การประชุมสภาผู้ว่าการธนาคารโลกและกองทุนการเงินระหว่างประเทศ(Spring Meetings) และการประชุมอื่น ๆ ที่เกี่ยวของประจำปี 2567

ข่าวเศรษฐกิจ Monday April 22, 2024 14:37 —กระทรวงการคลัง

การประชุมสภาผูว่าการธนาคารโลกและกองทุนการเงินระหว่างประเทศ (Spring Meetings) และการประชุมอื่น ๆ ที่เกี่ยวของประจำปี 2567 ระหว่างวันที่ 18 - 19 เมษายน 2567 ณ กรุงวอชิงตัน ดี.ซี. สหรัฐอเมริกา

นายพรชัย ฐีระเวช ผู0อำนวยการสำนักงานเศรษฐกิจการคลัง ในฐานะโฆษกกระทรวงการคลัง แถลงวB ในระหวBงวันที่ 18 G 19 เมษายน 2567 นายวโรทัย โกศลพิศิษฐNกุล ที่ปรึกษาด0นเศรษฐกิจระหวBงประเทศ ในฐานะ ผู0วBการสำรองชั่วคราวของไทยในธนาคารโลก ได0เข0รBวมการประชุมสภาผู0วBการธนาคารโลกและกองทุนการเงินระหวBงประเทศ (Spring Meetings) ประจำปc 2567 โดยเข0รBวมการประชุมคณะกรรมการพัฒนาการของธนาคารโลก (Development Committee Meeting) ครั้งที่ 109 และการประชุมอื่น ๆ ที่เกี่ยวของ (การประชุมฯ) ณ กรุงวอชิงตัน ดี.ซี. สหรัฐอเมริกา ซึ่งมีผู0เข0รBวมประชุมประกอบด0วย นาย Ajay Banga ประธานธนาคารโลก นาง Kristalina Georgieva กรรมการจัดการกองทุนการเงินระหวางประเทศ และผู0วBการธนาคารโลกของ 25 กลุBมออกเสียง ที่เป|นตัวแทนของประเทศสมาชิก 189 ประเทศ และมีหัวข0อการประชุมคือ }From Vision to Impact: Implementing the World Bank Group Evolutionโ

ผลการประชุมคณะกรรมการพัฒนาการของธนาคารโลก ครั้งที่ 109 สรุปได ดังนี้ 1) ที่ประชุมฯ ได0ติดตามความคืบหน0ของการวิวัฒนNธนาคารโลก (Evolution of the World Bank Group) ที่ได0ริเริ่มเมื่อปc 2566 โดยการวิวัฒนNธนาคารโลกมีสาระสำคัญเกี่ยวกับประเด็นตBง ๆ ได0แกB (1) การปฏิรูปโครงสร0งการดำเนินงานของธนาคารโลก (2) การเพิ่มขีดความสามารถในการใหความชวยเหลือทางการเงินแกประเทศสมาชิก (3) การรักษาระดับความมั่นคงทางการเงิน (4) การสBงเสริมการระดมทุนจากภาคเอกชน และ (5) การพัฒนานวัตกรรมทางการเงิน

2) ที่ประชุมรับทราบรายงานความคืบหน0ของการวิวัฒนNธนาคารโลก จากประธานธนาคารโลกวB ธนาคารโลกไดดำเนินการเพื่อการพัฒนาดานสิ่งแวดลอมและสังคมของธนาคารโลกอยางเขมแข็งผาน Environmental and Social Framework (ESF) และมีเครื่องมือเตรียมความพร0อมและตอบสนองตBอวิกฤต หรือ Gloal Challenge Programs (GCP) นอกจากนี้ ยังมีหองปฏิบัติการการลงทุนภาคเอกชน หรือ Private Sector Investment La (PSIL) เพื่อให0ประเทศสมาชิกได0รับการสนับสนุนอยBงเต็มที่เพื่อกำจัดความยากจนขั้นรุนแรง ความไมBเทBเทียม และรับมือกับความทาทายระดับโลก

3) ที่ประชุมฯ ได0สนับสนุนการปรับรูปแบบการบริหารองคNกรของธนาคารโลกเพื่อเตรียมพร0อมรับมือกับวิกฤตและความท0ทายที่โลกกำลังเผชิญ และเรียกร0องให0ธนาคารโลกปรับปรุงกระบวนการอนุมัติโครงการให0 ความชBวยเหลือทางการเงินและทางวิชาการเพื่อตอบสนองความต0องการทางการเงินของประเทศสมาชิกให0รวดเร็ว เรียบงBย และมีประสิทธิภาพมากขึ้น และมีการบูรณาการการดำเนินงานอยBงเป|นระบบเพื่อเพิ่มโอกาสในการระดมทุนจากภาคเอกชน นอกจากนี้ ที่ประชุมฯ ไดเนนย้ำถึงการสรางความรวมมืออยางใกลชิดระหวางธนาคารโลกและประเทศสมาชิกเพื่อการแกไขปญหาที่เกิดจากการกระเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ สงคราม และความขัดแยงทางการเมือง

อนึ่ง ในห0วงการประชุม Spring Meetings ของธนาคารโลกและกองทุนการเงินระหวBงประเทศ ที่ปรึกษาด0นเศรษฐกิจระหวBงประเทศได0มีโอกาสหารือทวิภาคีกับผู0แทนจากสถาบันจัดอันดับความนBเชื่อถือ จาก Moody-s และ S&P ในประเด็นสถานการณNเศรษฐกิจการเงินการคลังของประเทศไทยและนโยบายการคลัง ในระยะปานกลาง และได0มีการหารือทวิภาคีกับผู0แทนจาก Fiscal Affairs Department ของกองทุนการเงินระหวBงประเทศในประเด็นการให0ความชBวยเหลือในการพัฒนาขีดความสามารถ (Capacity Development) แกBประเทศสมาชิก เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพนโยบายการคลังและเสริมสร0งความเข0มแข็งให0กับหนBวยงานภาครัฐ และได0เข0รBวมการประชุมรายงานเศรษฐกิจของภูมิภาคเอเชียแปซิฟ๔ค โดยมีรายงานวBแม0วBการเติบโตของเศรษฐกิจโลกในปc 2567 G 2568 จะยังเติบโตคBอนข0งต่ำ แตBภูมิภาคเอเชียแปซิฟ๔คจะยังคงสนับสนุนการเติบโตเศรษฐกิจโลกกวBร0อยละ 60 นอกจากนี้ยังได0มีการหารือ กับผู0แทนจากสถานเอกอัครราชทูตไทย ณ กรุงวอชิงตัน ดี.ซี. ในประเด็นความรBวมมือเพื่อการเตรียมการ ในการประชาสัมพันธการเปนเจาภาพการประชุมประจำปสภาผูวาการธนาคารโลกและกองทุนการเงินระหวางประเทศในป 2569 ของประเทศไทยให0มีประสิทธิภาพตอไป

การประชุมฯ เป|นเวทีที่มีความสำคัญในการสBงเสริมความรBวมมือด0นการเงินการคลังและด0นวิชาการระหวBงธนาคารโลก กองทุนการเงินระหวBงประเทศ ประเทศไทย และประเทศสมาชิกของธนาคารโลก 189 ประเทศ และเป|นโอกาสอันดีในการหารือกับผู0แทนจากประเทศสมาชิก สถาบันการเงิน และองคNกรการเงินระหวBงประเทศ เพื่อสร0งความเชื่อมั่นทางเศรษฐกิจของประเทศไทยซึ่งเป|นก0วสำคัญที่ชBวยสนับสนุนให0ประเทศสามารถบรรลุเป๖าหมายด0นความยั่งยืนและสามารถเป|นศูนยกลางของความเติบโตอยางยั่งยืนที่สำคัญตอไปได0ในอนาคต

__________________________________________________________________________

กองนโยบายเศรษฐกิจระหวางประเทศ

สำนักงานเศรษฐกิจการคลัง โทร. 0 2273 9020 ตอ 3627

ที่มา: กระทรวงการคลัง


เว็บไซต์นี้มีการใช้งานคุกกี้ ศึกษารายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และ ข้อตกลงการใช้บริการ รับทราบ