รายงานภาวะเศรษฐกิจรายสัปดาห์ (Weekly) ณ 29 มี.ค. 67

ข่าวเศรษฐกิจ Thursday April 4, 2024 13:23 —กระทรวงการคลัง

เศรษฐกิจไทย

Macro Weekly Review

Last updated 29 Mar 2024

FPO

Executive Summary

1 1

? ดัชนีผลผลิตอุตสาหกรรม (MPI) ในเดือน ก.พ. 67 หดตัวร้อยละ -2.8 ต่อปี โดยหดตัวติดต่อกันเป็นเดือน

ที่ 17 ตามการหดตัวของหมวดการผลิตสินค้าสาคัญ อาทิ คอมพิวเตอร์และส่วนประกอบ ยานยนต์ และเหล็ก

ตามลาดับ

? ปริมาณการจาหน่ายเหล็กและผลิตภัณฑ์เหล็กรวมภายในประเทศในเดือน ก .พ. 67 หดตัวร้อยละ -5.8

ต่อปี เนื่องจากการลงทุนการก่อสร้างที่ลดลงจากปัจจัยอัตราดอกเบี้ยที่อยู่ในระดับสูง

? ภาษีมูลค่าเพิ่มที่รัฐบาลจัดเก็บได้ ณ ระดับราคาคงที่ในเดือน ก .พ. 67 ขยายตัวที่ร้อยละ 5.7 ต่อปี โดย

ได้รับปัจจัยสนับสนุนจากการกระตุ้นการบริโภคของภาครัฐผ่านนโยบาย Easy E-Receipt ประกอบกับ

ความเชื่อมั่นผู้บริโภคที่ปรับตัวดีขึ้นต่อเนื่อง

? ภาษีจากการทาธุรกรรมอสังหาริมทรัพย์ในเดือน ก.พ. 67 หดตัวที่ร้อยละ -15.4 ต่อปี โดยมีปัจจัยมาจาก

ความเข้มงวดในการปล่อยสินเชื่อที่อยู่อาศัย อัตราดอกเบี้ยที่อยู่ในระดับสูง และเศรษฐกิจที่ยังคงชะลอตัว

? ปริมาณการจาหน่ายรถยนต์นั่งในเดือน ก.พ. 67 หดตัวร้อยละ -20.1 ต่อปี โดยได้รับปัจจัยกดดันจาก

ความเข้มงวดในการอนุมัติสินเชื่อตามนโยบายการให้กู้ และปัญหาหนี้ครัวเรือนที่อยู่ในระดับสูง

? ปริมาณการจาหน่ายรถยนต์เชิงพาณิชย์ในเดือน ก.พ. 67 หดตัวร้อยละ -29.4 ต่อปี เนื่องจากความ

เข้มงวดของสถาบันการเงินในการปล่อยสินเชื่อจากปัญหาหนี้เสีย รวมทั้งเศรษฐกิจที่ชะลอตัวส่งผลต่อการ

ตัดสินใจซื้อของผู้ประกอบการ

? จานวนนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติที่เดินทางเข้ามาในประเทศไทยเดือน ก.พ. 67 ขยายตัวที่ร้อยละ 58.6 ต่อปี

ซึ่งมีจานวน 3.35 ล้านคน โดยนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติส่วนใหญ่เป็นนักท่องเที่ยวชาวจีน มาเลเซีย เกาหลีใต้

รัสเซีย และอินเดีย เป็นสาคัญ ทั้งนี้ จานวนนักท่องเที่ยวที่ยังขยายตัวได้เป็นผลจากเทศกาลตรุษจีนและช่วง

ปิดภาคเรียนของมาเลเซีย

? มูลค่าการส่งออกในเดือน ก.พ. 67 ขยายตัวร้อยละ 3.6 ต่อปี โดยกลุ่มสินค้าส่งออกที่ขยายตัว อาทิ สินค้า

เกษตรและสินค้าอุตสาหกรรมเกษตร เช่น ข้าว ยางพารา สิ่งปรุงรสอาหาร เป็นต้น และสินค้าอุตสาหกรรม

เช่น เครื่องคอมพิวเตอร์ อุปกรณ์และส่วนประกอบอัญมณีและเครื่องประดับ (ไม่รวมทองคา) เป็นต้น และ

มูลค่าการนาเข้าในเดือน ก.พ. 67 ขยายตัวร้อยละ 3.2 ต่อปี โดยมีปัจจัยสาคัญมาจากกลุ่มสินค้าทุน สินค้า

อุปโภคบริโภค และสินค้าวัตถุดิบและกึ่งสาเร็จรูป ตามลาดับ

? การเบิกจ่ายงบประมาณรวมในเดือน ก.พ. 67 หดตัวร้อยละ -28.6 ต่อปี โดยรายจ่ายปีปัจจุบัน หดตัว

ร้อยละ -29.4 ต่อปี คิดเป็นอัตราเบิกจ่ายสะสมที่ร้อยละ 48.0 และรายจ่ายปีก่อนเบิกจ่ายได้ หดตัวที่

ร้อยละ -13.1 ต่อปี

? รัฐบาลจัดเก็บรายได้สุทธิ (หลังหักจัดสรรให้ อปท.) ในเดือน ก.พ. 67 ขยายตัวร้อยละ 8.7 ต่อปี โดย

ข ย ย ตัว จ ก ภ ษีน้า มัน แ ล ผลิต ภัณฑ์น้า มัน ที่ข ย ย ตัว ร้อ ย ล 1 0 0 . 0 แ ล ภ ษีมูล ค่า เ พิ่ม

ที่ขยายตัวร้อยละ 5.1

? ฐานะการคลังของรัฐบาลตามระบบกระแสเงินสดในเดือน ก.พ.67 ขาดดุลจานวน -33.288 ล้านบาท

เครื่องชี้เศรษฐกิจรายสัปดาห์

Economic Calendar: Mar 2024

2

Monday Tuesday Wednesday Thursday Friday

1

TH

Pub Debt to GDP (Jan 24)

= 62.23%

TH

C/A (Jan 24) = -190.51

mn.USD

TH

Credit Of Depository

Institutions (Jan 24) = 1.5%

TH

Deposit Of Depository

Institutions (Jan 24) = 2.1%

4 5 6 7 8

IT GDP Q4/66 = 0.6% AU GDP Q4/66 = 1.5% TH Gov. Exp (Jan 24) = -6.2%

TH Headline Inf. (Feb 24) TH Gov. Revenue (Jan 24)

= - 0.8% = -0.2%

TH Core Inf. (Feb 24) = 0.4% TH Budget Bal. (Jan 24)

TH CMI (Feb 24) = 1.1% = - 39,579 mn.THB

TH Real Estate Tax (Jan 24)

= - 3.3%

TH Real VAT (Jan 24) = -2.8%

11 12 13 14 15

JP GDP Q4/66 = 1.2% TH CCI (Feb 24) = 63.8 TH TISI (Feb 24) = 90.0

TH Motorcycle Sales (Feb 24)

= -10.0%

18 19 20 21 22

TH Cement Sales (Feb 24) TH API (Feb 24) = -7.5%

= - 7.7% TH Agri Price (Feb 24) = 5.5%

25 26 27 28 29

TH Tourism Arrival (Feb 24) TH Export (Feb 24) =3.6% TH MPI (Feb 24) = -2.8% TH Gov. Exp (Feb 24) = -28.6%

= 58.6% TH Import (Feb 24) =3.2% TH Iron Sales (Feb 24) = 5.8% TH Gov. Revenue (Feb 24)

TH Pass.car Sales (Feb 24) TH C/A (Feb 24) = 8.7%

= -20.1% อ = 229.45 mn.USD TH Budget Bal. (Feb 24)

TH Comm.car Sales (Feb 24) TH Credit Of Depository = -33,288 mn.THB

= -29.4% Institutions (Feb 24) = 1.4% TH Real VAT (Feb 24) = 5.7%

TH Deposit Of Depository TH Real Estate Tax (Feb 24)

Institutions (Feb 24) = 2.0% = - 15.4%

3

เครื่องชี้เศรษฐกิจไทย

ปริมาณการจาหน่ายเหล็กและผลิตภัณฑ์เหล็กรวมภายในประเทศ

เดือน ก.พ. 67 หดตัวที่ร้อยละ -5.8 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของ

ปีก่อน และหดตัวที่ร้อยละ -4.1 เมื่อเทียบกับเดือนก่อนหน้าหลัง

ขจัดผลทางฤดูกาล

ปริมาณการจาหน่ายเหล็กในประเทศเดือน ก.พ. 67 หดตัวร้อยละ -5.8 โดยมีปัจจัยสาคัญมาจากปริมาณ

การจาหน่ายที่ลดลงของเหล็กประเภท อาทิ เหล็กแผ่นเคลือบสังกะสี ลวดเหล็ก และเหล็กเส้นกรม ที่หดตัว

ร้อยละ -21.4 -18.7 และ -18.5 ตามลาดับ เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน เนื่องจากการลงทุนการ

ก่อสร้างที่ลดลงจากปัจจัยอัตราดอกเบี้ยที่อยู่ในระดับสูง จึงส่งผลต่อการจาหน่ายเหล็กภายในประเทศ

ที่มา : สานักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม

ดัชนีผลผลิตอุตสาหกรรม (MPI) เดือน ก.พ. 67 หดตัวที่ร้อยละ -2.8 ต่อปี

Indicators

(%yoy)

2023 2024

Q3 Q4 ทั้งปี Jan Feb YTD

ยอดจาหน่ายเหล็ก 7.8 -3.5 -4.2 1.0 -5.8 -2.4

%mom_sa,

%qoq_sa

16.5 -8.3 - -5.8 -4.1

Manufacturing Production Index : MPI

ปริมาณการจาหน่ายเหล็กและผลิตภัณฑ์เหล็กรวม

โดยดัชนีหดตัวติดต่อกันเป็นเดือนที่ 17 ตามการหดตัวของหมวดการผลิตสินค้าสาคัญ อาทิ คอมพิวเตอร์และส่วนประกอบ ยานยนต์

และเหล็ก ที่หดตัวร้อยละ -18.1, -16.2, และ -11.5 ต่อปี ตามลาดับ* โดยการผลิตในหมวดคอมพิวเตอร์ฯ ยังคงชะลอตัวต่อเนื่อง

ทั้งการผลิตแผ่นวงจร อุปกรณ์กึ่งตัวนาและวงจรรวม และฮาร์ดดิสไดรฟ์ จากอุปสงค์ที่ยังไม่ฟื้นตัวและผลจากสงครามการค้า

ขณะที่การผลิตรถยนต์ยังชะลอตัวต่อเนื่อง จากปัญหาหนี้ครัวเรือนสูง ทาให้การขอสินเชื่อจากสถาบันการเงินทาได้ยากขึ้น และ

การผลิตเหล็กที่ลดลงจากปัญหางบประมาณปี 67 ล่าช้า และการเข้ามาตีตลาดของเหล็กจีน อย่างไรก็ดี การผลิตผลิตภัณฑ์ที่ได้

จากการกลั่นปิโตรเลียมกลับมาขยายตัวจากที่หดตัวในเดือนก่อน หลังการใช้น้ามันเพื่อการขนส่งและการท่องเที่ยวเติบโตต่อเนื่อง

ทั้งน้ามันดีเซลและน้ามันเครื่องบิน (*เรียงตามสัดส่วนใน MPI ในระบบ TSIC 2 หลัก)

Indicators

(%yoy)

2023 2024

Q3 Q4 ทั้งปี Jan Feb YTD

MPI -5.3 -2.9 -3.8 -2.9 -2.8 -2.9

%mom_sa,

%qoq_sa

0.2 -1.3 - 2.6 0.5 -

96.6

80.0

85.0

90.0

95.0

100.0

105.0

110.0

Jan-21

Apr-21

Jul-21

Oct-21

Jan-22

Apr-22

Jul-22

Oct-22

Jan-23

Apr-23

Jul-23

Oct-23

Jan-24

(Index_Sa

Jan21 = 100%)

100.9

70.0

80.0

90.0

100.0

110.0

120.0

130.0

Feb-21

May-21

Aug-21

Nov-21

Feb-22

May-22

Aug-22

Nov-22

Feb-23

May-23

Aug-23

Nov-23

Feb-24

Index_sa

(2020 = 100)

เครื่องชี้เศรษฐกิจไทย

ภาษีมูลค่าเพิ่มที่รัฐบาลจัดเก็บได้ ณ ระดับราคาคงที่ในเดือน ก.พ. 67 ขยายตัวที่ร้อยละ 5.7 ต่อปี

และขยายตัวขึ้นเมื่อเทียบกับเดือนก่อนหน้าหลังขจัดผลทางฤดูกาล ที่ร้อยละ 5.7

หากพิจารณาโดยรายละเอียดจะพบว่า ภาษีมูลค่าเพิ่มที่จัดเก็บจากการใช้จ่ายภายในประเทศ ขยายตัวเร่งขึ้นที่

ร้อยละ 8.5 (%YoY) โดยได้รับปัจจัยสนับสนุนจากการกระตุ้นการบริโภคของภาครัฐผ่านนโยบาย

Easy E-Receipt ประกอบกับความเชื่อมั่นผู้บริโภคที่ปรับตัวดีขึ้นต่อเนื่อง แสดงถึงการบริโภคของประชาชนที่

ยัง ค ง เ ติบ โ ต ไ ด้ดี ขณะ ที่ภ ษีมูล ค่า เ พิ่ม ที่จัด เ ก็บ จ ก ก ร นา เ ข้า ข ย ย ตัว ที่ร้อ ย ล 2 . 4 ( %YoY)

จากสถานการณ์การนาเข้าสินค้าที่ปรับตัวดีขึ้น รวมถึงการปรับตัวเพิ่มขึ้นของราคาน้ามันดิบในช่วงที่ผ่านมา

ส่งผลให้ปริมาณการจัดเก็บภาษีมูลค่าเพิ่มจากการนาเข้าพลิกกลับมาขยายตัวอีกครั้ง

ที่มา : กรมสรรพากร คานวณโดย สศค.

ภาษีจากการทาธุรกรรมอสังหาริมทรัพย์ในเดือน ก.พ. 67 หดตัวที่ร้อยละ -15.4 เมื่อเทียบกับ

ช่วงเดียวกันของปีก่อน และลดลงร้อยละ -8.0 เมื่อเทียบกับเดือนก่อนหน้าหลังขจัดผลทาง

ฤดูกาล

การจัดเก็บภาษีจากการทาธุรกรรมอสังหาริมทรัพย์ในเดือน ก.พ. 67 หดตัวจากช่วงเดือนเดียวกันของปีก่อน

ซึ่งเป็นการหดตัวเป็นเดือนที่ 4 โดยมีปัจจัยมาจากความเข้มงวดในการปล่อยสินเชื่อที่อยู่อาศัย อัตราดอกเบี้ย

ที่อยู่ในระดับสูง และเศรษฐกิจที่ยังมีการชะลอตัว แต่ขณะที่ภาคการท่องเที่ยวยังขยายตัวอย่างต่อเนื่องส่งผลให้

มีการใช้จ่ายเพิ่มขึ้น

4

Indicators

(%yoy)

2023 2024

Q3 Q4 ทั้งปี Jan Feb YTD

ภาษีจากการทา

ธุรกรรม

อสังหาริมทรัพย์

0.4 -17.5 -2.4 -3.3 -15.4 -10.0

%mom_sa,

%qoq_sa

0.6 -14.8 - 53.5 -8.0

Indicators

(%yoy)

2023 2024

Q3 Q4 ทั้งปี Jan Feb YTD

ภาษีมูลค่าเพิ่ม

ณ ระดับราคา

คงที่

-6.4 1.9 -1.7 -2.8 5.7 1.2

%mom_sa,

%qoq_sa

-1.6 3.9 0.5 1.1 5.7

113.2

107.7

103.4

70.0

80.0

90.0

100.0

110.0

120.0

130.0

ม.ค.-22

มี.ค.-22

พ.ค.-22

ก.ค.-22

ก.ย.-22

พ.ย.-22

ม.ค.-23

มี.ค.-23

พ.ค.-23

ก.ค.-23

ก.ย.-23

พ.ย.-23

ม.ค.-24

ภาษีมูลค่าเพิ่มโดยรวม

จัดเก็บในประเทศ

จัดเก็บจากการนาเข้า

2021=100 (SA)

Sources: กองนโยบายการคลัง สศค.

ภาษีมูลค่าเพิ่ม ณ ระดับราคาคงที่ (RealVAT)

SA: ปรับฤดูกาล Seasonally Adjusted

94.0

40.0

60.0

80.0

100.0

120.0

140.0

Feb-22

May-22

Aug-22

Nov-22

Feb-23

May-23

Aug-23

Nov-23

Feb-24

ภาษีจากการทาธุรกรรม

อสงั หารมิ ทรพั ย์

Index_sa

2019=100

เครื่องชี้เศรษฐกิจไทย

ปริมาณการจาหน่ายรถยนต์นั่งในเดือน ก.พ. 67 มีจานวน 19,861 คัน หดตัวลงร้อยละ -20.1

เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน และเมื่อเทียบกับเดือนก่อนหน้าหลังขจัดผลทางฤดูกาล

หดตัวลงที่ร้อยละ -10.7

ปริมาณการจาหน่ายรถยนต์นั่งส่วนบุคคลหดตัวลงเป็นครั้งแรกในรอบ 9 เดือน โดยได้รับปัจจัยกดดันการเข้มงวดใน

การอนุมัติสินเชื่อตามนโยบายการให้กู้แบบรับผิดชอบและปัญหาหนี้ครัวเรือนที่อยู่ในระดับสูง รวมทั้งเศรษฐกิจของ

ประเทศที่เติบโตต่ากว่าระดับศักยภาพและงบประมาณรายจ่ายปี 2567 ที่ล่าช้า ทาให้การใช้จ่ายและการลงทุนของ

ภาครัฐลดลง อย่างไรก็ดี ความเชื่อมั่นผู้บริโภคที่ยังคงปรับตัวดีขึ้นต่อเนื่อง กอปรกับตลาดแรงงานที่ยังคงแข็งแกร่ง

และมาตรการช่วยเหลือค่าครองชีพจากภาครัฐ ยังคงเป็นเป็นปัจจัยสนับสนุนช่วยลดแรงกดดันต่อการบริโภคของ

ประชาชน ส่งผลให้แนวโน้มการบริโภคยังคงอยู่ในทิศทางที่ดี

ที่มา : บริษัท โตโยต้า มอเตอร์ ประเทศไทย จากัด และสภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย (ส.อ.ท.)

ปริมาณการจาหน่ายรถยนต์เชิงพาณิชย์ในเดือน ก.พ. 67 มีจานวน 32,982 คัน หดตัวที่ร้อยละ

-29.4 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันปีก่อน และปริมาณจาหน่ายรถกระบะ 1 ตัน หดตัวร้อยละ -44.0

เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันปีก่อน

ยอดจาหน่ายรถยนต์เชิงพาณิชย์เดือน ก.พ. 67 ลดลงเมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันปีก่อน ซึ่งลดลงติดต่อกันเป็น

เดือนที่ 15 และลดลงจากเดือนก่อนหน้าหลังขจัดผลทางฤดูกาลที่ร้อยละ -4.3 เนื่องจากอัตราดอกเบี้ยที่ยังคง

อยู่ในระดับสูง และความเข้มงวดของสถาบันการเงินในการปล่อยสินเชื่อจากปัญหาหนี้เสีย รวมทั้งเศรษฐกิจที่

ชะลอตัวส่งผลต่อการตัดสินใจซื้อของผู้ประกอบการ

5

Indicators

(%yoy)

2023 2024

Q3 Q4 ทั้งปี Jan Feb YTD

ยอดขายรถยนต์

เชิงพาณิชย์

-22.9 -23.3 -17.3 -26.5 -29.4 -28.0

%mom_sa,

%qoq_sa

-8.2 -11.8 - 1.9 -4.3

Indicators

(%yoy)

2023 2024

Q3 Q4 ทั้งปี Jan Feb YTD

ยอดขาย

รถยนต์นั่ง

10.5 13.0 10.3 2.4 -20.1 -9.3

%mom_sa,

%qoq_sa

-5.1 -9.7 - 8.8 -10.7 -

100.14

40

60

80

100

120

140

160

180

Feb-20 Aug-20 Feb-21 Aug-21 Feb-22 Aug-22 Feb-23 Aug-23 Feb-24

Index_sa (2021=100)

Passengercar_SA

63.1

40.0

60.0

80.0

100.0

120.0

Oct-21

Dec-21

Feb-22

Apr-22

Jun-22

Aug-22

Oct-22

Dec-22

Feb-23

Apr-23

Jun-23

Aug-23

Oct-23

Dec-23

Feb-24

ปริมาณการจาหน่ายรถยนต์เชิงพาณิชย์

Index_SA

(2019 =100)

เครื่องชี้เศรษฐกิจไทย

?เดือนกุมภาพันธ์ 2567 จานวนนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติเดินทางเข้ามาอย่างต่อเนื่อง โดยได้รับแรงสนับสนุนจากการท่องเที่ยวของนักท่องเที่ยวตลาดระยะใกล้ ขณะที่การท่องเที่ยวภายในประเทศยังขยายตัวได้อย่างต่อเนื่องเมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน?

จานวนนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติ (ล้านคน)

จานวนผู้เยี่ยมเยือนชาวไทย (ล้านคน)

จานวนนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติที่เดินทางเข้ามาในประเทศไทยเดือน ก.พ. 67 มีจานวน 3.35 ล้านคน ขยายตัวที่ร้อยละ 58.6 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน และเพิ่มขึ้นจากเดือนก่อนอย่างมีนัยสาคัญ โดยนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติส่วนใหญ่เป็นนักท่องเที่ยวชาวจีน มาเลเซีย เกาหลีใต้ รัสเซีย และอินเดีย เป็นสาคัญ โดยเมื่อขจัดผลทางฤดูกาลแล้วพบว่า ขยายตัวที่ร้อยละ 39.7ทั้งนี้ จานวนนักท่องเที่ยวที่ยังขยายตัวได้เป็นผลจากเทศกาลตรุษจีน และช่วงปิดภาคเรียนของมาเลเซีย บวกกับปัจจัยฐานต่าเนื่องจากช่วงเดือน ก.พ. 66 เป็นช่วงเริ่มต้นที่รัฐบาลจีนอนุญาตให้นักท่องเที่ยวชาวจีนเดินทางออกนอกประเทศ ขณะเดียวกันรัฐบาลก็ได้มีการยกเว้นวีซ่าให้กับนักท่องเที่ยวจากหลายประเทศ ได้แก่ จีน คาซัคสถาน อินเดีย และไต้หวัน โดยนักท่องเที่ยวชาวจีนมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่องจากความเชื่อมั่นที่เริ่มกลับมา

การท่องเที่ยวของชาวไทย สะท้อนจากจานวนผู้เยี่ยมเยือนชาวไทยในเดือน ก.พ. 67 มีจานวน 22.2 ล้านคน ขยายตัวร้อยละ 9.1 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน ชะลอลงล็ดน้อยเมื่อเทียบกับเดือนก่อนหน้า และเมื่อขจัดผลทางฤดูกาล พบว่า ขยายตัวที่ร้อยละ 6.9โดยจานวนผู้เยี่ยมเยือนในเดือน ก.พ. 67 ที่ลดลงเป็นผลการเข้าสู้ฤดูกาล LowSeasonขณะที่ รายได้จากการท่องเที่ยวของชาวไทยเดือน ก.พ. 67 อยู่ที่ 75,332 ล้านบาท ขยายตัวที่ร้อยละ 10.0 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน โดยรายได้จากผู้เยี่ยมเยือนที่ลดลงเป็นผลจากจานวนผู้เยี่ยมเยือนที่ลดลง และการใช้จ่ายต่อคนขอนักท่องเที่ยวที่ลดลงเล็กน้อยจากเดือนก่อน โดยอยู่ที่ 3,395บาท/คน/ทริป ขยายตัวที่ ร้อยละ 7.6ต่อปี เนื่องจากการใช้จ่ายต่อคนของผู้เยี่ยมเยือนชาวไทยยังไม่ฟื้นตัวจากสภาพเศรษฐกิจที่ยังฟื้นตัวได้ไม่เต็มที่

ที่มา : กระทรวงท่องเที่ยวและกีฬา

Indicators

(%yoy)

2023

2024

Q1

Q2

Q3

Q4

ทั้งปี

Jan

Feb

YTD

จานวนนักท่องเที่ยวต่างชาติ (%yoy)

1,237.4

311.4

97.9

49.1

154.4

41.5

58.6

50.0

%mom_sa, %qoq_sa

-10.7

127.9

-74.6

192.1

-

32.5

39.7

จานวนผู้เยี่ยมเยือนชาวไทย (%yoy)

36.0

24.9

18.2

14.3

22.7

6.8

9.1

7.9

%mom_sa, %qoq_sa

10.2

30.9

1.3

-18.2

-

2.2

6.9

รายได้จากผู้เยี่ยมเยือนชาวไทย (%yoy)

45.7

36.8

29.0

26.4

33.9

8.6

10.0

9.3

%mom_sa, %qoq_sa

8.2

33.0

5.2

-12.7

-

-3.2

4.8

อัตราการเข้าพักเฉลี่ย (%)

68.1

66.9

66.2

73.6

77.4

76.7

77.0

6

เครื่องชี้เศรษฐกิจไทย

มูลค่าการส่งออกในเดือน ก.พ. 67 มีมูลค่าอยู่ที่ 23,384.9 ล้านดอลลาร์สหรัฐ ขยายตัว

ที่ร้อยละ 3.6 เมื่อเทียบรายปี

การส่งออกของไทยเมื่อหักรายการสินค้าเกี่ยวเนื่องน้ามันและทองคา ขยายตัวร้อยละ 2.3 เมื่อเทียบรายปี

กลุ่มสินค้าส่งออกที่ขยายตัวในเดือนดังกล่าว อาทิ

? สินค้าเกษตรและสินค้าอุตสาหกรรมเกษตร เช่น ข้าว ยางพารา สิ่งปรุงรสอาหาร ผลไม้กระป๋องและแปรรูป

อาหารทะเลกระป๋องและแปรรูป อาหารสัตว์เลี้ยง

? สินค้าอุตสาหกรรม เช่น เครื่องคอมพิวเตอร์ อุปกรณ์และส่วนประกอบ อัญมณีและเครื่องประดับ (ไม่รวม

ทองคา) เหล็ก เหล็กกล้าและผลิตภัณฑ์ อุปกรณ์กึ่งตัวนา ทรานซิสเตอร์ และไดโอด เป็นสาคัญ

สาหรับมิติตลาดคู่ค้า พบว่าการส่งออกไปยังตลาดคู่ค้าหลักบางกลุ่มขยายตัวดี อาทิ ตลาดสหรัฐ สหภาพยุโรป

และอาเซียน 9

มูลค่าการนาเข้าในเดือน ก.พ. 67 มีมูลค่า 23,938.9 ล้านดอลลาร์สหรัฐ หรือคิดเป็นการขยายตัว

ที่ร้อยละ 3.2 เมื่อเทียบรายปี

การนาเข้าของไทยขยายตัว โดยมีปัจจัยสาคัญ

มาจากกลุ่มสินค้าทุน สินค้าอุปโภคบริโภค และ

สินค้าวัตถุดิบและกึ่งสาเร็จรูป ตามลาดับ

ด้านดุลการค้าในเดือน ก .พ. 67 ขาดดุลมูลค่า

-554.0 ล้านดอลลาร์สหรัฐ ทาให้ดุลการค้าสะสม

ข อ ง ไ ท ย ทั้ง ปี 6 7 ข ด ดุล ส ส ม ที่ - 3 , 3 1 1 . 9

ล้านดอลลาร์สหรัฐ

Indicators

(%yoy)

2023 2024

Q3 Q4 ทั้งปี Jan Feb YTD

มูลค่าการส่งออก -0.5 5.8 -1.0 10.0 3.6 6.7

สินค้าเกษตรกรรม 4.1 3.7 0.2 14.0 7.5 10.7

สินค้าอุตสาหกรรม -0.3 4.6 -1.0 10.3 5.2 7.7

มูลค่าการนาเข้า -10.7 5.8 -3.8 2.6 3.2 2.9

สินค้าทุน 3.2 15.7 4.2 10.2 25.6 17.8

สินค้าวัตถุดิบ -18.4 -0.6 -9.7 10.4 6.5 8.5

ดุลการค้า (พันล้าน$) 0.5 -2.3 -5.2 10.0 -0.56 -3.3

7

ที่มา : กระทรวงพาณิชย์

หมายเหตุ: ปีฐาน 2018

เครื่องชี้เศรษฐกิจไทย

การเบิกจ่ายงบประมาณรวมในเดือน ก.พ. 67 เบิกจ่ายได้ทั้งสิ้น 183,148 ล้านบาท หดตัว

ร้อยละ -28.6 ต่อปี ทาให้ 5 เดือนแรกของปีงบประมาณ 67 เบิกจ่ายที่ร้อยละ 40.8

8

ที่มา : กรมสรรพากร คานวณโดย สศค.

โดย (1) รายจ่ายปีปัจจุบัน เบิกจ่ายได้

1 7 1 , 9 4 0 ล้า น บ ท ห ด ตัว ร้อ ย ล

-29 . 4 ต่อ ปี คิด เ ป็น อัต ร เ บิก จ่า ย

สะสมที่ร้อยละ 40.4 ทั้งนี้ แบ่งออกเป็น

( 1 . 1 ) ร ย จ่า ย ป ร จ 1 5 8 , 7 9 9

ล้านบาท หดตัวร้อยละ -23.9 ต่อปี

คิดเป็นอัตราเบิกจ่ายสะสมที่ร้อยละ

48.0 และ (1.2) รายจ่ายลงทุน 13,141

ล้านบาท หดตัวร้อยละ -62.2 ต่อปี

คิดเป็นอัตราเบิกจ่ายสะสมที่ร้อยละ

11.7 (2) รายจ่ายปีก่อนเบิกจ่ายได้

11,208 ล้านบาท หดตัวที่ร้อยละ -13.1

ต่อ ปี คิด เ ป็น อัต ร เ บิก จ่า ย ส ส ม ที่

ร้อยละ 48.6 ต่อปี

รัฐบาลจัดเก็บรายได้สุทธิ (หลังหักจัดสรรให้ อปท.) ในเดือน ก.พ. 67 ได้ 159,295 ล้านบาท

ขยายตัวร้อยละ 8.7 ต่อปี

โดยรายได้ในเดือน ก.พ.

6 7 ข ย ย ตั ว จ ก

ภ ษี น้า มั น แ ล

ผ ลิต ภัณ ฑ์น้า มัน ที่

ขยายตัวร้อยละ 100.0

แ ล ภ ษี มูล ค่ เ พิ่ ม

ที่ขยายตัวร้อยละ 5.1

2023 2024

รายการ Q1 Q2 Q3 Q4 2023 Q1 Jan Feb FYTD

รายจ่ายปีปัจจุบัน

[billions of baht] 982.2 709.8 742.1 654.3 3,088.4 910.2 205.7 171.9 1,287.8

[%YoY] ?0.1 +17.1 +9.3 ?1.4 +5.3 ?7.3 ?5.6 ?29.4 ?10.8

รายจ่ายประจา

[billions of baht] 858.8 600.5 625.3 525.7 2,610.2 859.1 192.5 158.8 1,210.5

[%YoY] ?3.1 +16.5 +9.5 ?3.4 +3.7 +0.0 +0.8 ?23.9 ?3.8

รายจ่ายลงทุน

[billions of baht] 123.4 109.2 116.9 128.6 478.2 51.1 13.2 13.1 77.4

[%YoY] +27.3 +20.0 +7.8 +7.7 +15.0 ?58.6 ?51.1 ?62.2 ?58.2

รายจ่ายปีก่อน

[billions of baht] 58.9 44.5 27.9 42.6 174.0 53.6 13.0 11.2 77.8

[%YoY] ?22.0 ?22.7 ?12.2 ?12.6 ?18.6 ?9.1 ?14.9 ?13.1 ?10.7

รายจ่ายรวม

[billions of baht] 1,041.1 754.3 770.1 696.9 3,262.4 963.8 218.7 183.1 1,365.7

[%YoY] ?1.7 +13.6 +8.3 ?2.1 +3.7 ?7.4 ?6.2 ?28.6 ?10.8

2023 2024

รายการ Q1 Q2 Q3 Q4 2023 Q1 Jan Feb FYTD

รายได้รวม 3 กรมจัดเก็บ

[billions of baht] 601.4 618.9 819.5 775.7 2,815.4 612.1 223.4 194.1 1,029.7

[%YoY] +5.0 +1.6 ?0.4 +0.1 +1.3 +1.8 +1.7 +3.6 +2.1

รวมรายได้จัดเก็บ

[billions of baht] 726.4 680.5 932.2 859.5 3,198.5 715.8 246.9 215.8 1,178.5

[%YoY] +11.5 +2.7 +1.6 +2.4 +4.1 ?1.5 ?1.6 +6.1 ?0.2

รวมรายได้สุทธิหลังหักจัดสรร

[billions of baht] 639.8 520.9 795.1 711.0 2,666.8 623.5 199.1 159.3 981.9

[%YoY] +14.5 ?1.7 +3.2 +5.8 +5.3 ?2.5 ?0.1 +8.7 ?0.4

เครื่องชี้เศรษฐกิจไทย

ฐานะการคลังของรัฐบาลตามระบบกระแสเงินสดในเดือน ก.พ. 67 พบว่าดุลเงินงบประมาณ

ขาดดุลจานวน -33,288 ล้านบาท

ทั้งนี้เมื่อรวมกับดุลนอก

ง บ ป ร ม ณที่เ กิน ดุล

3,110 ล้านบาท พบว่า

ดุลเงินสดก่อนกู้ขาดดุล

3 0 , 1 7 8 ล้า น บ ท

โ ด ย ใ น เ ดือ น นี้รัฐบ ล

มีก ร กู้เ งิน 3 5 , 7 5 0

ล้า น บ ท ส่ง ผ ล ใ ห้

จ น ว น เ งิ น ค ง ค ลัง

ป ล ย ง ว ด อ ยู่ ที่

178,500 ล้านบาท

9

ที่มา : สานักงานบริหารหนี้สาธารณะ

ดุลการคลัง 2023 2024

[พันล้านบาท] Q1 Q2 Q3 Q4 2022 Q1 Jan Feb FYTD

รายได้ 639.5 518.2 799.5 706.1 2,663.3 622.7 193.7 149.9 966.3

รายจ่าย ?1,041.1 ?754.3 ?770.1 ?696.9 ?3,262.4 ?963.8 ?233.3 ?183.1 ?1,380.2

ดุลเงินงบประมาณ ?401.6 ?236.1 29.4 9.9 ?598.4 ?341.1 ?39.6 ?33.3 ?413.9

ดุลเงินนอกงบประมาณ ?71.4 ?15.8 ?10.9 ?13.1 ?111.2 ?8.4 ?20.2 3.1 ?25.5

ดุลเงินสดก่อนกู้ ?473.0 ?251.9 18.5 ?3.2 ?709.6 ?349.4 ?59.8 ?30.2 ?439.4

กู้เพื่อชดเชยการขาดดุล 221.1 73.4 140.7 189.4 624.6 20.0 26.0 35.8 81.8

ดุลเงินสดหลังกู้ ?251.9 ?178.5 159.2 186.2 ?85.0 ?329.4 ?33.8 5.6 ?357.7

เงินคงคลังต้นงวด 624.0 372.1 193.6 352.8 624.0 539.1 372.1 172.9 539.1

เงินคงคลังปลายงวด 372.1 193.6 352.8 539.1 539.1 209.6 338.3 178.5 178.5

เครื่องชี้ภาคการเงิน

ดุลบัญชีเดินสะพัดเดือน ก.พ. 67 เกินดุลที่ 1,965.45 ล้านดอลลาร์สหรัฐ หลังขาดดุลในเดือน

ก่อนหน้าที่ -190.51 ล้านดอลลาร์สหรัฐ

โดยเดือน ก.พ. 67 ดุลบริการ รายได้ และเงินโอน เกินดุลที่ 229.45 ล้านดอลลาร์สหรัฐ เกินดุลลดลงจากเดือน

ก่อ น ห น้า ขณะ ที่ดุล ก ร ค้า ( ต ม ร บ บ BOP) เ กิน ดุล เ พิ่ม ขึ้น จ ก เ ดือ น ก่อ น ห น้า ม อ ยู่ที่ 1 ,7 3 5 . 6 6

ล้านดอลลาร์สหรัฐ สาหรับดุลบัญชีเดินสะพัดในปี 67 เกินดุลรวม 1,965.45 ล้านดอลลาร์สหรัฐ

Current Account

10

ที่มา : ธนาคารแห่งประเทศไทย

สินเชื่อในสถาบันการเงินเดือน ก.พ. 67 มียอด

คงค้าง 20.60 ล้านล้านบาท คิดเป็นการขยายตัว

ที่ร้อยละ 1.4 จากช่วงเดียวกันปีก่อน

เงินฝากในสถาบันการเงินเดือน ก.พ. 67 มียอด

คงค้าง 25.12 ล้านล้านบาท คิดเป็นการขยายตัวที่

ร้อยละ 2.0 จากช่วงเดียวกันปีก่อน

หรือขยายตัวที่ร้อยละ 0.08 จากเดือนก่อนหน้า

( ห ลัง ข จัด ผ ล ท ง ฤ ดูก ล ) เ มื่อ แ ย ก ป ร เ ภ ท

การขอสินเชื่อพบว่า สินเชื่อเพื่อธุรกิจ และสินเชื่อ

เพื่อการบริโภคขยายตัวชะลอลงที่ร้อยละ 0.1 และ

2.16 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน ตามลาดับ

ห รือ ห ก ข จัด ผ ล ท ง ฤ ดูก ล แ ล้ว ข ย ย ตัว

ที่ร้อยละ 0.19 จากเดือนก่อนหน้า โดยเงินฝากใน

ธน ค รพาณิช ย์ข ย ย ตัวช ล อ ล งที่ร้อ ย ล 1.1

จากช่วงเดียวกันของปีก่อน ขณะที่ เงินฝากในสถาบัน

ก ร เ งินเ ฉพา กิจ ข ยาย ตัวเ ร่งขึ้น ที่ร้อ ยละ 4. 6

จากช่วงเดียวกันของปีก่อน

Credit Of Depository Institutions Deposit Of Depository Institutions

เครื่องชี้ภาคการเงิน

หนี้ครัวเรือนในระบบของไทย อยู่ที่ร้อยละ 91.3 ต่อ GDP (16.4 ล้านล้านบาท) เพิ่มขึ้นจากไตรมาส

ก่อนหน้าที่อยู่ที่ร้อยละ 91.0 ต่อ GDP

91.00%

91.30%

0%

20%

40%

60%

80%

100%

120%

0 2 4

6 8

10

12

14

16

18

2011

2012

2013

2014

2015

2016

2017

2018

Q1

Q2

Q3

Q4

Q1

Q2

Q3

Q4

Q1

Q2

Q3

Q4

Q1

Q2

Q3

Q4

Q1

Q2

Q3

Q4

2019 2020 2021 2022 2023

% ต่อ GDP

ล้านล้านบาท

ระดับหนี้ครัวเรือน

% หนี้ครัวเรือนต่อ GDP (แกนขวา)

หนี้ครัวเรือนในระบบของไทยส่วนใหญ่เป็นหนี้

เพื่อซื้ออสังหาริมทรัพย์ต่าง ๆ มีสัดส่วนร้อยละ

33.8 เพื่อการประกอบธุรกิจร้อยละ 17.8 เพื่อ

ซื้อรถยนต์และจักรยานยนต์ร้อยละ 11.2 เพื่อ

การศึกษาโดยตรงอีกร้อยละ 4.2

หนี้ครัวเรือนประมาณร้อยละ 44.9 หรือ

เกือบครึ่ง เป็นหนี้ที่มีหลักประกัน เช่น บ้าน

รถ สะท้อนว่า ครัวเรือนบางส่วนก่อหนี้เพื่อ

ซื้อทรัพย์สินไม่ใช่เพื่อการบริโภค ขณะที่

ร้อยละ 55.1 เป็นหนี้ที่ไม่มีหลักประกัน

เพื่อซื้อ

อสังหาริมทรัพย์

33.9%

เพื่อซื้อ/เช่าซื้อยาน

ยนต์

11.0%

เพื่อการศึกษา

4.2%

เพื่อการอุปโภค

บริโภคส่วนบุคคล

27.5%

เพื่อการ

ประกอบอาชีพ

17.8%

อื่น ๆ

5.6%

หนี้ที่มีหลักประกัน

44.9

หนี้ที่ไม่มี

หลักประกัน

55.1

โครงสร้างของหนี้ครัวเรือนในระบบของไทย

ที่มา : ธนาคารแห่งประเทศไทย

11

เครื่องชี้เศรษฐกิจต่างประเทศ

ที่มา: ฐานข้อมูล CEIC และ Tradingeconomics รวมรวบโดย สศค.

GDP US ไตรมาส 4 ปี 66 (Final) ขยายตัวที่ร้อยละ 3.1 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน เร่งขึ้น

จากไตรมาสก่อนหน้าที่ร้อยละ 2.9 จากช่วงเดียวกันปีก่อน หรือคิดเป็นการขยายตัวที่ร้อยละ

3.4 เมื่อคานวนแบบ annualized rate

จานวนผู้ขอรับสวัสดิการว่างงานครั้งแรกรายสัปดาห์ (17-23 มี.ค. 67) อยู่ที่ 2.10 แสนราย

ลดลงจากสัปดาห์ก่อนหน้า และต่ากว่าที่ตลาดคาดการณ์ไว้ที่ 2.15 แสนราย ทั้งนี้ จานวนผู้

ขอรับสวัสดิการว่างงานเฉลี่ย 4 สัปดาห์ (four week moving average) ซึ่งขจัดความ

ผันผวนรายสัปดาห์แล้ว เพิ่มขึ้นจากสัปดาห์ก่อนหน้าเล็กน้อยมาอยู่ที่ 2.11 แสนราย

สหรัฐอเมริกา

GDP ไตรมาสที่ 1 ปี 67 ขยายตัวร้อยละ 5.7 จากช่วงเดียวกันปีก่อน ชะลอลงจากไตรมาสก่อน

หน้าที่ขยายตัวอยู่ที่ร้อยละ 6.7

ผลผลิตภาคอุตสาหกรรม เดือน มี.ค. 67 ขยายตัวร้อยละ 8.9 จากช่วงเดียวกันปีก่อน

หลังจากเดือนก่อนหน้าขยายตัวร้อยละ 27.1 จากช่วงเดียวกันปีก่อน

อัตราเงินเฟ้อ เดือน มี.ค. 67 อยู่ที่ร้อยละ 3.97 จากช่วงเดียวกันปีก่อน จากเดือนก่อนหน้าที่

อยู่ที่ร้อยละ 3.98

ยอดค้าปลีก เดือน มี.ค. 67 ขยายตัวร้อยละ 8.5 จากช่วงเดียวกันปีก่อน เร่งขึ้นจากเดือนก่อน

หน้าที่ขยายตัวร้อยละ 8.1

ดุลการค้า เดือน มี.ค. 67 เกินดุลที่ระดับ 2.9 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ เพิ่มขึ้นจากเดือนก่อน

หน้าที่เกินดุลที่ระดับ 1.1 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ

เวียดนาม

ดัชนีความเชื่อมั่นผู้บริโภค เดือน มี.ค. 67 อยู่ที่ระดับ -14.9 จุด ปรับดีขึ้นจากเดือนก่อนหน้าที่

ระดับ -15.5 จุด สูงสุดนับตั้งแต่เดือน ก.พ. 66 และเป็นไปตามที่ตลาดคาดการณ์

ญี่ปุ่น ยูโรโซน

อัตราการว่างงาน เดือน ก.พ. 67 อยู่ที่ร้อยละ 2.6 สูงที่สุดนับจาก ก.ย. 65 เป็นต้นมา

ดัชนีราคาผู้บริโภคพื้นฐานของโตเกียว (Tokyo Core CPI) เดือน มี.ค. 67 ขยายตัวร้อยละ

2.4 ต่อปี ชะลอลงจากเดือนก่อนหน้าที่อยู่ที่ร้อยละ 2.5 ต่อปี แต่ยังคงสูงกว่าเป้าหมายร้อยละ 2

ของ BOJ ซึ่งตัดสินใจยุตินโยบายอัตราดอกเบี้ยติดลบ ในระหว่างการประชุมเมื่อเดือน มี.ค. 67

ดัชนีราคาผู้บริโภคทั่วไปของโตเกียว (Tokyo CPI) เดือน มี.ค. 67 ขยายตัวร้อยละ 2.6 ต่อปี

เฉลี่ยในช่วงปี 2514-2567 อยู่ที่ร้อยละ 2.40

ยอดค้าปลีก เดือน ก.พ. 67 ขยายตัวร้อยละ 4.6 ต่อปี เร่งขึ้นจากเดือนก่อนหน้าที่ขยายตัว

ร้อยละ 2.1 ต่อปี โดยยอดขายปลีกขยายตัวต่อเนื่องเป็นเดือนที่ 24

12

เครื่องชี้เศรษฐกิจต่างประเทศ

ที่มา: ฐานข้อมูล CEIC และ Tradingeconomics รวมรวบโดย สศค.

สิงคโปร์

อัตราเงินเฟ้อพื้นฐาน เดือน ก.พ. 67 ขยายตัวร้อยละ 3.6 ต่อปี เพิ่มขี้นจากร้อยละ 3.1 ต่อปี

ในเดือนก่อนหน้า

อัตราเงินเฟ้อทั่วไป เดือน ก.พ. 67 ขยายตัวร้อยละ 3.4 ต่อปี เพิ่มขี้นจากร้อยละ 2.9 ต่อปี

ในเดือนก่อนหน้า

ผลผลิตภาคการผลิต (Manufacturing Production) เดือน ก.พ. 67 ขยายตัวร้อยละ

3.8 ต่อปี เพิ่มขึ้นจากเดือนก่อนหน้าทีขยายตัวร้อยละ 0.6

ออสเตรเลีย

ยอดค้าปลีก เดือน ก.พ. 67 ขยายตัวที่ร้อยละ 1.6 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน เร่งขึ้นจาก

เดือนก่อนหน้าที่ขยายตัวที่ร้อยละ 1.2 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน

ดัชนีความเชื่อมั่นผู้บริโภค เดือน มี.ค. 67 อยู่ที่ระดับ 84.4 จุด ลดลงจากเดือนก่อนหน้าที่อยู่

ที่ระดับ 86.0 จุด ซึ่งลดลงจากระดับสูงสุดในรอบ 20 เดือน ท่ามกลางความกังวลครั้งใหม่

เกี่ยวกับแนวโน้มทางเศรษฐกิจและการเงินของครัวเรือน

ผลผลิตอุตสาหกรรม (Industrial Production) เดือน ก.พ. 67 ขยายตัวร้อยละ 4.8 ต่อปี

ชะลอลงจากเดือนก่อนหน้าที่ขยายตัวร้อยละ 12.9 ต่อปี

ดัชนีความเชื่อมั่นผู้บริโภค (CCSI) เดือน มี.ค.67 อยู่ที่ 100.7 ลดลงจากเดือนเดือนก่อนหน้าที่

อยู่ที่ 101.9

ดัชนีความเชื่อมั่นทางธุรกิจ ( BSI) เดือน มี.ค.67 อยู่ที่ 71 เพิ่มขึ้นจากเดือนก่อนหน้าที่อยู่ที่ 70

ไต้หวัน เกาหลีใต้

ผลผลิตภาคอุตสาหกรรมเดือน ก.พ. 67 หดตัวอยู่ที่ร้อยละ -1.1 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน

พลิกกลับมาหดตัวอีกครั้งหลังขยายตัวเร่งขึ้นจากเดือนก่อนหน้าที่ร้อยละ 15.6 อันเนื่องจาก

ผลผลิตภาคอุตสาหกรรมลดลงในภาคส่วนเหมืองหินและเหมืองแร่ และภาคส่วนการผลิต เป็น

สาคัญ

ยอดค้าปลีกเดือน ก.พ. 67 ขยายตัวที่ร้อยละ 9.3 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน ขยายตัวเร่งขึ้น

จากเดือนก่อนหน้าที่ขยายตัวที่ร้อยละ 0.3 นับเป็นการขยายตัวของยอดค้าปลีกที่สูงที่สุด

นับตั้งแต่เดือน มิ.ย. 66 อันเนื่องจากการพลิกกลับมาขยายตัวของยอดขายปลีกสินค้าในหมวด

อาหารและเครื่องดื่มในร้านค้าปลีกเฉพาะทาง หมวดเสื้อผ้าและเครื่องแต่งกาย เป็นสาคัญ

13

เครื่องชี้เศรษฐกิจต่างประเทศ

ที่มา: ฐานข้อมูล CEIC และ Tradingeconomics รวมรวบโดย สศค.

อัตราเงินเฟ้อ เดือน ก.พ. 67 อยู่ที่ร้อยละ 1.8 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน ลดลงจากเดือนก่อน

หน้าที่อยู่ที่ร้อยละ 1.5 และสูงที่สุดนับตั้งแต่ ต.ค. 66 ตัวเลขอัตราเงินเฟ้อดังกล่าวต่ากว่าที่ตลาด

คาดการณ์ที่ร้อยละ 1.4 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน

มาเลเซีย

ยอดผลิตรถยนต์ เดือน ก.พ.67 อยู่ที่ 79,907 หน่วย ขยายตัวร้อยละ 14.6 ต่อปี นับเป็น

การเติบโตต่อเนื่องเป็นเดือนที่ 6 ท่ามกลางอุปสงค์ที่แข็งแกร่ง

GDP ไตรมาส 4 ปี 66 หดตัวร้อยละ -0.2 ต่อปี โดยเมื่อพิจารณาทั้งปี 66 GDP ขยายตัวเพียง

ร้อยละ 0.1 ต่อปี จากที่ขยายตัวร้อยละ 4.3 ในปีก่อนหน้า

ดุลบัญชีเดินสะพัด ไตรมาส 4 ปี 66 ขาดดุล -21.2 พันล้านปอนด์ โดยเป็นการขาดดุลการค้า

-49.0 พันล้านปอนด์ การขาดดุลบัญชีรายได้หลัก -8.5 พันล้านปอนด์ และการเกินดุลบริการ

36.5 พันล้านปอนด์

การลงทุนทางธุรกิจไตรมาส 4 ปี 66 ขยายตัวร้อยละ 2.8 ต่อปี เพิ่มขึ้นจากไตรมาสก่อนหน้าที่

ขยายตัวร้อยละ 1.9 ต่อปี

สหราชอาณาจักร

GDP ไตรมาสที่ 4 ปี 66 ขยายตัวที่ร้อยละ 2.0 จากช่วงเดียวกันปีก่อน เร่งขึ้นจากไตรมาสก่อน

หน้าที่ขยายตัวร้อยละ 1.9 จากช่วงเดียวกันปีก่อน และเป็นไปตามที่ตลาดคาดการณ์

ดัชนีความเชื่อมั่นผู้บริโภค เดือน ก.พ. 67 อยู่ที่ระดับ 78.5 จุด ลดลงเล็กน้อยจากเดือนก่อน

หน้าที่อยู่ที่ระดับ 78.6 จุด

อัตราเงินเฟ้อ เดือน มี.ค. 67 อยู่ที่ร้อยละ 3.2 จากช่วงเดียวกันปีก่อน เร่งขึ้นจากเดือนก่อน

หน้าที่อยู่ที่ระดับร้อยละ 2.8 จากช่วงเดียวกันปีก่อน

สเปน

อัตราการว่างงาน เดือน มี.ค. 67 อยู่ที่ร้อยละ 5.9 ของกาลังแรงงานรวม ไม่เปลี่ยนแปลงจาก

เดือนก่อนหน้าและเป็นไปตามที่ตลาดคาดการณ์

ยอดค้าปลีก เดือน ก.พ. 67 หดตัวร้อยละ -2.7 จากช่วงเดียวกันปีก่อน หดตัวเพิ่มขึ้นจาก

เดือนก่อนหน้าที่หดตัวร้อยละ -1.2 และหดตัวมากกว่าที่ตลาดคาดการณ์ที่ร้อยละ -0.8

เยอรมนี

14

ดัชนี SETปรับตัวลดลงจากสัปดาห์ก่อน สอดคล้องกับตลาดหลักทรัพย์อื่นๆ ในภูมิภาคที่ปรับตัวลดลงจากสัปดาห์ก่อน เช่น Shanghai(จีน) HengSeng(ฮ่องกง) และ KLCI(มาเลเซีย)เป็นต้น เมื่อวันที่ 28มี.ค. 67 ดัชนีปิดที่ระดับ 1,370.34จุด ด้วยมูลค่าซื้อขายเฉลี่ยระหว่างวันที่25-28มี.ค. 67 อยู่ที่36,923.25ล้านบาทต่อวันโดยนักลงทุนทั่วไปในประเทศ เป็นผู้ซื้อสุทธิ ขณะที่นักลงทุนสถาบันในประเทศ นักลงทุนบัญชีบริษัทหลักทรัพย์ และนักลงทุนต่างชาติ เป็นผู้ขายสุทธิ ทั้งนี้ระหว่างวันที่ 25-28มี.ค. 67 นักลงทุนต่างชาติ ขายหลักทรัพย์สุทธิ -758.11 ล้านบาท

อัตราผลตอบแทนพันธบัตรรัฐบาลอายุ 1 เดือน ถึง 2 ปี ส่วนใหญ่ปรับตัวเพิ่มขึ้นในช่วง 1 ถึง 3 bpsขณะที่อัตราผลตอบแทนพันธบัตรรัฐบาลอายุ 4 -20 ปี ส่วนใหญ่ปรับตัวลดลงในช่วง -1 ถึง -3 bpsโดยในสัปดาห์นี้นักลงทุนมีการประมูลพันธบัตรรัฐบาลอายุ 4และ 32ปี ซึ่งมีนักลงทุนสนใจ 2.69และ 1.83เท่าของวงเงินประมูล ตามลาดับ ทั้งนี้ ระหว่างวันที่25 -28 มี.ค 67 กระแสเงินทุนของนักลงทุนต่างชาติ ไหลเข้าในนตลาดพันธบัตรสุทธิ 13,281.40 ล้านบาท และหากนับจากต้นปีจนถึงวันที่ 28 มี.ค. 67 กระแสเงินทุนของนักลงทุนต่างชาติ ไหลออกจากตลาดพันธบัตรสุทธิ -35,737.60 ล้านบาท

เงินบาทอ่อนค่าลงจากสัปดาห์ก่อน โดย ณ วันที่28 มี.ค. 67เงินบาทปิดที่ 36.45 บาทต่อดอลลาร์สหรัฐ อ่อนค่าลงร้อยละ -1.34จากสัปดาห์ก่อนหน้า สอดคล้องกับเงินสกุลอื่น ๆ ในภูมิภาค อาทิ เงินสกุลเยน ยูโร ริงกิตเปโซวอน ดอลลาร์ไต้หวัน ดอลลาร์สิงคโปร์และหยวน ที่ปรับตัวอ่อนค่าลงจากสัปดาห์ก่อนหน้า เมื่อเทียบกับดอลลาร์สหรัฐ ทั้งนี้ เงินบาทอ่อนค่ามากกว่าเงินสกุลอื่น ๆ ในภูมิภาคส่งผลให้ดัชนีค่าเงินบาท (NEER) อยู่ที่ร้อยละ -0.94

เครื่องชี้ตลาดเงิน ตลาดอัตราแลกเปลี่ยน

Foreign Exchange

28-Mar-24

1w %chg

1m %chg

YTD %chg

Avg 22 %chg

Avg YTD

THB/USD

36.45

-1.34

-1.31

-6.38

-3.92

34.98

JPY/USD

151.44

-0.14

-0.46

-7.10

-15.06

142.14

USD/EUR

1.08

-0.88

0.03

-0.99

2.63

1.08

MYR/USD

4.73

-0.58

0.66

-2.07

-7.48

4.60

PHP/USD

56.28

-0.46

-0.30

-1.34

-3.30

55.70

KRW/USD

1,345.80

-0.53

-1.09

-3.58

-4.17

1,309.99

NTD/USD

31.99

-0.49

-1.32

-3.15

-7.16

31.24

SGD/USD

1.35

-0.79

-0.16

-1.60

2.27

1.34

CNY/USD

7.09

-0.008

0.18

0.08

-5.48

7.06

NEER

108.39

-0.94

-1.16

-4.17

0.43

111.24

ค่าเงินสกุลต่างๆ เครื่องหมาย + คือแข็งค่าขึ้น และเครื่องหมาย -คืออ่อนค่าลง เมื่อเทียบกับค่าเงินดอลลาร์สหรัฐดัชนีค่าเงินบาท (NEER) แข็งค่าขึ้น (+) หรืออ่อนค่าลง (-) ในช่วงระยะเวลาดังกล่าวโดยคิดเป็นอัตราร้อยละ

15

ที่มา: ฐานข้อมูล CEIC ธนาคารแห่งประเทศไทย และสมาคมตลาดตราสารหนี้ไทย รวมรวบโดย สศค.

Economic Indicators

FY66

FY66

FY67

FYTD

Q3

Q4

Q1

ม.ค.

ก.พ.

การคลัง

(พันล้านบาท)

รายได้สุทธิรัฐบาล (หลังหักจัดสรร)

2,666.8

795.1

711.0

623.5

199.1

159.3

981.9

%YoY

5.3

3.2

5.8

-2.5

-0.1

8.7

-0.4

-รายได้จัดเก็บ 3 กรม

2,815.4

819.5

775.7

612.1

223.3

194.1

1,029.7

%YoY

1.3

-0.4

0.1

1.8

1.7

3.6

2.1

รายจ่ายรวม

3,262.4

770.1

696.9

963.8

218.7

183.1

1,365.7

%YoY

3.7

8.3

-2.1

-7.4

-6.2

-28.6

-10.8

-รายจ่ายประจา

2,610.2

625.3

525.7

859.1

192.5

158.8

1,210.5

%YoY

3.7

9.5

-3.4

0.0

0.8

-23.9

-3.8

-รายจ่ายลงทุน

478.2

116.9

128.6

51.1

13.2

13.1

77.4

%YoY

15.0

7.8

7.7

-58.6

-51.1

-62.2

-58.2

ดุลงบประมาณ

-598.4

29.4

9.9

-341.0

-39.6

-33.3

-413.9

ปี 66

Q3/66

Q4/66

ธ.ค.66

ม.ค.67

ก.พ.67

YTD

Real GDP

อัตราการขยายตัวของเศรษฐกิจ (%yoy)

1.9

1.4

1.7

-

-

-

-

อัตราการขยายตัวของเศรษฐกิจ (%qoq_sa)

-

0.6

-0.6

-

-

-

-

อุปทาน

(%y-o-y)

ดัชนีผลผลิตสินค้าเกษตร

-0.2

-0.5

-2.3

-1.8

-5.4

-7.5

-6.4

ดัชนีราคาสินค้าเกษตร

-2.0

-1.6

0.1

0.2

3.8

5.5

4.7

รายได้เกษตรกรที่แท้จริง

-2.3

-0.9

-0.8

-1.9

-0.6

-1.7

-1.1

ดัชนีผลผลิตสินค้าอุตสาหกรรม

-3.8

-5.3

-2.9

-4.7

-2.9

-2.8

-2.9

-อาหาร (สัดส่วน 16.4%)

-2.4

-1.4

-5.3

-6.2

0.9

-0.8

0.1

-คอมพิวเตอร์ และอิเล็กทรอนิกส์ (8.9%)

-18.9

-22.8

-18.9

-16.5

-16.7

-18.1

-17.4

-ยางและพลาสติก (สัดส่วน 8.8%)

-2.4

-5.2

1.7

0.4

4.4

-1.0

1.7

-ยานยนต์ (สัดส่วน 13.8%)

0.8

-3.7

-10.1

-16.6

-9.8

-16.2

-13.0

ดัชนีความเชื่อมั่นอุตสาหกรรม (ระดับ)

92.6

91.2

89.4

88.8

90.6

90.0

90.3

จานวนนักท่องเที่ยวต่างประเทศ

154.4

97.9

49.1

45.5

41.5

58.6

50.0

จานวนผู้เยี่ยมเยือนชาวไทย

22.7

18.2

14.3

12.5

6.8

9.1

7.9

การบริโภคเอกชน

(%y-o-y)

ภาษีมูลค่าเพิ่ม ณ ราคาที่แท้จริง

-1.7

-6.4

1.9

-3.4

-2.8

5.7

1.2

-ภาษีมูลค่าเพิ่มที่จัดเก็บในประเทศ

4.4

6.0

5.9

4.5

0.8

8.5

4.4

-ภาษีมูลค่าเพิ่มที่จัดเก็บจากการนาเข้า

-8.4

-18.7

-2.5

-13.3

-7.9

2.4

-3.1

ยอดจาหน่ายรถยนต์นั่ง

10.3

10.5

13.0

5.8

2.4

-20.1

-9.3

ยอดรถจักรยานยนต์จดทะเบียนใหม่

4.6

0.3

-2.3

-7.0

-1.8

-10.0

-6.0

ปริมาณนาเข้าสินค้าอุปโภคในรูป USD

-0.7

-0.1

2.5

-9.1

-1.8

10.4

3.6

ดัชนีความเชื่อมั่นผู้บริโภค (ระดับ)

56.7

57.1

61.0

62.0

62.9

63.8

63.4

ปี 66

Q3/66

Q4/66

ธ.ค.66

ม.ค.67

ก.พ.67

YTD

การลงทุนเอกชน

(%y-o-y)

ปริมาณนาเข้าสินค้าทุนในรูป USD

3.8

3.6

16.5

1.7

11.4

27.1

19.1

ยอดจาหน่ายรถยนต์เชิงพาณิชย์

-17.3

-22.9

-23.3

-27.4

-26.5

-29.4

-28.0

-รถกระบะขนาด 1 ตัน

-28.7

-35.4

-39.9

-44.5

-43.5

-44.0

-43.8

ภาษีธุรกรรมอสังหาริมทรัพย์

3.8

0.4

-17.4

-41.2

-3.3

-15.4

-10.0

ยอดขายปูนซีเมนต์

-2.4

5.0

-0.4

-4.4

-7.2

-7.7

-7.5

ยอดขายเหล็ก

-9.9

3.1

-10.6

0.5

1.0

-5.8

-2.4

ดัชนีราคาวัสดุก่อสร้าง

0.1

-0.2

-0.2

-0.4

-1.0

-1.1

-1.1

การค้าระหว่างประเทศ

(%y-o-y)

มูลค่าการส่งออกสินค้าในรูป USD

-1.0

-0.5

5.8

4.7

10.0

3.6

6.7

- รถยนต์และส่วนประกอบ (สัดส่วน 10.9%)

9.0

10.5

0.9

4.3

-4.7

-5.6

-5.1

- เครื่องคอมพิวเตอร์ฯ (สัดส่วน 6.3%)

-13.9

-25.1

3.1

2.5

32.2

24.9

28.4

- อัญมณีและเครื่องประดับ(สัดส่วน 5.2%)

-2.2

1.3

32.6

71.1

59.1

50.8

53.9

- ผลิตภัณฑ์ยาง(สัดส่วน 4.7%)

-4.4

-5.4

1.6

3.9

3.7

-4.1

-0.4

- เม็ดพลาสติก (สัดส่วน 3.1%)

-16.9

-10.4

-2.9

0.0

-0.3

-2.7

-1.5

- น้ามันสาเร็จรูป (สัดส่วน 3.6%)

0.8

-1.5

54.2

42.6

5.3

-9.6

-2.0

- เคมีภัณฑ์ (สัดส่วน 2.8%)

-16.0

-20.2

-6.0

-6.5

-1.6

-14.2

-8.0

- แผงวงจรไฟฟ้า (สัดส่วน 3.4%)

4.1

16.4

-2.8

3.1

-1.9

-13.2

-7.6

-สินค้าเกษตร (สัดส่วน 9.4%)

0.2

4.1

3.7

-8.3

14.0

7.5

10.7

-สินค้าอุตสาหกรรมเกษตร (สัดส่วน 7.9%)

-1.7

-5.2

3.7

3.6

3.8

-9.1

-3.5

ราคาส่งออกสินค้า

1.2

1.1

1.4

1.4

1.0

1.3

1.2

ปริมาณส่งออกสินค้า

-2.1

-1.6

4.4

3.2

8.9

2.3

5.4

มูลค่าการนาเข้าสินค้าในรูป USD

-3.8

-10.7

5.8

-3.1

2.6

3.2

2.9

-วัตถุดิบ (สัดส่วน 39.2%)

-9.7

-18.4

-0.6

-5.9

10.4

6.5

8.5

-ทุนและเครื่องจักร (สัดส่วน 24.0%)

4.2

3.2

15.7

1.0

10.2

25.6

17.8

-อุปโภคบริโภค (สัดส่วน 11.4%)

1.5

1.2

4.1

-7.3

-0.1

12.0

5.3

-สินแร่และเชื้อเพลิง (สัดส่วน 18.5%)

-10.3

-25.2

4.7

-2.2

-15.7

-22.9

-19.3

ราคานาเข้าสินค้า

-0.8

-1.7

-0.5

-0.7

-1.8

-1.6

-1.7

ปริมาณนาเข้าสินค้า

-2.9

-9.2

6.3

-2.3

4.5

4.8

4.7

การเงิน

อัตราดอกเบี้ยนโยบาย (%)

2.50

2.50

2.50

2.50

2.50

2.50

2.50

อัตราดอกเบี้ยเงินกู้ MLR ธนาคารพาณิชย์ (เฉลี่ย)(%)

7.17

6.95

7.17

7.17

7.17

7.17

7.17

อัตราดอกเบี้ยเงินฝากประจา 12 เดือนธนาคารพาณิชย์ (เฉลี่ย)(%)

1.65

1.48

1.65

1.65

1.65

1.65

1.65

อัตราการขยายตัวของสินเชื่อ (%y-o-y)

1.5

1.0

1.5

1.5

1.5

1.4

1.4

อัตราการขยายตัวของเงินฝาก (%y-o-y)

1.4

1.6

1.4

1.4

2.1

2.0

2.0

เสถียรภาพเศรษฐกิจ

ดุลการค้าตามระบบกรมศุลฯ (พันล้าน USD)

-

1.6

-

-

-

-

-

ดุลบัญชีเดินสะพัด (พันล้าน USD)

7.00

2.54

2.01

2.26

-0.19

1.96

-1.77

ทุนสารองระหว่างประเทศ(พันล้าน USD)

224.4

211.7

224.4

224.4

221.6

222.4

223.5*

อัตราการว่างงาน (%)

1.0

1.0

0.8

0.8

1.1

1.0

1.0

อัตราเงินเฟ้อทั่วไป (%y-o-y)

1.2

0.5

-0.5

-0.8

-1.1

-0.8

-0.9

อัตราเงินเฟ้อพื้นฐาน (%y-o-y)

1.3

0.8

0.6

0.6

0.5

0.4

0.5

หนี้สาธารณะต่อ GDP (%)

60.95

62.44

61.85

61.85

62.23

-

62.23

*ข้อมูลทุนสารองระหว่างประเทศ วันที่ 22มี.ค. 67 โดยฐานะ Forward สุทธิอยู่ที 29.44พันล้านดอลลาร์สหรัฐ

Economic Indicators

ปี 66

Q3/66

Q4/66

ธ.ค.66

ม.ค.67

ก.พ.67

YTD

สหรัฐฯ

- Real GDP (%yoy)

2.5

2.9

3.1

-

-

-

2.5

-Real GDP (%qoq_sa)

-

1.2

0.8

-

-

-

-

- ดัชนี PMI for Manufacturing (ระดับ)

47.1

47.6

46.9

47.1

49.1

47.8

48.5

-มูลค่าการส่งออกสินค้า (%yoy)

-1.8

-5.7

-0.9

-0.0

-3.3

-

-3.3

-มูลค่าการนาเข้าสินค้า (%yoy)

-4.9

-5.7

-1.3

-2.1

-0.3

-

-0.3

-อัตราเงินเฟ้อทั่วไป (CPI) (%yoy)

4.1

3.5

3.2

3.4

3.1

3.2

3.1

-การจ้างงานนอกภาคเกษตร (พันตาแหน่ง)

3,013

640

637

290

229

275

504

-ดัชนีความเชื่อมั่นผู้บริโภค (ระดับ)

105.4

109.0

102.7

108.0

110.9

104.8

107.9

-ยอดค้าปลีก (%yoy)

3.2

3.0

3.3

3.5

1.4

5.5

3.4

-อัตราดอกเบี้ยนโยบาย (Effective Fed Fund Rate)

5.33

5.33

5.33

5.33

5.33

5.33

5.33

ยูโรโซน

(EZ19)

-Real GDP (%yoy)

0.5

0.1

0.1

-

-

-

0.5

-Real GDP (%qoq_sa)

-

-0.1

-

-

-

-

-

- ดัชนี PMI for Manufacturing (ระดับ)

45.0

43.2

43.9

44.4

46.6

46.5

46.6

-มูลค่าการส่งออกสินค้า (%yoy)

-1.1

-5.3

-5.1

-8.9

1.3

-

1.3

-มูลค่าการนาเข้าสินค้า (%yoy)

-13.4

-22.2

-16.9

-18.9

-16.1

-

-16.1

-อัตราเงินเฟ้อทั่วไป (HICP) (%yoy)

5.4

5.0

2.7

2.9

2.8

2.6

2.7

-ยอดค้าปลีก (%yoy)

-1.7

-1.6

-0.7

-1.7

-

-

-1.7

-อัตราดอกเบี้ยนโยบาย (Refinancing)

4.50

4.50

4.50

4.50

4.50

4.50

4.50

ญี่ปุ่น

-Real GDP (%yoy)

1.9

1.6

1.2

-

-

-

1.9

-Real GDP (%qoq_sa)

-

-0.8

0.1

-

-

-

-

- ดัชนี PMI for Manufacturing (ระดับ)

49.0

49.2

48.3

47.9

48.0

47.2

47.6

-มูลค่าการส่งออกสินค้า (%yoy)

2.8

1.1

3.7

9.7

11.9

7.8

9.7

-มูลค่าการนาเข้าสินค้า (%yoy)

-7.0

-16.1

-10.4

-6.8

-9.7

0.5

-5.0

-อัตราเงินเฟ้อทั่วไป (CPI) (%yoy)

3.3

3.1

2.9

2.6

2.1

2.8

2.4

-ยอดค้าปลีก (%yoy)

5.6

6.7

3.9

5.6

2.1

3.3

2.7

-อัตราดอกเบี้ยนโยบาย (Overnight Call)

-0.1

-0.1

-0.10

-0.10

-0.10

-0.10

-0.10

จีน

-Real GDP (%yoy)

5.2

4.9

5.2

-

-

-

5.2

-Real GDP (%qoq_sa)

-

1.5

1.0

-

-

-

-

- ดัชนี PMI for Manufacturing (ระดับ)

50.3

50.3

50.3

50.8

50.8

50.9

50.9

-มูลค่าการส่งออกสินค้า (%yoy)

-4.6

-9.9

-1.2

2.2

8.2

5.6

7.1

-มูลค่าการนาเข้าสินค้า (%yoy)

-5.5

-8.5

0.8

0.1

15.4

-8.2

3.5

-อัตราเงินเฟ้อทั่วไป (CPI) (%yoy)

0.2

-0.1

-0.33

-0.3

-0.8

0.7

-0.8

-ยอดค้าปลีก (%yoy)

8.0

4.2

8.3

8.0

-

-

8.0

-อัตราดอกเบี้ยนโยบาย (Policy rate)

2.50

2.50

2.50

2.50

2.50

2.50

2.50

ฮ่องกง

-Real GDP (%yoy)

3.2

4.1

4.3

-

-

-

3.2

-Real GDP (%qoq_sa)

-

0.2

0.4

-

-

-

-

- ดัชนี PMI for Manufacturing (ระดับ)

50.9

49.6

50.1

51.3

49.9

49.7

49.8

-มูลค่าการส่งออกสินค้า (%yoy)

-7.8

-6.0

6.5

11.0

33.6

-0.8

16.6

-มูลค่าการนาเข้าสินค้า (%yoy)

-5.7

-2.8

7.1

11.6

21.7

-1.8

9.7

-อัตราเงินเฟ้อทั่วไป (CPI) (%yoy)

2.1

1.9

2.6

2.4

1.7

2.1

1.9

-ยอดค้าปลีก (%yoy)

16.2

43.3

29.6

16.2

0.9

-

0.9

-อัตราดอกเบี้ย (HIBOR) (Overnight)

6.09

5.68

6.09

6.09

5.13

4.97

4.97

Global Economic Indicators

ที่มา: ฐานข้อมูล CEIC และ Tradingeconomics รวมรวบโดย สศค.

ปี 66

Q3/66

Q4/66

ธ.ค.66

ม.ค.67

ก.พ.67

YTD

เกาหลีใต้

-Real GDP (%yoy)

1.3

1.4

2.2

-

-

-

1.4

-Real GDP (%qoq_sa)

-

0.6

0.6

-

-

-

-

- ดัชนี PMI for Manufacturing (ระดับ)

48.9

49.4

49.9

49.9

51.2

50.7

51.0

-มูลค่าการส่งออกสินค้า (%yoy)

-7.5

-9.7

5.7

5.0

18.2

4.8

11.2

-มูลค่าการนาเข้าสินค้า (%yoy)

-12.1

-21.6

-10.7

-10.9

-7.9

-13.1

-10.4

-อัตราเงินเฟ้อทั่วไป (CPI) (%yoy)

3.6

3.1

3.4

3.2

2.8

3.1

3.0

-ยอดค้าปลีก (%yoy)

-1.5

-2.7

-1.9

-1.5

-3.3

-1.2

-2.2

-อัตราดอกเบี้ยนโยบาย (Overnight Call)

3.50

3.50

3.50

3.50

3.50

3.50

3.50

ไต้หวัน

-Real GDP (%yoy)

1.3

2.1

4.9

-

-

-

1.3

-Real GDP (%qoq_sa)

-

1.9

2.3

-

-

-

-

-ดัชนี PMI for Manufacturing (ระดับ)

46.3

44.9

47.7

47.1

48.8

48.6

48.7

-มูลค่าการส่งออกสินค้า (%yoy)

-9.8

-5.1

3.3

11.7

18.1

1.3

9.7

-มูลค่าการนาเข้าสินค้า (%yoy)

-17.9

-19.1

-11.5

-6.8

19.0

-17.8

0.7

-อัตราเงินเฟ้อทั่วไป (CPI) (%yoy)

2.5

2.4

2.9

2.7

1.8

3.1

2.4

-ยอดค้าปลีก (%yoy)

6.9

5.5

4.4

6.9

0.3

4.3

2.3

-อัตราดอกเบี้ยนโยบาย (Rediscount)

1.88

1.88

1.88

1.88

1.88

1.88

1.88

สิงคโปร์

-Real GDP (%yoy)

1.1

1.0

2.2

-

-

-

1.1

-Real GDP (%qoq_sa)

-

1.0

1.2

-

-

-

-

-ดัชนี PMI for Manufacturing (ระดับ)

50.0

49.9

50.3

50.5

50.7

50.6

50.7

-มูลค่าการส่งออกสินค้า (SGD) (%yoy)

-10.1

-15.6

0.2

-4.6

16.6

1.7

9.1

-มูลค่าการนาเข้าสินค้า (SGD) (%yoy)

-13.4

-17.4

-4.7

-9.3

11.2

5.6

8.5

-อัตราเงินเฟ้อทั่วไป (CPI) (%yoy)

4.8

4.1

4.0

3.7

3.4

3.1

3.1

-ยอดค้าปลีก (%yoy)

2.2

2.2

0.3

2.2

1.3

-

1.3

-อัตราดอกเบี้ย (SIBOR) (Overnight)

3.62

3.82

3.62

3.62

3.48

3.75

3.75

อินโดนีเซีย

-Real GDP (%yoy)

5.0

4.9

5.0

-

-

-

5.0

-Real GDP (%qoq_sa)

-

0.8

1.2

-

-

-

-

-ดัชนี PMI for Manufacturing (ระดับ)

52.1

53.2

51.8

52.2

52.9

52.7

52.8

-มูลค่าการส่งออกสินค้า (%yoy)

-11.3

-18.6

-8.3

-5.8

-8.2

-9.4

-8.8

-มูลค่าการนาเข้าสินค้า (%yoy)

-6.6

-11.9

-1.0

-3.8

0.3

15.8

7.5

-อัตราเงินเฟ้อทั่วไป (CPI) (%yoy)

3.7

2.9

2.7

2.8

2.6

2.8

-

-ยอดค้าปลีก (%yoy)

1.5

1.4

1.5

1.5

1.1

2.3

1.7

-อัตราดอกเบี้ยนโยบาย (Reverse Repo)

6.00

5.75

6.00

6.00

6.00

6.00

6.00

มาเลเซีย

-Real GDP (%yoy)

3.7

3.3

3.0

-

-

-

3.7

-Real GDP (%qoq_sa)

-

2.6

-2.1

-

-

-

-

-ดัชนี PMI for Manufacturing (ระดับ)

47.8

47.5

47.5

47.9

49.0

49.5

49.3

-มูลค่าการส่งออกสินค้า (MYR) (%yoy)

-8.0

-15.2

-6.9

-10.1

8.7

-0.8

3.9

-มูลค่าการนาเข้าสินค้า (MYR) (%yoy)

-6.4

-16.3

1.3

2.9

18.7

8.4

13.6

-อัตราเงินเฟ้อทั่วไป (CPI) (%yoy)

2.5

2.0

1.6

1.5

1.5

1.8

1.6

-ยอดค้าปลีก (%yoy)

9.0

5.9

4.5

9.0

2.6

-

2.6

-อัตราดอกเบี้ยนโยบาย (Overnight)

3.00

3.00

3.00

3.00

3.00

3.00

3.00

Global Economic Indicators

ที่มา: ฐานข้อมูล CEIC และ Tradingeconomics รวมรวบโดย สศค.

ปี 66

Q3/66

Q4/66

ธ.ค.66

ม.ค.67

ก.พ.67

YTD

ฟิลิปปินส์

-Real GDP (%yoy)

5.6

6.0

5.6

-

-

-

5.6

-Real GDP (%qoq_sa)

-

3.8

2.1

-

-

-

-

-ดัชนี PMI for Manufacturing (ระดับ)

51.8

50.7

52.2

51.5

50.9

51.0

51.0

-มูลค่าการส่งออกสินค้า (%yoy)

-7.6

-1.2

-10.7

-0.5

9.1

-

9.1

-มูลค่าการนาเข้าสินค้า (%yoy)

-8.1

-14.1

-1.4

-3.5

-7.6

-

-7.6

-อัตราเงินเฟ้อทั่วไป (CPI) (%yoy)

6.0

5.4

4.3

3.9

2.8

3.4

3.1

-ยอดค้าปลีก (%yoy)

-0.3

-1.8

-4.2

-0.3

-5.1

-

-5.1

-อัตราดอกเบี้ยนโยบาย (Overnight)

6.50

6.25

6.50

6.50

6.50

6.50

6.50

เวียดนาม

-Real GDP (%yoy)

5.0

5.5

6.7

-

-

-

5.7

-Real GDP (%qoq_sa)

-

2.1

1.7

-

-

-

-

-ดัชนี PMI for Manufacturing (ระดับ)

48.3

49.6

48.6

48.9

50.3

50.4

50.4

-มูลค่าการส่งออกสินค้า (%yoy)

-4.8

-2.4

6.9

8.1

46.0

-5.5

17.2

-มูลค่าการนาเข้าสินค้า (%yoy)

-9.4

-5.8

6.0

7.8

34.4

0.0

14.3

-อัตราเงินเฟ้อทั่วไป (CPI) (%yoy)

3.3

2.9

3.5

3.6

3.4

4.0

3.7

-ยอดค้าปลีก (%yoy)

0.0

6.9

8.7

10.4

8.1

8.3

8.2

-อัตราดอกเบี้ยนโยบาย

4.50

4.50

4.50

4.50

4.50

4.50

4.50

อินเดีย

-Real GDP (%yoy)

7.7

8.1

8.4

-

-

-

7.7

-Real GDP (%qoq_sa)

-

-0.3

1.2

-

-

-

-

-ดัชนี PMI for Manufacturing (ระดับ)

56.8

57.9

55.5

54.9

56.5

56.9

56.7

-มูลค่าการส่งออกสินค้า (%yoy)

-4.8

-3.2

1.0

0.8

3.1

11.9

7.5

-มูลค่าการนาเข้าสินค้า (%yoy)

-6.4

-9.8

0.1

-4.8

1.0

12.2

6.6

-อัตราเงินเฟ้อทั่วไป (WPI) (%yoy)

0.0

-0.6

0.3

0.9

0.3

0.2

0.2

-อัตราดอกเบี้ยนโยบาย

6.50

6.50

6.50

6.50

6.50

6.50

6.50

ออสเตรเลีย

-Real GDP (%yoy)

2.0

2.4

1.3

-

-

-

5.6

-Real GDP (%qoq_sa)

-

0.3

0.2

-

-

-

-

-ดัชนี PMI for Manufacturing (ระดับ)

48.8

49.3

47.8

47.6

50.1

47.8

49.0

-มูลค่าการส่งออกสินค้า (%yoy)

-5.9

-11.2

-8.9

-7.0

-7.2

-

-7.2

-มูลค่าการนาเข้าสินค้า (%yoy)

0.1

-2.5

-2.2

-5.6

-1.6

-

-1.6

-อัตราเงินเฟ้อทั่วไป (CPI) (%yoy)

5.6

5.4

4.1

4.1

-

-

-

-ยอดค้าปลีก (%yoy)

3.3

1.9

1.4

3.3

1.2

1.4

1.3

-อัตราดอกเบี้ยนโยบาย (Repo rate)

4.35

4.10

4.35

4.35

4.35

4.35

4.35

สหราชอาณาจักร

-Real GDP (%yoy)

0.1

0.2

-0.2

-

-

-

0.1

-Real GDP (%qoq_sa)

-

-0.1

-0.3

-

-

-

-

-ดัชนี PMI for Manufacturing (ระดับ)

46.4

44.2

46.1

46.2

47.0

47.5

47.3

-มูลค่าการส่งออกสินค้า (%yoy)

-2.9

-11.9

-13.1

-27.6

12.8

-

12.8

-มูลค่าการนาเข้าสินค้า (%yoy)

-4.5

-10.8

-5.8

-12.5

-8.3

-

-8.3

-อัตราเงินเฟ้อทั่วไป (CPI) (%yoy)

7.3

6.7

4.2

4.0

4.0

3.4

3.7

-ยอดค้าปลีก (%yoy)

-2.8

-1.9

-1.6

-2.7

0.5

0.1

0.3

-อัตราดอกเบี้ยนโยบาย (Repo Rate)

5.25

5.25

5.25

5.25

5.25

5.25

5.25

Global Economic Indicators

ที่มา: ฐานข้อมูล CEIC และ Tradingeconomics รวมรวบโดย สศค.

ปี 66

Q3/66

Q4/66

ธ.ค.66

ม.ค.67

ก.พ.67

YTD

เยอรมนี

-Real GDP (%yoy)

-0.3

-0.3

-0.2

-

-

-

-0.3

-Real GDP (%qoq_sa)

-

-0.0

-0.3

-

-

-

-

-ดัชนี PMI for Manufacturing (ระดับ)

42.6

39.2

42.2

43.3

45.5

42.5

44.0

-มูลค่าการส่งออกสินค้า (%yoy)

-

-6.1

-

-

-

-

-1.3

-มูลค่าการนาเข้าสินค้า (%yoy)

-

-9.4

-

-

-

-

-7.1

-อัตราเงินเฟ้อทั่วไป (CPI) (%yoy)

5.9

5.6

3.6

3.7

2.9

2.5

2.7

-ยอดค้าปลีก (%yoy)

-3.3

-2.7

-0.7

-0.4

-1.2

-2.7

-1.9

-อัตราดอกเบี้ยนโยบาย (Main Refinancing Operations)

4.50

4.50

4.50

4.50

4.50

4.50

4.50

สเปน

-Real GDP (%yoy)

2.5

1.9

2.0

-

-

-

2.5

-Real GDP (%qoq_sa)

-

0.4

0.6

-

-

-

-

-ดัชนี PMI for Manufacturing (ระดับ)

48.0

47.3

45.9

46.2

49.2

51.5

50.4

-มูลค่าการส่งออกสินค้า (%yoy)

-

-8.3

-

-

-

-

-0.1

-มูลค่าการนาเข้าสินค้า (%yoy)

-

-7.1

-

-

-

-

-4.4

-อัตราเงินเฟ้อทั่วไป (HCPI) (%yoy)

3.5

2.8

3.3

3.1

3.4

2.8

3.1

-ยอดค้าปลีก (%yoy)

2.5

2.1

2.9

2.7

0.2

-

6.1

-อัตราดอกเบี้ยนโยบาย (Main Refinancing Operations)

4.50

4.50

4.50

4.50

4.50

4.50

4.50

ฝรั่งเศส

-Real GDP (%yoy)

0.9

0.6

0.7

-

-

-

0.9

-Real GDP (%qoq_sa)

-

-0.0

0.1

-

-

-

-

-ดัชนี PMI for Manufacturing (ระดับ)

45.5

45.1

42.6

42.1

43.1

47.1

45.1

-มูลค่าการส่งออกสินค้า (%yoy)

-

-3.8

-

-

-

-

2.8

-มูลค่าการนาเข้าสินค้า (%yoy)

-

-8.0

-

-

-

-

-3.4

-อัตราเงินเฟ้อทั่วไป (CPI) (%yoy)

4.9

4.7

3.7

3.7

3.1

3.0

3.0

- ยอดค้าปลีก (%yoy)

-1.9

-1.6

-1.0

-1.1

-

-

-1.9

-อัตราดอกเบี้ยนโยบาย (Main Refinancing Operations)

4.5

4.50

4.50

4.50

4.50

4.50

4.50

อิตาลี

-Real GDP (%yoy)

1.0

0.7

0.6

-

-

-

1.0

-Real GDP (%qoq_sa)

-

0.2

0.2

-

-

-

-

-ดัชนี PMI for Manufacturing (ระดับ)

46.8

45.6

44.9

45.3

48.5

48.7

48.6

-มูลค่าการส่งออกสินค้า (%yoy)

-

-4.6

-

-

-

-

0.7

-มูลค่าการนาเข้าสินค้า (%yoy)

-

-13.9

-

-

-

-

-7.3

-อัตราเงินเฟ้อทั่วไป (CPI) (%yoy)

5.6

5.6

1.0

0.6

0.8

0.8

0.4

-ยอดค้าปลีก (%yoy)

2.9

2.3

1.7

1.6

-0.1

-

3.2

-อัตราดอกเบี้ยนโยบาย (Main Refinancing Operations)

4.50

4.50

4.50

4.50

4.50

4.50

4.50

Global Economic Indicators

ที่มา: ฐานข้อมูล CEIC และ Tradingeconomics รวมรวบโดย สศค.

Contributors

Macroeconomic Policy Bureau Fiscal Policy Office

Ministry of Finance 02-273-9020 Ext. 3259

ดร.พิสิทธิ พวั พนั ธ

ผูอ้ นวยกำรกองนโยบำย

เศรษฐกิจมหภำค

ดร.พงศน์ คร โภชากรณ์

ผู เชี ยวชำญเฉพำ

ด้ำ นเศรษฐกิจมหภำค

ดร.ปาริฉัตร คลิ้ง

ทอง

ผูอ้ นวยกำรส่วนกำรวิเครำหเศรษฐกิจ

กำรเงินและต่ำงประเทศ

ดร.นรพชั ร อศั ววลั ลภ

ผูอ้ นวยกำรส่วนนวตั กรรมขอ้ มูล

เศรษฐกิจและงำนวิจยั

ดร.ยุทธภูมิ จารุเศรน์

ผอู นวยกำรส่วนแบบจำ ลอง

และประมำณกำรเศรษฐกิจกำรคลงั

ณัฐพล ศรพี จนารถ

ผูอ้ นวยกำรส่วนกำรวิเครำห์

เศรษฐกิจมหภำค

Contributors

Macroeconomic Policy Bureau Fiscal Policy Office

Ministry of Finance02-273-9020 Ext. 3259

ศักดิ์ส ทธิ์ สว่างศุข

ชานน ลิมป์ประสิทธิพร

ผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศ (GDP)

ศิวัจน์ จิรกัลป์ยาพัฒน์

อุตสำหกรรม

วรรณวิภา แสงสารพันธ์

เกษตรกรรม

พิมพาภรณ์ สุทธหลวง

กำรท่องเที่ยว

เมธาวี ชื่นบาล

กำรบริโภค

ลภัส แจ่มแจ้ง

กำรลงทุน

ฐิตินันท์ เลิศกาญจนพร

กำรคลัง

ภัทราพร คุ้มสะอาด

กำรค้ำระหว่ำงประเทศ

วาสนา บุญพุ่ม

เสถียรภำพเศรษฐกิจ

ธรรมฤทธิ์ คุณหิรัญ

ธนพล กาลเนาวกุล

จิรัฐกาล รอดภัยปวง

เศรษฐกิจต่ำงประเทศ

ญาณพัฒน์ สุขสาราญ

กำรเงิน ตลำดอัตรำแลกเปลี่ยน

ที่มา: สำนักงานเศรษฐกิจการคลัง กระทรวงการคลัง


เว็บไซต์นี้มีการใช้งานคุกกี้ ศึกษารายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และ ข้อตกลงการใช้บริการ รับทราบ