สรุปข้อมูล การสำรวจค่าตอบแทนภาคเอกชน พ.ศ. 2556

ข่าวผลสำรวจ Friday July 18, 2014 11:22 —สำนักงานสถิติแห่งชาติ

การสำรวจค่าตอบแทนภาคเอกชน เป็นโครงการสำรวจที่สำนักงานคณะกรรมการข้าราชการพลเรือน (ก.พ.) และสำนักงานสถิติแห่งชาติ ได้ร่วมกันจัดทำขึ้นตั้งแต่ปี 2539 และจัดทำทุก 2 ปี โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อเก็บรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับค่าตอบแทน ตลอดจนสวัสดิการและประโยชน์เกื้อกูลต่ต่าง ๆ ที่สถานประกอบการเอกชนให้แก่พนักงาน เพื่อใช้ประโยชน์ในการศึกษาเปรียบเทียบโครงสร้างและอัตราค่าตอบแทนระหว่างภาคเอกชนและภาคราชการ และนำเสนอคณะกรรมการพิจารณาเงินเดือนแห่งชาติ (กงช.) เพื่อใช้เป็นแนวทางประกอบในการพิจารณาปรับปรุงระบบค่าตอบแทนในภาครัฐให้มีความเหมาะสมและสอดคล้องกับอัตราค่าตอบแทนในตลาดแรงงานต่อไป

การสำรวจค่าตอบแทนภาคเอกชน คุ้มรวมสถานประกอบการในภาคเอกชนทั่วประเทศ ที่มีพนักงานประจำหรือลูกจ้างตั้งแต่ 101 คนขึ้นไป ซึ่งประกอบกิจกรรมทางเศรษฐกิจเกี่ยวกับการทำเหมืองแร่ และเหมืองหินการผลิตการไฟฟ้า ก๊ก๊าซ ไอน้ำ และระบบปรับอากาศการจัดการน้ำเสีย การจัดการของเสีย และสิ่งปฏิกูลการก่อสร้ร้างการขายส่งและการขายปลีก การซ่อมแซมยานยนต์และจักรยานยนต์การขนส่งทางบก คลังสินค้า และกิจกรรมที่สนับสนุนการขนส่งที่พักแรมและบริการด้านอาหารข้อมูลข่าวสารและการสืสื่อสารกิจกรรมทางการเงินและการประกันภัยกิจกรรมอสังหาริมทรัพย์กิจกรรมทางวิชาชีชีพ วิทยาศาสตร์ และเทคนิค กิจกรรม การบริหารและการบริการสนับสนุนกิจกรรมโรงพยาบาลเอกชนศิลปะ ความบันเทิง และนันทนาการ และกิจกรรมบริการด้านอื่น ๆ ๆ

สำหรับการสสำรวจในปี 2552 สำนักงานสถิติแห่งชาติได้เพิ่มคุ้มรวมกิจกรรมด้านโรงพยาบาลเอกชนขึ้นเป็นปีแรก แต่เนื่องจากกลุ่มงานระดับตำแหน่งของกิจกรรมโรงพยาบาลนั้นมีความแตกต่างจากกิจกรรมประเภทอื่น ดังนั้นสรุปข้อมูลเบื้องต้นของการสำรวจจึงนำเสนอแยกค่าตอบแทนเฉลี่ยของพนักงานประจำเป็น 2 ส่วน คือ ค่าตอบแทนเฉลี่ยต่อเดืดือนของพนักงาน (ไม่รวมโรงพยาบาลเอกชน) และค่าตอบแทนเฉลี่ยต่อเดือนของพนักงานเฉพาะโรงพยาบาลเอกชน

การสำรวจในปี 255 6 นี้ มีสถานประกอบการที่ตกเป็นตัวอย่างจำนวนทั้งสิ้น 7,838 แห่ง โดยทำการเก็ก็บรวบรวมข้อมูลในช่วงเดือนพฤษภาคม - มิถุนายน พ.ศ. 2556 สำหรัรับข้อมูลที่นำเสนอครั้งนี้เป็นผลการดำเนินกิจการของสถานประกอบการในรอบปี 255 5 (1 มกราคม - 31 ธันวาคม 2555) สรุปได้ดังนี้ 1. จำนวนสถานประกอบการ สถานประกอบการที่อยู่ในขอบข่าย มีจำนวนทั้งสิ้น 9,475 แห่ง โดยแยกตามกิจกรรม ดังนี้

          1.1  กิจกรรมโรงพยาบาลเอกชน มีจำนวนสถานประกอบการ 196 แห่ง  หรือร้อยละ 2.1  1.2  กิจกรรมทางเศรษฐกิจอื่น ๆ มีจำนวนสถานประกอบการ 9,279 แห่ง ส่วนใหญ่ (ร้อยละ 63.1) เป็ป็นสถานประกอบการที่ดํดำเนินกิจกรรมเกี่ยวกับการผลิต รองลงมาคือ ธุรกิจการขายส่ง การขายปลีก การซ่อมแซมยานยนต์ และจักรยานยนต์ ร้อยละ 15.4 กิจกรรมด้านที่พักแรมและบริการด้านอาหาร     มีร้อยละ 6.3 กิจกรรมนอกเหนือจากที่กล่าวข้างต้นแต่ละประเภทมีสัดส่วนไม่เกินร้อยละ 3.0    ของสถานประกอบการทั้งสิ้น
2. ค่าตอบแทนเฉลี่ยต่อเดือนของพนักงานประจำ 2.1 ค่าตอบแทนเฉลี่ยต่อเดือนของพนักงานประจำ (ไม่รวมโรงพยาบาลเอกชน) ประเภทกิจกรรมทางเศรษฐกิจ เมื่อพิจารณาค่าตอบแทนของพนักงานทุกระดับจำแนกตามประเภทกิจกรรมทางเศรษฐกิจ พบว่า  พนักงานประจำที่ทำงานในสถานประกอบการที่ประกอบกิจกรรมการไฟฟ้า ก๊าซ ไอน้ำ และระบบปรับอากาศได้รับเงินค่าตอบแทนเฉลี่ยต่อเดือนสูงที่สุด คือ  83,748 บาท รองลงมาคือ สถานประกอบการทีที่ประกอบกิจกรรมเกี่ยวกับ  การทำเหมืองแร่ และเหมืองหินประมาณ 69,636 บาท กิจกรรมการขนส่งทางบก คลังสินค้า และกิจกรรมที่สนับสนุนการขนส่ง และกิจกรรมเกี่ยวกับข้อมูลข่าวสารและการสื่อสารประมาณ 68,6 40 บาท ประมาณ 67,483 บาท สำหรับพนักงานประจำในสถานประกอบการที่ประกอบกิจกรรมประเภทอื่น ๆ ได้รับเงิงินค่าตอบแทนเฉลี่ยต่อเดือนต่ำกว่า 65,000 บาท

ระดับตำแหน่ง ในปี 2555 ผู้ที่ทำงานในระดับผู้อํอำนวยการฝ่าย ได้รับเงินค่าตอบแทนเฉลี่ยต่อเดือน (ไม่รวมเงินโบนัส) ประมาณ 134,193 บาท ระดับผู้จัดการแผนก ได้รับเงินค่าตอบแทนเฉลีลี่ยต่อเดือนประมาณ 72,351 บาท สำหรับระดับหัวหน้างานระดับต้น และผู้ปฏิบัติทีที่มีวุฒิปริญญาตรีขึ้นไป ได้รับเงินค่าตอบแทนเฉลีลี่ยต่อเดือนประมาณ 41,631 บาท และ 25,513 บาท ส่วนผู้ปฏิบัติที่มีวุฒิต่ำกว่าปริญญาตรี ได้รับเงินค่าตอบแทนเฉลี่ยต่อเดือนประมาณ 16,185 บาท

เมื่อเปรียบเทียบแนวโน้มค่าตอบแทนเฉลี่ย ในระยะ 16 ปี พบว่า ค่าตอบแทนภาคเอกชนโดยเฉลี่ยมีแนวโน้มเพิ่มขึ้น โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ในปี 2555 ค่าตอบแทนในตำแหน่งผู้จัดการแผนกและผู้ปฏิบัติได้รับค่าตอบแทนเฉลี่ยต่อเดือน เพิ่มมากกว่าตำแหน่งอื่นๆ คือตำแหน่งผู้จัดการแผนกเพิ่มขึ้นร้อยละ 20.4 (จาก 60,082 บาท/เดือน ในปี 2553 เป็น 72,351 บาท/เดือนในปี 2555) และระดับผู้ปฏิบัติงานเพิ่มขึ้นร้อยละ 15.4 (จาก 18,053 บาท/เดือน เป็น 20,849 บาท/เดือน) สำหรับตำแหน่งผู้อำนวยการฝ่ายและตำแหน่งหัวหน้างานระดับต้นเพิ่มขึ้นร้อยละ 8.1 และ ร้อยละ 6.5

2.2 ค่าตอบแทนเฉลี่ยต่อเดือนของพนักงานประจำ ของโรงพยาบาลเอกชน

เจ้าหน้าที่ระดับบริหาร เมื่อพิจารณาค่าตอบแทนเฉลี่ยต่อเดือนของพนักงานในโรงพยาบาลเอกชน ในปี 2555 พบว่า เจ้าหน้าที่ระดับบริหาร ตำแหน่งผู้อำนวยการได้รับค่าตอบแทนเฉลี่ยสูงสุดคือ 206,566 บาทต่อเดือน รองลงมาคือ ตำแหน่งรองผู้อำนวยการ ได้รับค่าตอบแทนเฉลี่ยต่อเดือน ประมาณ 131,403 บาท ตำแหน่งผู้ช่วยผู้อำนวยการ และหัวหน้าฝ่าย/ผู้อำนวยการฝ่ายได้รับค่าตอบแทนเฉลี่ยต่อเดือน 95,006 บาท และ 59,380 บาท ตามลำดับ สำหรับตำแหน่งหัวหน้าแผนก/ ผู้จัดการแผนก และหัวหน้าตึก/หัวหน้า ward ได้รับค่าตอบแทนเฉลี่ยต่อเดือนไม่เกิน 42,000 บาท

เจ้าหน้าที่รักษาพยาบาล ค่าตอบแทนเฉลี่ยของเจ้าหน้าที่รักษาพยาบาล ตำแหน่งแพทย์เฉพาะทางได้รับค่าตอบแทนเฉลี่ยต่อเดือนสูงสุดคือ 169,483 บาท รองลงมาคือ ตำแหน่งทันตแพทย์ และแพทย์ทั่วไป ประมาณ 120,809 บาท และ 108,350 บาท ตามลำดับ สำหรับตำแหน่งพยาบาลวิชาชีพ พยาบาลเทคนิค และผู้ช่วยพยาบาล ได้รับค่าตอบแทนเฉลี่ยต่อเดือน ไม่เกิน 36,000 บาท

เจ้าหน้าที่บริการทางการแพทย์ ด้านเจ้าหน้าที่บริการทางการแพทย์ พบว่า ตำแหน่งเภสัชกร ได้รับค่าตอบแทนเฉลี่ยต่อเดือนสูงสุดคือ 36,452 บาท รองลงมาคือ นักรังสีการแพทย์ ได้รับค่าตอบแทนเฉลี่ยต่อเดือน ประมาณ 32,511 บาท ตำแหน่งนักเทคนิคการแพทย์ และตำแหน่ง นักกายภาพบำบัดได้รับค่าตอบแทนเฉลี่ยต่อเดือน ใกล้เคียงกัน ประมาณ 29,066 บาท และ 28,226 บาท ตามลำดับ สำหรับตำแหน่งนักโภชนาการ ได้รับค่าตอบแทนเฉลี่ยต่อเดือนน้อยที่สุด ประมาณ 24,072 บาท 3. อัตราค่าตอบแทนเฉลี่ยต่อเดือนของ

พนักงานใหม่แรกบรรจุ

          วุฒิปวช. หรือเทียบเท่าจากตาราง 2 พบว่า พนักงานใหม่แรกบรรจุแต่ละตำแหน่งได้รับเงินเดือนเฉลี่ยต่อเดือน        ไม่แตกต่างกันมากนัก โดยพนักงานตำแหน่งนักวิชาการคอมพิวเตอร์/นักเขียนโปรแกรม ได้รับเงินเดือนเฉลี่ยต่อเดือนสูงกว่าตำแหน่งอื่น ๆ  คือประมาณเดือนละ 9,455 บาท รองลงมาคือ ตำแหน่งนักทรัพยากรบุคคล/เจ้าหน้าที่ฝึกอบรม/เจ้าหน้าที่ทรัพยากรบุคคล/เจ้าหน้าที่วิเทศสัมพันธ์ ประมาณ 9,230 บาท และตำแหน่งเจ้าพนักงานการเงินและบัญชี/เจ้าหน้าที่บัญชี/เจ้าหน้าที่การเงิน ประมาณ 9,198 บาท สำหรับเงินเพิ่มอื่นเฉลี่ยต่อเดือน ที่พนักงานใหม่แรกบรรจุได้รับ พบว่า ในแต่ละตำแหน่งใกล้เคียงกัน กล่าวคือ แต่ละตำแหน่งได้รับเงินเพิ่มเฉลี่ยไม่เกิน 1,600 บาทต่อเดือน

วุฒิปวส. หรือเทียบเท่า

สำหรับพนักงานใหม่แรกบรรจุที่มีวุฒิ ปวส. หรือเทียบเท่า ในตำแหน่งนักวิทยาศาสตร์/เคมี ได้รับเงินเดือนเฉลี่ยต่อเดือนสูงกว่าตำแหน่งอื่น คือประมาณ 10,418 บาท รองลงมาคือ ตำแหน่งพยาบาล ประมาณ 10,315 บาท และนักวิชาการคอมพิวเตอร์/นักเขียนโปรแกรม ประมาณ 10,306 บาท สำหรับเงินเพิ่มอื่นเฉลี่ยต่อเดือนที่พนักงานใหม่แรกบรรจุได้รับ พบว่า ตำแหน่งนักวิทยาศาสตร์/เคมี ได้รับเงินเพิ่มอื่นเฉลี่ยต่อเดือนสูงกว่าตำแหน่งอื่น คือประมาณ 3,052 บาท รองลงมาคือ ตำแหน่งพยาบาล ประมาณ 2,693 บาท ส่วนตำแหน่งอื่น ๆ ได้รับเงินเพิ่มอื่นเฉลี่ยต่อเดือนไม่เกิน 1,500 บาท

วุฒิปริญญาตรี หรือเทียบเท่า

ในกลุ่มพนักงานใหม่แรกบรรจุที่มีวุฒิปริญญาตรี หรือเทียบเท่า พบว่า ตำแหน่งเภสัชกร ได้รับค่าตอบแทนเฉลี่ยต่อเดือนหลังทดลองงาน สูงกว่าตำแหน่งอื่นคือ ประมาณ 20,003 บาท รองลงมาคือ ตำแหน่งสถาปนิก และนักทรัพยากรธรณี ได้รับค่าตอบแทนเฉลี่ยต่อเดือนใกล้เคียงกันคือ ประมาณ 18,266 บาท และ 18,039 บาท ตามลำดับ สำหรับเงินเพิ่มอื่นเฉลี่ยต่อเดือนของพนักงานใหม่แรกบรรจุ พบว่า ตำแหน่งเภสัชกรได้รับเงินเพิ่มอื่นเฉลี่ยต่อเดือนสูงที่สุดคือ ประมาณ 5,353 บาท รองลงมาคือ ตำแหน่งพยาบาล ประมาณ 4,094 บาท และนักรังสีการแพทย์ ประมาณ 4,054 บาท สำหรับพนักงานตำแหน่งอื่น ๆ ได้รับเงินเพิ่มอื่นเฉลี่ยต่อเดือนไม่เกิน 3,600 บาท วุฒิปริญญาโท/เอก หรือเทียบเท่า

เมื่อพิจารณาพนักงานใหม่แรกบรรจุที่มีวุฒิปริญญาโท/เอกหรือเทียบเท่า พบว่า ตำแหน่งแพทย์ ได้รับเงินเดือนเฉลี่ยต่อเดือนสูงกว่าตำแหน่งอื่น คือ ประมาณ 63,082 บาท รองลงมาคือ ตำแหน่งทันตแพทย์ ประมาณ 56,809 บาท ส่วนเงินเพิ่มอื่นเฉลี่ยต่อเดือนของพนักงานใหม่แรกบรรจุ พบว่า ตำแหน่งทันตแพทย์ได้รับเงิน เพิ่มอื่นเฉลี่ยต่อเดือนมากที่สุด ประมาณ 21,173 บาท รองลงมาคือ ตำแหน่งแพทย์ และนักวิชาการขนส่ง/นักโลจิสติกส์ ได้รับเงินเพิ่มอื่นเฉลี่ยต่อเดือนประมาณ 18,504 บาท และ 12,041 บาท ตามลำดับ 4. การปรับอัตราเงินเดือนและ/หรือเงินเพิ่มใในระหว่างวันทีที่ 1 มกราคม - 31 ธันวาคม 2 555 สถานประกอบการทุกประเภท ส่วนใหญ่หรือร้อยละ 84.1 มีมีการปรับขึ้นเงินเดือนและ/หรือเงินเพิพิ่มให้แก่พนันักงาน ส่วนสถานประกอบการที่ไม่ได้ปรับเงินเดือนและ/หรือเงินเพิ่มให้แก่พนันักงาน มีร้อยละ 15.8 และสถานประกอบการที่ปรับลดเงินเดือนและ/หรือเงินเพิ่มให้แก่พนักงานมีเพียงเล็กน้อย ร้อยละ 0.1

เมื่อพิจารณาสวัสดิการที่นอกเหนือจากสิทธิของกองทุทุนเพื่อการประกันสังคม พบว่า สถานปประกอบการที่ให้สวัสดิการเกี่กี่ยวกับการรักษาพยาบาล หหรือจ่ายค่ารักษาพยาบาลทั้งผู้ป่วยใน/ผู้ป่วยนอกให้แก่พนักงาน มีประมาณร้ร้อยละ 49.3 ของสถานปประกอบการทั้งสิ้น โดยสถานประกอบการประเภทโรงพยาบาลเอกชนให้สิทธิการรักษาพยาบาลให้แก่พพนักงานมากทีที่สุดคือ ร้อยละ 87.1 รองลงมาคือ สถานประกอบการที่ดำเนินกิกิจกรรมเกี่ยวกับการเป็นตัวกลางทางการเงินและการประกันภัย (ร้อยละ 84.6) กิจกรรมการไฟฟ้า ก๊าซ ไอน้ำ และระบบปรับอากาศ ร้อยละ 83.3) และกิจกรรมการจัดการน้ำเสีย การจัดการของเสีย และ สิ่สงปฏิกูล (ร้อยละ 82.7) สำหรับกิจกรรมประเภทอื่นๆ ปนอกเหนือจากที่กล่าวข้างต้น มีมีการให้สิทธิการรักษา พยาบาลต่ำกว่าร้อยละ 74.0 ด้านการให้สวัสดิดิการประกันสุขภาพ/อุบัติเหตุแก่พนักักงาน พบว่า สถานประกอบการที่ให้สิทธิปประกันสุขภาพ/อุบัติเหตุมีประมาณร้อยละ 51.5 ของสถานประกอบการทั้งสิ้น โดยสถานประกอบการที่ดำเนินกิจกรรมเกี่ยวกับการเป็นตัวกลางทางการเงิน และการประกันภัย ให้สิทธิดังกล่าวมากที่สุดคือร้อยละ 91 .4 รองลงมาคืคือ สถานประกอบการที่ประกอบกิจกปรรมการไฟฟ้า การไอน้ำ และระบบปรับอากาศประมาณ ร้อยละ 90.0 สำหรับกิจกรรมประเภทอื่นๆ นอกเหนืนือจากที่กล่าวมีการให้สิทธิด้านการปประกันสุขภาพ/ประกันอุบัติเหตุ ต่ำกว่าร้อยละ 78.0

ดิการอื่น ๆ 6. สวัสดิ

ด้านสวัสดิกาดรอื่นๆ พบว่า สถานประกอบการ ที่จัดให้มีมีสวัสดิการเกีกี่ยวกับเครื่องแบบพนักงาน/ ค่าเครื่องแต่งกาย ให้แก่พนักงานมีมากที่สุด ประมาณร้อยละ 8 2.9 รองลงมาคือ สถาน-ประกอบการที่ให้เงินช่วยเหลือทางสังคม มีประมาณร้อยละ 82.6 สำหรับสถานประกอบการที่จ่ายค่าเบี้ยขยันให้แก่พนักงานมีประมาณร้อยละ 6 5.8 จัดรถรับส่งพนักงาน/ ค่ายานพาหนะ/ ค่าพาหนะ/ ค่าน้ำมัน ร้อยละ 49.8 สำหรับสถานประกอบการที่ จัดให้มีสวัสดิการด้านอือื่น ๆ นอกจากที่กล่าวข้างต้น มีไม่เกินร้ร้อยละ 39.0

7. ความคิดเห็ห็นและข้อเสนอแนะ ของสถานประกอบการ

ปัญหาและอุปสรรคของสถานประกอบการสถานประกอบการทั่วประเทศ ร้อยละ 15.8 ได้แสดงความคิดเห็นในเรื่องปัญหาและอุปสรรค ที่สำคัญในการดำเนินกิจการ ในจำนวนนี้ ระบุว่าขาดแคลนแรงงานในช่วงฤดูดูกาล ขาดแคลนบุลากรที่มีประสิทธิภาพ ขาดแคลนวัตถุดิบ ขาดแคลนงินทุนหมุนเวียน สภาวะเศรษฐกิจตกต่ำ และคู่แข่งททางเศรษฐกิจ เป็นต้น

ความช่วยเหลือที่ต้องการจากรัฐ

สำหรับความช่วยเหลือที่ต้องการจากหน่วยงานขอหงรัฐและข้อเสนอแนะนั้น มีสถานปประกอบการได้แสดงความคิดเห็นประมาณร้อยละ 9.8 ในจำนวนนี้ระบุว่า รัฐควรสนับสนุนและพัฒนาความรู้ความสามารถของแรงงานให้ตรงกับตลาดแรงงาน รัฐควรมีมาตรการกระตุ้นเศรษฐกิจให้ดีขึ้นโดยเร็ร็วที่สุด รัฐควรมีมาตรการลดหย่อนภาษีและเงินภประกันสังคม รัฐควรมีมาตรการสนับสนุนเงินทุนดอกเบี้ยต่ำแก่สถานประกอบการ และมาตรการควบคุมราคาสิสินค้า จัดหาวัวัตถุดิบที่มีคุณภาพในราคาที่เหมาะสม เป็นต้น

ที่มา: สำนักงานสถิติแห่งชาติ


เว็บไซต์นี้มีการใช้งานคุกกี้ ศึกษารายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และ ข้อตกลงการใช้บริการ รับทราบ