รายงานภาวะเศรษฐกิจรายสัปดาห์ (Weekly) ณ 6 ม.ค. 2566

ข่าวเศรษฐกิจ Monday January 9, 2023 13:42 —กระทรวงการคลัง

เศรษฐกิจไทย

อัตราเงินเฟ้อทั่วไปในเดือน ธ.ค. 65 ขยายตัวที่ร้อยละ 5.89 ต่อปี ขณะที่อัตราเงินเฟ้อ

พื้นฐานขยายตัวที่ร้อยละ 3.23 ต่อปี

? ดัชนีราคาวัสดุก่อสร้างในเดือน ธ.ค. 65 ขยายตัวที่ร้อยละ 3.6 เมื่อเทียบกับช่วง

เดียวกันของปีก่อน

? ปริมาณรถจักรยานยนต์จดทะเบียนใหม่ในเดือน ธ.ค. 65 หดตัวที่ร้อยละ -0.2 เมื่อ

เทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน

ภาคการเงิน

? ระดับหนี้ครัวเรือนไทยล่าสุด ณ สิ้นสุดไตรมาส 3 ปี 2565 มีสัดส่าวนร้อยละ 86.8

ต่อ GDP หรือคิดเป็นประมาณ 14.9 ล้านล้านบาท

? ดุลบัญชีเดินสะพัดเดือน พ.ย. 65 ขาดดุลที่ -445.22 ล้านดอลลาร์สหรัฐ

? สินเชื่อในสถาบันการเงินเดือน พ.ย. 65 ขยายตัวที่ร้อยละ 2.9 จากช่วงเดียวกันปีก่อน

ขณะที่เงินฝากในสถาบันการเงิน ขยายตัวที่ร้อยละ 5.4 จากช่วงเดียวกันปีก่อน

เศรษฐกิจต่างประเทศ

? GDP สิงคโปร์ ไตรมาสที่ 4 ปี 65 ขยายตัวร้อยละ 2.2 จากช่วงเดียวกันปีก่อน

เครื่องชี้เศรษฐกิจไทย อัตราเงินเฟ้อทั่วไปในเดือน ธ.ค 65 ขยายตัวที่ร้อยละ 5.8989ต่อปี

อัตราเงินเฟ้อทั่วไปเดือน ธ.ค. 65 สูงขึ้นร้อยละ 5.89 ต่อปี ใกล้เคียงกับที่ สศค. คาดไว้ที่ร้อยละ 5.92 ต่อปี และเมื่อเทียบกับเดือนก่อนหน้า พบว่า ลดลงร้อยละ -0.06ทั้งนี้ หมวดสินค้าหลักที่ส่งกระทบต่อเงินเฟ้อในเดือน ธ.ค. 65 ได้แก่ 1) หมวดอาหารสด (ขยายตัวร้อยละ 8.91) 2) หมวดอาหารสาเร็จรูป (ขยายตัวร้อยละ 9.66) 3) หมวดยานพาหนะและน้ามันเชื้อเพลิง (ขยายตัวร้อยละ 7.78) และ 4) หมวดไฟฟ้า เชื้อเพลิง น้าประปาและแสงสว่าง (ขยายตัวร้อยละ 13.03) จากการปรับขึ้นแล้วในเดือนก่อนหน้า โดยมีสินค้าสาคัญหลายชนิดราคาต่ากว่าเดือนที่ ผ่านมา อาทิ น้ามันเชื้อเพลิง เนื้อสุกร น้ามันพืช เครื่องรับโทรทัศน์ คอมพิวเตอร์ และค่าธรรมเนียมผ่านทางพิเศษ เป็นต้น และเมื่อหักอาหารสดและพลังงานออกแล้ว อัตราเงินเฟ้อพื้นฐานขยายตัวที่ร้อยละ 3.23 และเฉลี่ยทั้งปี 65 อัตราเงินเฟ้อทั่วไปสูงขึ้นร้อยละ 6.08 (AoA อัตราเงินเฟ้อพื้นฐานสูงขึ้นร้อยละ 2.51 (AoA

ดัชนีราคาวัสดุก่อสร้างในเดือน ธ.ค. 65 ขยายตัวที่ร้อยละ 3.6 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน เมื่อพิจารณาไตรมาสที่ 4 ปี 65 พบว่า ขยายตัวร้อยละ 3.5 เมื่อเทียบกับไตรมาสเดียวกันของปีก่อน

ดัชนีราคาวัสดุก่อสร้างในเดือน ธ.ค. 65 สูงขึ้นเมื่อเทียบปีที่ผ่านมา เป็นผลมาจากดัชนีราคาที่สูงขึ้นในทุกหมวด โดยเฉพาะ หนวดไม้และผลิตภัณฑ์ไม้ หมวดซีเมนต์ และหมวดกระเบื้อง ที่ขยายตัวร้อยละ 8.1 ร้อยละ 5.2 และ ร้อยละ 3.4 ตามลาดับ รวมทั้งเมื่อพิจารณาไตรมาสที่ 4 ของปี 65 พบว่าดัชนีราคาวัสดุก่อสร้างปรับตัวสูงขึ้นจากไตรมาสเดียวกันของปีก่อน และดัชนีราคาวัสดุก่อสร้างทั้งปี 65สูงขึ้นร้อยละ 5.8ซึ่งเป็นผลจากต้นทุนการผลิตที่ปรับตัวสูงขึ้นตามราคาวัตถุดิบและราคาพลังงานที่สูงกว่าปีที่ผ่านมา

เครื่องชี้เศรษฐกิจไทย

ปริมาณรถจักรยานยนต์จดทะเบียนใหม่ในเดือน ธ.ค. 65 หดตัวที่ร้อยละ -0.2 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน และเมื่อเทียบกับเดือนก่อนหน้าหลังขจัดผลทางฤดูกาล หดตัวที่ร้อยละ -2.3

ส่วนหนึ่งเป็นผลจากสถานการณ์น้าท่วมในหลายพื้นที่ โดยเฉพาะพื้นที่ในภาคใต้ที่มียอดรถจดทะเบียนรถจักรยานยนต์ลดลงเป็นสาคัญ ขณะที่สถานการณ์ค่าครองชีพที่ยังอยู่ในระดับสูงยังคงเป็นปัจจัยที่กดดันกาลังซื้อของผู้บริโภค อย่างไรก็ดี การปรับตัวดีขึ้นอย่างต่อเนื่องของภาคเกษตรกรรมมีส่วนช่วยสนับสนุนต่อยอดรถจดทะเบียนรถจักรยานยนต์เป็นอย่างมาก ส่งผลให้ยอดรถจักรยานยนต์จดทะเบียนใหม่ในไตรมาสที่ 4 ปี 65 และทั้งปี 65 สามารถขยายตัวได้ที่ร้อยละ 6.3 และ 12.0 ต่อปี ตามลาดับ เครื่องชี้ภาคการเงิน

ระดับหนี้ครัวเรือนไทยล่าสุด ณ สิ้นสุดไตรมาส 33ปี 25652565มีสัดส่าวนร้อยละ 86.886.8ต่อ GDPGDPหรือคิดเป็นประมาณ14.914.9ล้านล้านบาท

โดยหนี้ครัวเรือนไทยไตรมาส 33ปี 25652565อยู่ที่ระดับร้อยละ 86.886.8ต่อ GDPGDPลดลงจากไตรมาสก่อนหน้าที่อยู่ที่ร้อยละ88.188.1ต่อ GDPGDPและลดลงจากช่วงเดียวกันของปีก่อนที่อยู่ที่ร้อยละ 89.6 ต่อ GDPGDPทั้งนี้ การลดลงของสัดส่วนหนี้ครัวเรือนต่อ GDPGDPในไตรมาส 33ปี 25652565ส่วนหนึ่งเป็นผลจาก GDPGDPณ ราคาปัจจุบัน ณ ไตรมาส ที่33ปี 6565ที่ขยายตัวร้อยละ 4.54.5จากช่วงเดียวกันของปีก่อน โดยประเภทหนี้ที่ยังคงขยายตัวมาก ได้แก่ หนี้บัตรเครดิต หนี้การศึกษา และหนี้เพื่ออุปโภคบริโภคส่วนบุคคล เครื่องชี้ภาคการเงิน

ดุลบัญชีเดินสะพัดเดือน พ.ย. 655ขาดดุลที่ 445.22445.22ล้านดอลลาร์สหรัฐหลังเกินดุลในเดือนก่อนหน้าที่ 562.49562.49ล้านดอลลาร์สหรัฐ

โดยเดือน พ.ย. 65 ดุลบริการ รายได้ และเงินโอน ขาดดุลที่ 986.96986.96ล้านดอลลาร์สหรัฐ ขาดดุลเพิ่มขึ้นจากเดือนก่อนหน้า ขณะที่ดุลการค้า (ตามระบบ BOP) เกินดุลลดลงจากเดือนก่อนหน้ามาอยู่ที่ 541.74541.74ล้านดอลลาร์สหรัฐ สาหรับดุลบัญชีเดินสะพัดในช่วง 1111เดือนแรกของปี 655ขาดดุลรวม -18,044.4318,044.43ล้านดอลลาร์สหรัฐ สินเชื่อในสถาบันการเงินเดือน พ.ย. 655มียอดคงค้าง 20.3120.31ล้านล้านบาท คิดเป็นการขยายตัวที่ร้อยละ 2.92.9จากช่วงเดียวกันปีก่อน

เงินฝากในสถาบันการเงินเดือน พ.ย. 655มียอดคงค้าง 24.5624.56ล้านล้านบาท คิดเป็นการขยายตัวที่ร้อยละ 5.45.4จากช่วงเดียวกันปีก่อน

หรือขยายตัวเร่งขึ้นที่ร้อยละ 0.11จากเดือนก่อนหน้า (หลังขจัดผลทางฤดูกาล) เมื่อแยกประเภทการขอสินเชื่อพบว่า สินเชื่อเพื่อธุรกิจและสินเชื่อเพื่อการอุปโภคบริโภคขยายตัวชะลอลงที่ร้อยละ 2.52.5และ 3.23.2จากช่วงเดียวกันปีก่อน ตามลาดับ

หรือหากขจัดผลทางฤดูกาลแล้วขยายตัวเร่งขึ้นที่ร้อยละ 0.99จากเดือนก่อนหน้า โดยเงินฝากจากธนาคารพาณิชย์ และเงินฝากสถาบันการเงินเฉพาะกิจขยายตัวเร่งขึ้นจากเดือนก่อนหน้าที่ร้อยละ 4.74.7และ 5.55.5จากช่วงเดียวกันปีก่อน ตามลาดับ เครื่องชี้เศรษฐกิจต่างประเทศ

ดัชนีฯ PMIPMIภาคอุตสาหกรรม (ISM) เดือน ธ.ค. 65 อยู่ที่ระดับ 48.4 จุด ลดลงจากเดือนก่อนหน้าที่ 49.0 จุด และใกล้เคียงกับคาดการณ์ตลาดที่ 48.5 จุด โดยดัชนีปรับลดลงต่ากว่าระดับ 50 จุดติดต่อกันเป็นเดือนที่ 2 บ่งชี้ถึงการหดตัวของภาคอุตสาหกรรมสหรัฐฯ ซึ่งเป็นผลจากดัชนีฯ ที่ปรับตัวลงในหมวดคาสั่งซื้อใหม่ คาสั่งซื้อใหม่เพื่อการส่งออก และ การผลิต เป็นสาคัญ

มูลค่าการส่งออกสินค้า เดือน ธ.ค. 65 ขยายตัวที่ร้อยละ 9.5 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน ขยายตัวชะลอลงจากเดือนก่อนหน้าที่ร้อยละ 11.0จากช่วงเดียวกันของปีก่อน และเป็น การขยายตัวในระดับที่ต่าที่สุดนับตั้งแต่เดือน มี.ค. 65

มูลค่าการนาเข้าสินค้า เดือน ธ.ค. 65 หดตัวที่ร้อยละ -1.0 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน หลังจากขยายตัวในเดือนก่อนหน้าที่ร้อยละ 12.7จากช่วงเดียวกันของปีก่อน โดยเป็น การกลับมาหดตัวเป็นครั้งแรกนับตั้งแต่เดือน ส.ค. 63

ดุลการค้า เดือน ธ.ค. 65 ขาดดุลที่ -86.6 ล้านดอลลาร์สหรัฐ ขาดดุลชะลอลงจากเดือนก่อนที่ -102.9ล้านดอลลาร์สหรัฐ

จานวนผู้ขอรับสวัสดิการว่างงานครั้งแรกรายสัปดาห์ (25-31 ธ.ค. 65) อยู่ที่ 2.04 แสนราย ลดลงจากสัปดาห์ก่อนหน้าที่ 2.23 แสนราย ต่ากว่าที่นักวิเคราะห์คาดการณ์ที่ 2.25 แสนราย และเป็นระดับที่ต่าที่สุดนับตั้งแต่เดือน ก.ย. 65 สอดคล้องกับจานวนผู้ขอรับสวัสดิการว่างงานเฉลี่ย 4 สัปดาห์ (four week moving average) ซึ่งขจัดความผันผวนรายสัปดาห์แล้ว ลดลงจากสัปดาห์ก่อนหน้ามาอยู่ที่ 2.14 แสนราย

เกาหลีใต้

ดัชนีผู้จัดการฝ่ายจัดซื้อภาคการผลิต (S&P Global Manufacturing PMI) เดือน ธ.ค. 65

อยู่ที่ระดับ 48.2 จุด ลดลงต่อเนื่องเป็นเดือนที่ 6 สะท้อนความถดถอยของภาคการผลิต

ญี่ปุ่น

ดัชนีผู้จัดการฝ่ายจัดซื้อภาคการผลิต (Jibun Manufacturing PMI) เดือน ธ.ค. 6565อยู่ที่ระดับ 48.948.9จุด ลดลงต่อเนื่องเป็นเดือนที่ 22ท่ามกลางอุปสงค์ที่อ่อนแอลงทั้งในและต่างประเทศ

ดัชนีผู้จัดการฝ่ายจัดซื้อภาคบริการ (Jibun Service PMI) เดือน ธ.ค. 6565อยู่ที่ระดับ 51.151.1จุด สะท้อนการเติบโตของภาคบริการต่อเนื่องเป็นเดือนที่ 44จากการเปิดรับนักท่องเที่ยวและการผ่อนคลายมาตรโควิด 19

ดัชนีความเชื่อมั่นผู้บริโภค เดือน ธ.ค. 6565อยู่ที่ระดับ 30.330.3จุด เพิ่มขึ้นจากเดือนก่อนหน้าที่อยู่ที่ 28.6 จุด จากการผ่อนคลายมาตรการโควิด 19 ของรัฐบาล อัตราเงินเฟ้อ เดือน ธ.ค. 65 อยู่ที่ร้อยละ 5.5 จากช่วงเดียวกันปีก่อน เร่งขึ้นจากเดือนก่อนหน้าที่อยู่ที่ร้อยละ 5.4 จากช่วงเดียวกันปีก่อน สูงกว่าที่ตลาดคาดการณ์เอาไว้ที่ร้อยละ 5.4จากช่วงเดียวกันปีก่อน และสูงกว่ากรอบเป้าหมายเงินเฟ้อของอินโดนีเซียที่ตั้งเอาไว้ร้อยละ 2-4

ดัชนีผู้จัดการฝ่ายซื้อ (PMI) ภาคอุตสาหกรรม เดือน ธ.ค. 65 อยู่ที่ระดับ 50.9 จุด จากเดือนก่อนหน้าที่อยู่ที่ระดับ 50.3 จุด โดยอยู่เหนือระดับ 50 จุด สะท้อนถึงภาคอุตสาหกรรมยังคงขยายตัว โดยทั้งผลผลิตและคาสั่งซื้อใหม่ขยายตัวในอัตราที่แข็งแกร่งท่ามกลางการจ้างงานที่ปรับตัวสูงขึ้น

ยูโรโซน

ดัชนีผู้จัดการฝ่ายซื้อ (PMI) ภาคอุตสาหกรรม เดือน ธ.ค. 65 อยู่ที่ระดับ 47.8 จุด จากเดือนก่อนหน้าที่อยู่ที่ระดับ 47.1 จุด แต่ยังคงอยู่ต่ากว่าระดับ 50จุด สะท้อนถึงภาคอุตสาหกรรมยังคงหดตัว ขณะที่แรงกดดันด้านเงินเฟ้อผ่อนคลายลงและห่วงโซ่อุปทานยังคงมีเสถียรภาพ

ดัชนีผู้จัดการฝ่ายซื้อ (PMI) ภาคบริการ ณ เดือน ธ.ค. 65 อยู่ที่ระดับ 49.8 จุด เพิ่มขึ้นจากเดือนก่อนหน้าที่ 48.5 จุด และสูงกว่าที่ตลาดคาดการณ์ไว้ที่ 49.1จุด โดยดัชนีฯ ปรับตัวเพิ่มขึ้นเป็นครั้งแรกภายหลังจากที่ลดลงต่อเนื่องนับตั้งแต่เดือน พ.ค. 65เป็นต้นมา โดยมีการปรับดีขึ้นค่อนข้างมากในสาขาบริการที่เกี่ยวกับการท่องเที่ยวและนันทนาการ อย่างไรก็ดี ดัชนียังคงอยู่ต่ากว่าระดับ 50.0จุด บ่งชี้ว่า ภาคบริการของยูโรโซนยังคงหดตัว

สิงคโปร์

GDP

GDPสิงคโปร์ ไตรมาสที่ 4 ปี 65 ขยายตัวร้อยละ 2.2 จากช่วงเดียวกันปีก่อน ชะลอลงจากไตรมาสก่อนหน้าที่ขยายตัวร้อยละ 4.2จากช่วงเดียวกันปีก่อน และสูงกว่าที่ตลาดคาดการณ์เอาไว้ร้อยละ 2.1จากช่วงเดียวกันปีก่อน

ยอดค้าปลีก เดือน พ.ย. 65 ขยายตัวร้อยละ 6.2 จากช่วงเดียวกันปีก่อน จากเดือนก่อนหน้าที่ร้อยละ 10.3จากช่วงเดียวกันปีก่อน

เวียดนาม

ดัชนีผู้จัดการฝ่ายซื้อ (PMI) ภาคอุตสาหกรรม เดือน ธ.ค. 65 อยู่ที่ระดับ 46.4 จุด จากเดือนก่อนหน้าที่อยู่ที่ระดับ 47.4 จุด โดยอยู่ต่ากว่าระดับ 50 จุด สะท้อนถึงภาคอุตสาหกรรมยังคงหดตัว โดยคาสั่งซื้อใหม่ลดลงในอัตราที่เร็วขึ้น ท่ามกลางอุปสงค์ทั้งภายในประเทศและต่างประเทศที่ลดลง

เครื่องชี้เศรษฐกิจต่างประเทศ

ดัชนีผู้จัดการฝ่ายซื้อ (PMI) ภาคอุตสาหกรรม เดือน ธ.ค. 65 อยู่ที่ระดับ 53.1 จุด จากเดือนก่อนหน้าที่อยู่ที่ระดับ 52.7 จุด โดยอยู่สูงกว่าระดับ 50จุด สะท้อนถึงภาคอุตสาหกรรมยังขยายตัว บ่งชี้ว่า ภาคการผลิตของประเทศปรับดีขึ้นอย่างแข็งแกร่ง โดยทั้งผลผลิตและคาสั่งซื้อใหม่ขยายตัวต่อเนื่องเป็นเดือนที่ 4ติดต่อกัน

อัตราเงินเฟ้อ เดือน ธ.ค. 65 อยู่ที่ร้อยละ 8.1 จากช่วงเดียวกันปีก่อน เร่งขึ้นจากเดือนก่อนหน้าที่อยู่ที่ร้อยละ 8.0จากช่วงเดียวกันปีก่อน และต่ากว่าที่ตลาดคาดการณ์ร้อยละ 8.2จากช่วงเดียวกันปีก่อน สูงที่สุดนับตั้งแต่เดือน พ.ย. 51และอยู่เหนือกรอบเป้าหมายเงินเฟ้อที่กาหนดเอาไว้ที่ร้อยละ 2-4

อัตราว่างงาน เดือน พ.ย. 65 อยู่ที่ร้อยละ 4.2 ของกาลังแรงงานรวม ปรับลดลงจากเดือนก่อนหน้าที่อยู่ที่ร้อยละ 4.5ของกาลังแรงงานรวม

ผลผลิตภาคอุตสาหกรรม เดือน พ.ย. 65 ขยายตัวร้อยละ 12.7 จากช่วงเดียวกันปีก่อน จากเดือนก่อนหน้าที่ขยายตัวร้อยละ 13.0จากช่วงเดียวกันปีก่อน

มาเลเซีย

ดัชนีผู้จัดการฝ่ายซื้อ (PMI) ภาคอุตสาหกรรม เดือน ธ.ค. 65 อยู่ที่ระดับ 47.8 จุด จากเดือนก่อนหน้าที่อยู่ที่ระดับ 47.9 จุด สะท้อนถึงภาคอุตสาหกรรมที่ยังคงหดตัว

เครื่องชี้เศรษฐกิจต่างประเทศ

: CEIC Tradingeconomicsสหราชอาณาจักร

อินเดีย

ดัชนีผู้จัดการฝ่ายจัดซื้อภาคการผลิต (S&P Global Manufacturing PMI) เดือน ธ.ค. 65 อยู่ที่ระดับ 45.3 จุด ซึ่งเป็นระดับต่าสุดในรอบ 31เดือน

ดัชนีผู้จัดการฝ่ายจัดซื้อภาคบริการ (S&P Global Service PMI) เดือน ธ.ค. 65 อยู่ที่ระดับ 49.9 จุด เพิ่มขึ้นต่อเนื่องเป็นเดือนที่ 2สะท้อนกิจกรรมภาคบริการที่เริ่มมีเสถียรภาพขึ้น

ดัชนีผู้จัดการฝ่ายจัดซื้อภาคการผลิต (S&P Global Manufacturing PMI) เดือน ธ.ค. 65 อยู่ที่ระดับ 57.8 จุด ซึ่งเป็นระดับสูงสุดนับจาก ต.ค.63และเป็นการขยายตัวต่อเนื่องเป็นเดือนที่ 18

ดัชนีผู้จัดการฝ่ายจัดซื้อภาคบริการ (S&P Global Service PMI) เดือน ธ.ค. 65 อยู่ที่ระดับ 58.5 จุด เพิ่มขึ้นต่อเนื่องเป็นเดือนที่ 4สะท้อนกิจกรรมภาคบริการที่ขยายตัวต่อเนื่อง

ดัชนีฯ PMI ภาคอุตสาหกรรม (Caixin) เดือน ธ.ค. 65 อยู่ที่ระดับ 49.0 จุด ลดลงจากเดือนก่อนหน้าที่อยู่ที่ระดับ 49.4จุด

ดัชนีฯ PMI ภาคบริการ (Caixin) เดือน ธ.ค. 65 อยู่ที่ระดับ 48.0 จุด เพิ่มขึ้นจากเดือนก่อนหน้าที่อยู่ที่ระดับ 46.7 จุด

จีน

เครื่องชี้เศรษฐกิจต่างประเทศ

: CEIC Tradingeconomicsฮ่องกง

ยอดค้าปลีก เดือน พ.ย. 65 หดตัวที่ร้อยละ -5.3 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน ชะลอลงจากเดือนก่อนหน้าที่ขยายตัวที่ร้อยละ 2.5จากช่วงเดียวกันของปีก่อน ซึ่งเป็นระดับที่ต่าที่สุดนับตั้งแต่เดือน มี.ค. 65

เครื่องชี้ตลาดเงิน ตลาดอัตราแลกเปลี่ยน

ดัชนี SETSETปรับตัวเพิ่มขึ้นจากสัปดาห์ก่อนสอดคล้องกับตลาดหลักทรัพย์อื่น ๆ ในภูมิภาคที่ปรับตัวเพิ่มขึ้นจากสัปดาห์ก่อน เช่น PSEiPSEi(ฟิลิปปินส์) Hang SengSeng(ฮ่องกง) ShanghaiShanghai(จีน) และ TWSETWSE(ไต้หวัน เป็นต้น เมื่อวันที่ 55ม.ค. 666ดัชนีปิดที่ระดับ 1,663.861,663.86จุด ด้วยมูลค่าซื้อขายเฉลี่ยระหว่างวันที่3 55ม.ค. 6666อยู่ที่ 75,550.5175,550.51ล้านบาทต่อวัน โดยนักลงทุนสถาบันในประเทศ และนักลงทุนบัญชีบริษัทหลักทรัพย์เป็นผู้ขายสุทธิ ขณะที่นักลงทุนทั่วไปในประเทศ และนักลงทุนต่างชาติเป็นผู้ซื้อสุทธิ ทั้งนี้ ระหว่างวันที่ 3 55ม.ค. 6666นักลงทุนต่างชาติ ซื้อหลักทรัพย์สุทธิ 2,840.65 ล้านบาท

อัตราผลตอบแทนพันธบัตรรัฐบาลอายุ 11เดือน ถึง 2020ปี ปรับตัวลดลงในช่วง -11ถึง -9 bpsbpsโดยในสัปดาห์นี้นักลงทุนไม่มีการประมูลพันธบัตรรัฐบาล ทั้งนี้ ระหว่างวันที่ 3 55ม.ค. 6666กระแสเงินทุนของนักลงทุนต่างชาติ ไหลเข้าในตลาดพันธบัตรสุทธิ 37,405.1337,405.13ล้านบาทและหากนับจากต้นปีจนถึงวันที่ 55ม.ค. 6666กระแสเงินทุนของนักลงทุนต่งชาติ ไหลเข้าในตลาดพันธบัตรสุทธิ 37,405.1337,405.13ล้านบาท

เงินบาทแข็งค่าขึ้นจากสัปดาห์ก่อน โดย ณ วันที่ 55ม.ค. 655เงินบาทปิดที่ 33.8833.88บาทต่อดอลลาร์สหรัฐ แข็งค่าขึ้นร้อยละ 1.921.92จากสัปดาห์ก่อนหน้า สอดคล้องกับเงินสกุลอื่น ๆ ในภูมิภาค อาทิ เงินสกุลริงกิต เปโซ ดอลลาร์สิงคโปร์ และหยวน ที่ปรับตัวแข็งค่าขึ้นจากสัปดาห์ก่อนหน้า เมื่อเทียบกับดอลลาร์ ขณะที่เงินสกุลเยน ยูโร วอน และดอลลาร์ไต้หวันใหม่ ที่ปรับตัวอ่อนค่าลงจากสัปดาห์ก่อนหน้า เมื่อเทียบกับดอลลาร์ ทั้งนี้ เงินบาทแข็งค่ามากกว่าเงินสกุลอื่น ๆ ในภูมิภาค ส่งผลให้ดัชนีค่าเงินบาท (NEERNEER) แข็งค่าขึ้นร้อยละ 1.921.92จากสัปดาห์ก่อน

ที่มา: สำนักงานเศรษฐกิจการคลัง กระทรวงการคลัง


เว็บไซต์นี้มีการใช้งานคุกกี้ ศึกษารายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และ ข้อตกลงการใช้บริการ รับทราบ