งค่าขึ้นจากสัปดาห์ก่อนหน้า เมื่อเทียบกับดอลลาร์ ทั้งนี้ เงินบาทอ่อนค่าน้อยกว่าเงินสกุลอื่น ๆ ในภูมิภาค ส่งผลให้ดัชนีค่าเงินบาท (NEERNEER) อ่อนค่าลงร้อยละ 0.480.48จากสัปดาห์ก่อน

ที่มา: สำนักงานเศรษฐกิจการคลัง กระทรวงการคลัง


เว็บไซต์นี้มีการใช้งานคุกกี้ ศึกษารายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และ ข้อตกลงการใช้บริการ รับทราบ