สถานการณ์การส่งออกสินค้าอุตสาหกรรมเดือนมกราคม ปี 2564

ข่าวเศรษฐกิจ Tuesday March 9, 2021 13:42 —สำนักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม

สถานการณ์การส่งออกสินค้าอุตสาหกรรมเดือนมกราคม ปี 2564 มกราคม ปี 2564 การส่งออกสินค้าอุตสาหกรรม (ไม่รวมทองคำ) ขยายตัวร้อยละ 8.41 เมื่อเทียบกับเดือนเดียวกันของปีก่อน โดยขยายตัวจากรถยนต์ อุปกรณ์และส่วนประกอบ คอมพิวเตอร์ อุปกรณ์และส่วนประกอบ ถุงมือยาง เครื่องซักผ้า และเคมีภัณฑ์ เป็นต้น สำหรับการส่งออกสินค้าอุตสาหกรรม เมื่อไม่รวมทองคำ อาวุธ รถถัง และอากาศยาน ขยายตัวร้อยละ 8.22 ด้านตลาดส่งออกสินค้าอุตสาหกรรม (ไม่รวมทองคำ) ขยายตัวเกือบทุกตลาด เช่น สหรัฐอเมริกา จีน ญี่ปุ่น อาเซียน (5) และ CLMV มีเพียงตลาดและสหภาพยุโรป (27) ที่ยังคงหดตัว อัตราการขยายตัวของตลาดส่งออกสินค้าอุตสาหกรรมที่สำคัญของไทย (ไม่รวมทองคำ) เดือนมกราคม ปี 2564

World

+841 %.China

+2.8%EU (27 )Japan

+6.3%-5.2%USA

+13 .2%CLMV

+9.2%Asean (5)+11 .9%หมายเหตุ : อาเซียน (5) ได้แก่ ประเทศอินโดนีเซีย มาเลเซีย ฟิลิปปินส์ สิงคโปร์ และบรูไน

CLMV ได้แก่ ประเทศกัมพูชา ลาว เมียนมา และเวียดนาม

เดือนมกราคม 2564 การส่งออกรวมมีมูลค่า 19,706.6 ล้านเหรียญสหรัฐฯ ขยายตัวร้อยละ 0.35 เมื่อเทียบกับเดือนเดียวกันของปีก่อน เมื่อพิจารณาการส่งออกในหมวดสินค้าสำคัญพบว่า สินค้าอุตสาหกรรม มีมูลค่า 15,928.43 ล้านเหรียญสหรัฐฯ ขยายตัวร้อยละ 0.88 สินค้าอุตสาหกรรม (ไม่รวมทองคำ) มีมูลค่า 15,811.46 ล้านเหรียญสหรัฐฯ ขยายตัวร้อยละ 8.41 โดยขยายตัวจากรถยนต์ อุปกรณ์และส่วนประกอบ คอมพิวเตอร์ อุปกรณ์และส่วนประกอบ ถุงมือยาง เครื่องซักผ้า และเคมีภัณฑ์ ด้านสินค้าเกษตรกรรม มีมูลค่า 1,785.42 ล้านเหรียญสหรัฐฯ ขยายตัวร้อยละ 9.56 สินค้าอุตสาหกรรมการเกษตร มีมูลค่า 1,350.25 ล้านเหรียญสหรัฐฯ หดตัวร้อยละ 3.17 การนำเข้ามีมูลค่ารวม 19,908.96 ล้านเหรียญสหรัฐฯ หดตัวร้อยละ 5.24 เมื่อเทียบกับเดือนเดียวกันของปีก่อน โดยสินค้าเชื้อเพลิงมีมูลค่า 2,445.30 ล้านเหรียญสหรัฐฯ หดตัวร้อยละ 30.15 สินค้าทุนมีมูลค่า 5,048.22 ล้านเหรียญสหรัฐฯ หดตัวร้อยละ 10.6 โดยสินค้าทุนหดตัวจากเครื่องจักรกลและส่วนประกอบ ผลิตภัณฑ์โลหะ ด้านสินค้าวัตถุดิบและกึ่งสำเร็จรูป (ไม่รวมทองคำ) มีมูลค่า 7,330.07 ล้านเหรียญสหรัฐฯ หดตัวร้อยละ 1.28 จากการนำเข้าเหล็ก เหล็กกล้าและผลิตภัณฑ์ ผ้าผืน ด้าย และเส้นใย

ด้านตลาดส่งออกสินค้าอุตสาหกรรม (ไม่รวมทองคำ) ขยายตัวเกือบทุกตลาด เช่น สหรัฐอเมริกา จีน ญี่ปุ่น อาเซียน (5) และ CLMV มีเพียงตลาดสหภาพยุโรป (27) ที่ยังคงหดตัว

การส่งออกสินค้าอุตสาหกรรมที่สำคัญเครื่องอิเล็กทรอนิกส์ ยานยนต์ อุปกรณ์ และส่วนประกอบ ในเดือน ม.ค. 2564 มีมูลค่าการส่งออก 3,159.6 ล้านในเดือน ม.ค. 2564 มีมูลค่าการส่งออก 3,305.6 ล้านเหรียญเหรียญสหรัฐฯ ขยายตัวร้อยละ 13.0

เมื่อเทียบกับเดือนเดียวกันสหรัฐฯ ขยายตัวร้อยละ 18.8 เมื่อเทียบกับเดือนเดียวกันของปีก่อนของปีก่อนจากการส่งออกเครื่องคอมพิวเตอร์อุปกรณ์และตามการส่งออกรถยนต์อุปกรณ์และส่วนประกอบขยายตัวร้อยละ ส่วนประกอบ แผงวงจรไฟฟ้า อุปกรณ์กึ่งตัวนำ ทรานซิสเตอร์และ25.7 จากการส่งออกไปตลาดสำคัญ เช่น ออสเตรเลีย ญี่ปุ่น ไดโอด โดยขยายตัวร้อยละ 9.2 12.6 และ 35.7 ตามลำดับ จากการสหรัฐอเมริกา CLMV ASEAN(5) และจีน เป็นต้นส่งออกไปยังประเทศฮ่องกง จีน เนเธอร์แลนด์ และสิงคโปร์

เครื่องใช้ไฟฟ้าสิ่งทอและเครื่องนุ่งห่ม ในเดือน ม.ค. 2564 มีมูลค่าการส่งออก 2,178.8 ล้านเหรียญในเดือน ม.ค. 2564 มีมูลค่าการส่งออก 478.6 ล้านเหรียญสหรัฐฯ ขยายตัวร้อยละ 10.4 เมื่อเทียบกับเดือนเดียวกันของปีก่อน สหรัฐฯ หดตัวร้อยละ 14.2 เมื่อเทียบกับเดือนเดียวกันของปีก่อนจากการส่งออกสินค้าเครื่องซักผ้าเครื่องซักแห้งและส่วนประกอบ จากการส่งออกสินค้าต้นน้ำอย่างด้ายและเส้นใยประดิษฐ์หดตัวร้อยละ เครื่องตัดต่อและป้องกันไฟฟ้า ขยายตัวร้อยละ 49.6 และ 30.3 จาก5.3 จากการส่งออกไปประเทศบังคลาเทศ เกาหลีใต้ ส่วนสินค้ากลางการส่งออกไปยังประเทศสหรัฐอเมริกา จีน

ออสเตรเลีย มาเลเซีย น้ำอย่างผ้าผืนหดตัวร้อยละ 14.9 จากการส่งออกไปประเทศCLMV และฮ่องกง เป็นต้นบังคลาเทศ และสินค้าปลายน้ำอย่างเสื้อผ้าสำเร็จรูปหดตัวร้อยละ 2.9 จากการส่งออกไปยังประเทศสหรัฐอเมริกา ญี่ปุ่น จีน เป็นต้น เม็ดพลาสติก อัญมณีและเครื่องประดับ (ไม่รวมทองคำแท่ง) ในเดือน ม.ค. 2564 มีมูลค่าการส่งออก 693.4 ล้านเหรียญในเดือน ม.ค. 2564 มีมูลค่าการส่งออก 392.6 ล้านสหรัฐฯ ขยายตัวร้อยละ 4.1 เมื่อเทียบกับเดือนเดียวกันของปีก่อนจากเหรียญสหรัฐฯ หดตัวร้อยละ 26.0 จากการส่งออกอัญมณีประเภท การส่งออกไปยังประเทศ CLMV อาเซียน (5) สหรัฐอเมริกา บังคลาพลอยไปยังประเทศสหรัฐอเมริกา อินเดีย และอิตาลี การส่งออกอัญมณีเทศ เกาหลีใต้ และไต้หวัน ทั้งนี้การส่งออกเม็ดพลาสติกในเดือน ม.ค. และเครื่องประดับมีมูลค่าการส่งออก 509.6 ล้านเหรียญสหรัฐฯ หด2564 มีปริมาณ 484.2 ล้านกิโลกรัม หดตัวร้อยละ 9.0 ตัวร้อยละ 70.6 เมื่อเทียบกับเดือนเดียวกันของปีก่อน จากการส่งออกทองคำแท่งที่ยังไม่ได้ขึ้นรูป มูลค่า 117.0 ล้านเหรียญสหรัฐ หดตัวร้อยละ 90.3 ไปยังประเทศสิงคโปร์ อินเดีย เป็นต้น

ที่มา: สำนักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม กระทรวงอุตสาหกรรม


เว็บไซต์นี้มีการใช้งานคุกกี้ ศึกษารายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และ ข้อตกลงการใช้บริการ รับทราบ