พยากรณ์อากาศเพื่อการเกษตรระหว่าง 10 มิถุนายน 2559 - 16 มิถุนายน 2559

ข่าวทั่วไป Friday June 10, 2016 14:47 —กรมอุตุนิยมวิทยา

ผลกระทบของลักษณะอากาศต่อการเกษตรตามภาคต่าง ๆ

ระหว่าง 10 มิถุนายน 2559 - 16 มิถุนายน 2559

ภาคเหนือ

ในช่วงวันที่ 10-11 มิ.ย. มีฝนฟ้าคะนอง ร้อยละ 30-40 ของพื้นที่ ส่วนในช่วงวันที่ 12-16 มิ.ย. มีฝนฟ้าคะนอง ร้อยละ 40-60 ของพื้นที่ และมีฝนตกหนักบางพื้นที่โดยเฉพาะด้านตะวันตก ของภาค อุณหภูมิต่ำสุด 22-26 องศาเซลเซียส อุณหภูมิสูงสุด 30-36 องศาเซลเซียส ลมตะวันตกเฉียงใต้ ความเร็ว 15-30 กม. /ชม.

  • ลิ้นจี่ (เก็บเกี่ยวแล้ว) : ควรตัดแต่งกิ่ง ใส่ปุ๋ย
  • ลำไย (ผลเจริญเติบโต) : ควรระวังหนอนเจาะขั้วผล มวนลำไย
  • สตอเบอรี : ควรบำรุงต้น ใส่ปุ๋ย
  • ส้มเขียวหวาน : ควรระวังหนอนชอนใบ โรค แคงเกอร์
  • มะขามหวาน (ติดฝัก) : ควรระวังหนอนเจาะ ฝัก โรคราสีชมพู โรคราแป้ง

หมายเหตุhttp://www.arcims.tmd.go.th/dailydata/PET7day.php

ปริมาณฝนสะสมเดือนมิถุนายน ฝนที่ตกสะสมในเดือนนี้มีปริมาณเพิ่มขึ้นในหลายพื้นที่ เว้นแต่บริเวณภาคเหนือตอนล่าง ภาคกลาง ภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบนและด้านตะวันตก และภาคใต้ฝั่งตะวันออก ยังคงมีฝนตกน้อย ปริมาณฝนสะสม 7 วันที่ผ่านมา ในช่วง 7 วันที่ผ่านมามีฝนตกเป็นบริเวณกว้าง โดยจะมีฝนสะสมสูงสุดในภาคตะวันอกเฉียงเหนือ และภาคตะวันออก ศักย์การคายระเหยน้ำ : ในช่วง 7 วันที่ผ่านมาบริเวณภาคกลาง ด้านตะวันออกและตอนล่างของภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และภาคใต้มีค่าศักย์การคายระเหยน้ำสะสมสูงกว่าบริเวณอื่นๆ โดยมีค่าอยู่ในช่วง 30-35 มม. ซึ่งจะทำให้เกิดการสูญเสียน้ำจากดินและพืชมากกว่าบริเวณอื่น สมดุลน้ำ : ในช่วง 7 วันที่ผ่านมามีฝนตกในหลายพื้นที่ โดยปริมาณฝนที่ตกมีค่ามากกว่าปริมาณน้ำที่ระเหยจากดินและการคายน้ำของพืช ทำให้ในหลายพื้นที่มีค่าสมดุลน้ำเป็นบวก

เว้นแต่บริเวณภาคกลางและบางพื้นที่ของภาคตะวันออกเฉียงเหนือและภาคใต้ ที่มีค่าสมดุลน้ำเป็นลบ โดยมีค่าอยู่ในช่วง (-1) ถึง (-30) คำแนะนำ : ในช่วง 7 วันที่ผ่านมาหลายพื้นที่ของประเทศไทยมีฝนตกโดยเฉพาะในภาคเหนือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และภาคตะวันออก ส่วนในช่วง 7 วันข้างหน้าแม้จะมีโอกาสเกิดฝนตกแต่โดยส่วนใหญ่ปริมาณยังไม่เพียงพอต่อความต้องการของพืชโดยเฉพาะบริเวณภาคกลางและภาคใต้ เกษตรกรควรให้น้ำแก่พืชอย่างเหมาะสม และให้น้ำอย่างประหยัด เช่น ให้น้ำเฉพาะบริเวณทรงพุ่ม หรือวิธีน้ำหยด รวมทั้งกำจัดวัชพืชบริเวณโคนต้นเพื่อไม่ให้แย่งอาหารและน้ำจากต้นพืช โดยเฉพาะไม้ผลที่อยู่ในระยะเจริญเติบโตทางผล หากได้รับน้ำไม่เพียงพอจะทำให้ผลร่วงหล่น และแคระแกร็น ผลผลิตลดลง

ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ

ในช่วงวันที่ 10 - 11 มิ.ย. มีฝนฟ้าคะนอง ร้อยละ 20-30 ของพื้นที่ ส่วนมากทางตอนบนของภาค ส่วนในช่วงวันที่ 12-16 มิ.ย. มีฝนฟ้าคะนอง ร้อยละ 40-60 ของพื้นที่ และโดยเฉพาะในช่วงวันที่ 15-16 มิ.ย. มีฝนตกหนักบางพื้นที่ส่วนมากทางตอนบนและด้านตะวันออกของภาค อุณหภูมิต่ำสุด 24-27 องศาเซลเซียส อุณหภูมิสูงสุด 29-36 องศาเซลเซียส ลมตะวันตกเฉียงใต้ ความเร็ว 15-30 กม. /ชม.

  • มะนาว : ควรระวังโรคแคงเกอร์
  • มันสำปะหลัง : ควรระวังโรคหัวเน่า โคนเน่า
  • ดาวเรือง : ควรระวังหนอนชอนใบ หนอนกระทู้
  • มะม่วง : ควรระวังโรคแอนแทรคโนส แมลงวันผลไม้

หมายเหตุhttp://www.arcims.tmd.go.th/dailydata/PET7day.php

ปริมาณฝนสะสมเดือนมิถุนายน ฝนที่ตกสะสมในเดือนนี้มีปริมาณเพิ่มขึ้นในหลายพื้นที่ เว้นแต่บริเวณภาคเหนือตอนล่าง ภาคกลาง ภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบนและด้านตะวันตก และภาคใต้ฝั่งตะวันออก ยังคงมีฝนตกน้อย ปริมาณฝนสะสม 7 วันที่ผ่านมา ในช่วง 7 วันที่ผ่านมามีฝนตกเป็นบริเวณกว้าง โดยจะมีฝนสะสมสูงสุดในภาคตะวันอกเฉียงเหนือ และภาคตะวันออก ศักย์การคายระเหยน้ำ : ในช่วง 7 วันที่ผ่านมาบริเวณภาคกลาง ด้านตะวันออกและตอนล่างของภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และภาคใต้มีค่าศักย์การคายระเหยน้ำสะสมสูงกว่าบริเวณอื่นๆ โดยมีค่าอยู่ในช่วง 30-35 มม. ซึ่งจะทำให้เกิดการสูญเสียน้ำจากดินและพืชมากกว่าบริเวณอื่น สมดุลน้ำ : ในช่วง 7 วันที่ผ่านมามีฝนตกในหลายพื้นที่ โดยปริมาณฝนที่ตกมีค่ามากกว่าปริมาณน้ำที่ระเหยจากดินและการคายน้ำของพืช ทำให้ในหลายพื้นที่มีค่าสมดุลน้ำเป็นบวก

เว้นแต่บริเวณภาคกลางและบางพื้นที่ของภาคตะวันออกเฉียงเหนือและภาคใต้ ที่มีค่าสมดุลน้ำเป็นลบ โดยมีค่าอยู่ในช่วง (-1) ถึง (-30) คำแนะนำ : ในช่วง 7 วันที่ผ่านมาหลายพื้นที่ของประเทศไทยมีฝนตกโดยเฉพาะในภาคเหนือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และภาคตะวันออก ส่วนในช่วง 7 วันข้างหน้าแม้จะมีโอกาสเกิดฝนตกแต่โดยส่วนใหญ่ปริมาณยังไม่เพียงพอต่อความต้องการของพืชโดยเฉพาะบริเวณภาคกลางและภาคใต้ เกษตรกรควรให้น้ำแก่พืชอย่างเหมาะสม และให้น้ำอย่างประหยัด เช่น ให้น้ำเฉพาะบริเวณทรงพุ่ม หรือวิธีน้ำหยด รวมทั้งกำจัดวัชพืชบริเวณโคนต้นเพื่อไม่ให้แย่งอาหารและน้ำจากต้นพืช โดยเฉพาะไม้ผลที่อยู่ในระยะเจริญเติบโตทางผล หากได้รับน้ำไม่เพียงพอจะทำให้ผลร่วงหล่น และแคระแกร็น ผลผลิตลดลง

ภาคกลาง

ในวันที่ 10–14 มิ.ย. มีฝนฟ้าคะนอง ร้อยละ 20-30 ของพื้นที่ ส่วนในช่วงวันที่ 15-16 มิ.ย. มีฝนฟ้าคะนอง ร้อยละ 30-40 ของพื้นที่ และมีฝนตกหนักบางพื้นที่โดยเฉพาะด้านตะวันตก ของภาค อุณหภูมิต่ำสุด 25-27 องศาเซลเซียส อุณหภูมิสูงสุด 34-38 องศาเซลเซียส ลมตะวันตกเฉียงใต้ ความเร็ว 15-30 กม. /ชม

  • มะนาว : ควรระวังโรคแคงเกอร์
  • ส้มโอ : ควรระวังไรสนิม ไรขาว หนอนเจาะผล
  • ดาวเรือง : ควรระวังหนอนชอนใบ หนอนกระทู้
  • กล้วยไม้ : ควรระวังเพลี้ยไฟ

หมายเหตุhttp://www.arcims.tmd.go.th/dailydata/PET7day.php

ปริมาณฝนสะสมเดือนมิถุนายน ฝนที่ตกสะสมในเดือนนี้มีปริมาณเพิ่มขึ้นในหลายพื้นที่ เว้นแต่บริเวณภาคเหนือตอนล่าง ภาคกลาง ภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบนและด้านตะวันตก และภาคใต้ฝั่งตะวันออก ยังคงมีฝนตกน้อย ปริมาณฝนสะสม 7 วันที่ผ่านมา ในช่วง 7 วันที่ผ่านมามีฝนตกเป็นบริเวณกว้าง โดยจะมีฝนสะสมสูงสุดในภาคตะวันอกเฉียงเหนือ และภาคตะวันออก ศักย์การคายระเหยน้ำ : ในช่วง 7 วันที่ผ่านมาบริเวณภาคกลาง ด้านตะวันออกและตอนล่างของภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และภาคใต้มีค่าศักย์การคายระเหยน้ำสะสมสูงกว่าบริเวณอื่นๆ โดยมีค่าอยู่ในช่วง 30-35 มม. ซึ่งจะทำให้เกิดการสูญเสียน้ำจากดินและพืชมากกว่าบริเวณอื่น สมดุลน้ำ : ในช่วง 7 วันที่ผ่านมามีฝนตกในหลายพื้นที่ โดยปริมาณฝนที่ตกมีค่ามากกว่าปริมาณน้ำที่ระเหยจากดินและการคายน้ำของพืช ทำให้ในหลายพื้นที่มีค่าสมดุลน้ำเป็นบวก

เว้นแต่บริเวณภาคกลางและบางพื้นที่ของภาคตะวันออกเฉียงเหนือและภาคใต้ ที่มีค่าสมดุลน้ำเป็นลบ โดยมีค่าอยู่ในช่วง (-1) ถึง (-30) คำแนะนำ : ในช่วง 7 วันที่ผ่านมาหลายพื้นที่ของประเทศไทยมีฝนตกโดยเฉพาะในภาคเหนือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และภาคตะวันออก ส่วนในช่วง 7 วันข้างหน้าแม้จะมีโอกาสเกิดฝนตกแต่โดยส่วนใหญ่ปริมาณยังไม่เพียงพอต่อความต้องการของพืชโดยเฉพาะบริเวณภาคกลางและภาคใต้ เกษตรกรควรให้น้ำแก่พืชอย่างเหมาะสม และให้น้ำอย่างประหยัด เช่น ให้น้ำเฉพาะบริเวณทรงพุ่ม หรือวิธีน้ำหยด รวมทั้งกำจัดวัชพืชบริเวณโคนต้นเพื่อไม่ให้แย่งอาหารและน้ำจากต้นพืช โดยเฉพาะไม้ผลที่อยู่ในระยะเจริญเติบโตทางผล หากได้รับน้ำไม่เพียงพอจะทำให้ผลร่วงหล่น และแคระแกร็น ผลผลิตลดลง

ภาคตะวันออก

ในวันที่ 10–11 มิ.ย. มีฝนฟ้าคะนอง ร้อยละ 30-40 ของพื้นที่ ลมตะวันตกเฉียงใต้ ความเร็ว 15-30 กม. /ชม. ทะเลมีคลื่นสูงประมาณ 1 เมตร บริเวณที่มีฝนฟ้าคะนองทะเลมีคลื่นสูง 1-2 เมตร ส่วนในช่วงวันที่ 12-16 มิ.ย. มีฝนฟ้าคะนอง ร้อยละ 60-70 ของพื้นที่ และมีฝนตกหนักบางแห่ง ลมตะวันตกเฉียงใต้ ความเร็ว 20-35 กม. /ชม. ทะเลมีคลื่นสูงประมาณ 2 เมตร บริเวณที่มีฝนฟ้าคะนองทะเลมีคลื่นสูงมากกว่า 2 เมตร อุณหภูมิต่ำสุด 21-27 องศาเซลเซียส อุณหภูมิสูงสุด 31-36 องศาเซลเซียส

  • ทุเรียน : ควรระวังหนอนเจาะผล หนอน เจาะลำต้น โรครากเน่า-โคนเน่า
  • ลองกอง : ควรระวังโรคผลเน่า หนอน เจาะกินใต้ผิวเปลือก
  • มังคุด : ควรระวังอาการผลแตกเนื้อแก้ว ยางไหล
  • สละ : ควรระวังโรคผลเน่า โรคใบจุด
  • เงาะ (เก็บเกี่ยวผลผลิต) : ควรระวัง หนอนเจาะขั้วผล โรคผลเน่า

หมายเหตุhttp://www.arcims.tmd.go.th/dailydata/PET7day.php

ปริมาณฝนสะสมเดือนมิถุนายน ฝนที่ตกสะสมในเดือนนี้มีปริมาณเพิ่มขึ้นในหลายพื้นที่ เว้นแต่บริเวณภาคเหนือตอนล่าง ภาคกลาง ภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบนและด้านตะวันตก และภาคใต้ฝั่งตะวันออก ยังคงมีฝนตกน้อย ปริมาณฝนสะสม 7 วันที่ผ่านมา ในช่วง 7 วันที่ผ่านมามีฝนตกเป็นบริเวณกว้าง โดยจะมีฝนสะสมสูงสุดในภาคตะวันอกเฉียงเหนือ และภาคตะวันออก ศักย์การคายระเหยน้ำ : ในช่วง 7 วันที่ผ่านมาบริเวณภาคกลาง ด้านตะวันออกและตอนล่างของภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และภาคใต้มีค่าศักย์การคายระเหยน้ำสะสมสูงกว่าบริเวณอื่นๆ โดยมีค่าอยู่ในช่วง 30-35 มม. ซึ่งจะทำให้เกิดการสูญเสียน้ำจากดินและพืชมากกว่าบริเวณอื่น สมดุลน้ำ : ในช่วง 7 วันที่ผ่านมามีฝนตกในหลายพื้นที่ โดยปริมาณฝนที่ตกมีค่ามากกว่าปริมาณน้ำที่ระเหยจากดินและการคายน้ำของพืช ทำให้ในหลายพื้นที่มีค่าสมดุลน้ำเป็นบวก

เว้นแต่บริเวณภาคกลางและบางพื้นที่ของภาคตะวันออกเฉียงเหนือและภาคใต้ ที่มีค่าสมดุลน้ำเป็นลบ โดยมีค่าอยู่ในช่วง (-1) ถึง (-30) คำแนะนำ : ในช่วง 7 วันที่ผ่านมาหลายพื้นที่ของประเทศไทยมีฝนตกโดยเฉพาะในภาคเหนือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และภาคตะวันออก ส่วนในช่วง 7 วันข้างหน้าแม้จะมีโอกาสเกิดฝนตกแต่โดยส่วนใหญ่ปริมาณยังไม่เพียงพอต่อความต้องการของพืชโดยเฉพาะบริเวณภาคกลางและภาคใต้ เกษตรกรควรให้น้ำแก่พืชอย่างเหมาะสม และให้น้ำอย่างประหยัด เช่น ให้น้ำเฉพาะบริเวณทรงพุ่ม หรือวิธีน้ำหยด รวมทั้งกำจัดวัชพืชบริเวณโคนต้นเพื่อไม่ให้แย่งอาหารและน้ำจากต้นพืช โดยเฉพาะไม้ผลที่อยู่ในระยะเจริญเติบโตทางผล หากได้รับน้ำไม่เพียงพอจะทำให้ผลร่วงหล่น และแคระแกร็น ผลผลิตลดลง

ภาคใต้ (ฝั่งตะวันออก)

ในช่วงวันที่ 10-11 มิ.ย. มีฝนฟ้าคะนอง ร้อยละ 20-30 ของพื้นที่ ลมตะวันตกเฉียงใต้ ความเร็ว 15-30 กม. /ชม. ทะเลมีคลื่นสูงประมาณ 1 เมตร ห่างฝั่งคลื่นสูง 1-2 เมตร ส่วนในวันที่ 12–16 มิ.ย. มีฝนฟ้าคะนอง ร้อยละ 30-40 ของพื้นที่ ลมตะวันตกเฉียงใต้ ความเร็ว 20-35 กม. /ชม. ทะเลมีคลื่นสูง 1-2 เมตร ห่างฝั่งคลื่นสูงประมาณ 2 เมตร อุณหภูมิต่ำสุด 21-27 องศาเซลเซียส อุณหภูมิสูงสุด 33-36 องศาเซลเซียส

  • ทุเรียน(ผลเจริญ เติบโต) : ควรระวังโรค รากเน่าโคนเน่า หนอนเจาะผล
  • เงาะ(ผลเจริญเติบโต) : ควรระวังโรครา แป้ง
  • ลองกอง : ควรระวังหนอนเจาะกินใต้ ผิวเปลือก
  • ยางพารา : ควรระวังโรครากขาว โรค ราสีชมพู โรคเส้นดำ
  • กาแฟ :ควรระวังโรคราสนิม

หมายเหตุhttp://www.arcims.tmd.go.th/dailydata/PET7day.php

ปริมาณฝนสะสมเดือนมิถุนายน ฝนที่ตกสะสมในเดือนนี้มีปริมาณเพิ่มขึ้นในหลายพื้นที่ เว้นแต่บริเวณภาคเหนือตอนล่าง ภาคกลาง ภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบนและด้านตะวันตก และภาคใต้ฝั่งตะวันออก ยังคงมีฝนตกน้อย ปริมาณฝนสะสม 7 วันที่ผ่านมา ในช่วง 7 วันที่ผ่านมามีฝนตกเป็นบริเวณกว้าง โดยจะมีฝนสะสมสูงสุดในภาคตะวันอกเฉียงเหนือ และภาคตะวันออก ศักย์การคายระเหยน้ำ : ในช่วง 7 วันที่ผ่านมาบริเวณภาคกลาง ด้านตะวันออกและตอนล่างของภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และภาคใต้มีค่าศักย์การคายระเหยน้ำสะสมสูงกว่าบริเวณอื่นๆ โดยมีค่าอยู่ในช่วง 30-35 มม. ซึ่งจะทำให้เกิดการสูญเสียน้ำจากดินและพืชมากกว่าบริเวณอื่น สมดุลน้ำ : ในช่วง 7 วันที่ผ่านมามีฝนตกในหลายพื้นที่ โดยปริมาณฝนที่ตกมีค่ามากกว่าปริมาณน้ำที่ระเหยจากดินและการคายน้ำของพืช ทำให้ในหลายพื้นที่มีค่าสมดุลน้ำเป็นบวก

เว้นแต่บริเวณภาคกลางและบางพื้นที่ของภาคตะวันออกเฉียงเหนือและภาคใต้ ที่มีค่าสมดุลน้ำเป็นลบ โดยมีค่าอยู่ในช่วง (-1) ถึง (-30) คำแนะนำ : ในช่วง 7 วันที่ผ่านมาหลายพื้นที่ของประเทศไทยมีฝนตกโดยเฉพาะในภาคเหนือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และภาคตะวันออก ส่วนในช่วง 7 วันข้างหน้าแม้จะมีโอกาสเกิดฝนตกแต่โดยส่วนใหญ่ปริมาณยังไม่เพียงพอต่อความต้องการของพืชโดยเฉพาะบริเวณภาคกลางและภาคใต้ เกษตรกรควรให้น้ำแก่พืชอย่างเหมาะสม และให้น้ำอย่างประหยัด เช่น ให้น้ำเฉพาะบริเวณทรงพุ่ม หรือวิธีน้ำหยด รวมทั้งกำจัดวัชพืชบริเวณโคนต้นเพื่อไม่ให้แย่งอาหารและน้ำจากต้นพืช โดยเฉพาะไม้ผลที่อยู่ในระยะเจริญเติบโตทางผล หากได้รับน้ำไม่เพียงพอจะทำให้ผลร่วงหล่น และแคระแกร็น ผลผลิตลดลง

ภาคใต้ (ฝั่งตะวันตก)

ในวันที่ 10–11 มิ.ย. มีฝนฟ้าคะนอง ร้อยละ 30-40 ของพื้นที่ ตั้งแต่จังหวัดระนองขึ้นมา: ลมตะวันตกเฉียงใต้ ความเร็ว 20-35 กม. /ชม. ทะเลมีคลื่นสูงประมาณ 2 เมตร บริเวณที่มีฝนฟ้าคะนองทะเลมีคลื่นสูงมากกว่า 2 เมตร ตั้งแต่จังหวัดพังงาลงไป: ลมตะวันตกเฉียงใต้ ความเร็ว 15-35 กม. /ชม. ทะเลมีคลื่นสูง1-2 เมตร บริเวณที่มีฝนฟ้าคะนองทะเลมีคลื่นสูงมากกว่า 2 เมตร ส่วนในวันที่ 12–16 มิ.ย. มีฝนฟ้าคะนอง ร้อยละ 60-70 ของพื้นที่ และมีฝนตกหนักบางแห่ง ลมตะวันตกเฉียงใต้ ความเร็ว 20-40 กม./ชม. ทะเลมีคลื่นสูง 2-3 เมตร บริเวณที่มีฝนฟ้าคะนองทะเลมีคลื่นสูงมากกว่า 3 เมตร อุณหภูมิต่ำสุด 24-26 องศาเซลเซียส อุณหภูมิสูงสุด 32-34 องศาเซลเซียส

  • ทุเรียน(ผลเจริญ เติบโต) : ควรระวังโรค รากเน่าโคนเน่า หนอนเจาะผล
  • เงาะ(ผลเจริญเติบโต) : ควรระวังโรครา แป้ง
  • ลองกอง : ควรระวังหนอนเจาะกินใต้ ผิวเปลือก
  • ยางพารา : ควรระวังโรครากขาว โรค ราสีชมพู โรคเส้นดำ
  • กาแฟ :ควรระวังโรคราสนิม

หมายเหตุhttp://www.arcims.tmd.go.th/dailydata/PET7day.php

ปริมาณฝนสะสมเดือนมิถุนายน ฝนที่ตกสะสมในเดือนนี้มีปริมาณเพิ่มขึ้นในหลายพื้นที่ เว้นแต่บริเวณภาคเหนือตอนล่าง ภาคกลาง ภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบนและด้านตะวันตก และภาคใต้ฝั่งตะวันออก ยังคงมีฝนตกน้อย ปริมาณฝนสะสม 7 วันที่ผ่านมา ในช่วง 7 วันที่ผ่านมามีฝนตกเป็นบริเวณกว้าง โดยจะมีฝนสะสมสูงสุดในภาคตะวันอกเฉียงเหนือ และภาคตะวันออก ศักย์การคายระเหยน้ำ : ในช่วง 7 วันที่ผ่านมาบริเวณภาคกลาง ด้านตะวันออกและตอนล่างของภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และภาคใต้มีค่าศักย์การคายระเหยน้ำสะสมสูงกว่าบริเวณอื่นๆ โดยมีค่าอยู่ในช่วง 30-35 มม. ซึ่งจะทำให้เกิดการสูญเสียน้ำจากดินและพืชมากกว่าบริเวณอื่น สมดุลน้ำ : ในช่วง 7 วันที่ผ่านมามีฝนตกในหลายพื้นที่ โดยปริมาณฝนที่ตกมีค่ามากกว่าปริมาณน้ำที่ระเหยจากดินและการคายน้ำของพืช ทำให้ในหลายพื้นที่มีค่าสมดุลน้ำเป็นบวก

เว้นแต่บริเวณภาคกลางและบางพื้นที่ของภาคตะวันออกเฉียงเหนือและภาคใต้ ที่มีค่าสมดุลน้ำเป็นลบ โดยมีค่าอยู่ในช่วง (-1) ถึง (-30) คำแนะนำ : ในช่วง 7 วันที่ผ่านมาหลายพื้นที่ของประเทศไทยมีฝนตกโดยเฉพาะในภาคเหนือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และภาคตะวันออก ส่วนในช่วง 7 วันข้างหน้าแม้จะมีโอกาสเกิดฝนตกแต่โดยส่วนใหญ่ปริมาณยังไม่เพียงพอต่อความต้องการของพืชโดยเฉพาะบริเวณภาคกลางและภาคใต้ เกษตรกรควรให้น้ำแก่พืชอย่างเหมาะสม และให้น้ำอย่างประหยัด เช่น ให้น้ำเฉพาะบริเวณทรงพุ่ม หรือวิธีน้ำหยด รวมทั้งกำจัดวัชพืชบริเวณโคนต้นเพื่อไม่ให้แย่งอาหารและน้ำจากต้นพืช โดยเฉพาะไม้ผลที่อยู่ในระยะเจริญเติบโตทางผล หากได้รับน้ำไม่เพียงพอจะทำให้ผลร่วงหล่น และแคระแกร็น ผลผลิตลดลง

สอบถามข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ กรมอุตุนิยมวิทยา 0-2399-4568-74


เว็บไซต์นี้มีการใช้งานคุกกี้ ศึกษารายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และ ข้อตกลงการใช้บริการ รับทราบ