ตลาดสินค้าอาหารในประเทศมาเลเซีย

ข่าวเศรษฐกิจ Monday June 8, 2009 17:05 —กรมส่งเสริมการส่งออก

ปัจจุบันมาเลเซียมีประชากร 27.2 ล้านคน มาเลเซียเป็นสังคมหลายเชื้อชาติประกอบด้วย ชาวมาเลย์ 58%, ชาวจีน 26%, ชาวอินเดีย 7%, อื่นๆ 9% และศาสนาอิสลามคือ ศาสนาประจำชาติของประเทศมาเลเซียมี59%, พุทธ 17.3%, ขงจื้อและเต๋า 11.6%, ฮินดู 7%, คริสเตียน 8.6%, และศาสนาอื่นๆอีก1% ตามลำดับ

ภาษามาเลย์ เป็นภาษาประจำชาติและภาษาราชการซึ่งเป็นภาษาของคนส่วนใหญ่ ส่วนภาษาอังกฤษ จีนท้องถิ่น ภาษาจีน เป็นภาษาที่ใช้กว้างขวางรองลงมา ในหมู่ชาวมาเลเซียเชื้อสายจีน กวางตุ้ง ฮกเกี้ยน แต้จิ๋วและจีนกลาง) และทมิฬ เป็นภาษาที่ใช้ในการติดต่อธุรกิจ

ดังนั้นโดยส่วนใหญ่แล้วประเทศมาเลเซียมีประชากรนับถือศาสนาอิสลามเป็นส่วนใหญ่ อาหารที่มีเครื่องหมายฮาลาลจึงมีความจำเป็นต่อประเทศนี้มาก อาหารที่มุสลิมหรือที่ไม่ใช่มุสลิมสามารถรับประทานได้นั้นจะต้องเป็นอาหารที่ฮาลาลและมีเครื่องหมายฮาลาลแสดงไว้

ความหมายของอาหารฮาลาล

อาหารฮาลาล หมายถึง อาหารหรือผลิตภัณฑ์เกี่ยวกับอาหารซึ่งผลิตขึ้นถูกต้องตามบทบัญญัติของศาสนาอิสลาม มุสลิมสามารถบริโภคได้ โดยคำนึงถึงความสะอาด มีคุณค่าตามหลักโภชนาการ

ข้อกำหนดในการผลิตอาหารฮาลาล

1. วัตถุดิบ กระบวนการผลิต การบรรจุ การรักษาจะต้องฮาลาลทุกขั้นตอน

2. สถานที่ผลิตอาหารฮาลาลจะต้องไม่ปะปนกับการผลิตอาหารที่หะรอม(ห้ามมุสลิมบริโภค) ในทุกขั้นตอนตั้งแต่การเตรียม การผลิต กระบวนการผลิต และการเก็บรักษา

3. เครื่องจักร เครื่องมือหรืออุปกรณ์ที่ใช้ในการเตรียมการผลิต กระบวนการผลิต การขนส่งและการเก็บรักษาจะต้องสะอาดตามหลักการของศาสนาอิสลาม

4. เนื้อสัตว์ พืช เครื่องดื่มที่ไม่อนุญาตให้นำมาประกอบเป็นอาหารฮาลาล สุกร สุนัข หมูป่า งู ลิง สัตว์กินเนื้อเป็นอาหารและมีเล็บ เช่น สิงโต เสือ หมี เป็นต้น และสัตว์อื่นที่มีลักษณะคล้ายกัน

1. สัตว์มีพิษ สัตว์นำโรค เช่น ตะขาบ แมลงป่อง หนู เป็นต้น

2. สัตว์ที่น่ารังเกียจ เช่น หนอน แมลงวัน เหา เป็นต้น

3. สัตว์ที่มีพิษและเป็นอันตรายทุกชนิด

4. สัตว์ที่ไม่อนุญาตให้ฆ่าตามหลักการศาสนาอิสลาม เช่น ผึ้ง มด นกหัวขวาน

5. สัตว์ที่มีลักษณะเช่นเดียวกับ ลา

6. สัตว์อื่นๆที่ไม่ได้เชือดตามหลักการของอิสลาม

7. พืชที่มีพิษและเป็นอันตรายทุกชนิด

8.เครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์ หรือมีส่วนประกอบที่เป็นอันตรายและมีพิษ

5. วิธีการเชือดหรือฆ่าสัตว์

1. คนเชือดต้องเป็นมุสลิมและมีความรู้เกี่ยวกับการเชือดสัตว์ตามหลักศาสนา

2. เป็2นสัตว์ที่อิสลามกำหนดให้เชือดได้

3. เป็นสัตว์ที่ยังมีชีวิตอยู่ขณะที่เชือด

4. ขณะเชือดต้องให้หัวของสัตว์หันไปทางกิบลัต (สำหรับประเทศไทยคือทิศตะวันตก)

5. ผู้เชือดต้องกล่าวว่า “บิสมิ้ลลาห์”(ด้วยพระนามของอัลลอฮ) ก่อนลงมือเชือด

6. มีดที่ใช้เชือดต้องคมและต้องเชือดจนเสร็จสิ้นโดยไม่ดึงมือออก

7. การเชือดต้องให้หลอดลมและเส้นเลือดดำที่คอหอยสัตว์ขาด

ความแตกต่างของอาหารฮาลาลกับอาหารทั่วไป

อาหารฮาลาล คือ อาหารที่สะอาด ปราศจากนายิส

นายิส หมายถึง สิ่งสกปรกปฏิกูลและอื่น ๆ เป็นที่รับเกียจโดยบทบัญญัติศาสนากำหนดไว้

นายิสที่สำคัญที่อยู่ 7 ชนิด คือ

1. สุนัขและสุกร

2. สุรา ของมึนเมา และแอลกอฮอล์

3. ซากสัตว์ หมายถึง สัตว์ที่ตายโดยไม่ได้เชือดตามหลักการอิสลามยกเว้น ปลาและตั้กแตน

4. เลือดที่หลั่งริน น้ำเหลือง น้ำหนอง ยกเว้นอวัยวะที่คล้ายเลือดแต่ไม่ใช่เลือด เช่น ตับ และ ม้าม

5. ปัสสาวะ อุจจาระ และอาเจียน ของมนุษย์และสัตว์

6. ส่วนที่แยกออกจากสัตว์ขณะที่สัตว์นั้นยังมชีวิตยกเว้นผมและขน

7. นมสัตว์ที่เนื้อของมันไม่อนุมัติให้รับประทาน เช่น นมลา นมแมว นมสุกร นมสุนัข ซึ่งถือเสมือนเนื้อของสัตว์เหล่านั้น จึงจัดเป็นนายิส

ขั้นตอนการขอเครื่องหมายฮาลาลในประเทศมาเลเซีย

Applying HDC Halal certification is simple and could be made both online and offline.

The process undergoes three stages and is outlined as per following illustration

Stage 1: Registration and Fee Registration You may register online or download the application form from the following link http://www.hdcglobal.com/mainpage/OnlineServices/certApp.asp. Please complete the application form and send accordingly to the HDC Certification Unit together with relevant supporting documents and registration fee or proof of payment. This can be done via email it to us or by post.

HDC contact details are as follows:

Halal Industry Development Corporation Sdn. Bhd.

5.02, Level 5, KPMG Tower, First Avenue,

Persiaran Bandar Utama, Bandar Utama,

47800 Petaling Jaya, Selangor

MALAYSIA

Tel: +6(03) 7965 5555

Fax: +6(03) 7965 5500

Email : certification@hdcglobal.com or refcenter@hdcglobal.com

Website : www.hdcglobal.com

Fees

HDC has a fixed price structure for its certification service which is by far considered very cost effective for level of service and assurance provided. The cost structure is as follows:

South East Asian Region Certification (Validity 3 years)

(Malaysia, Singapore, Thailand, Indonesia, Vietnam, Cambodia, Laos, Myanmar and Philippines)

  • Registration : RM 100.00 (approximately: USD 31.00)
  • Certification: RM 3000.00 (approximately: USD 910.00)
  • Out of Pocket Expenses for site audit will be charged as per actual
International Certification (Validity 3 years)
(Countries not listed above)
  • Registration : USD 100.00
  • Certification: USD 3000.00
  • Out of Pocket Expenses for site audit will be charged as per actual
Payment details as follows:
  • Bank Draft/ Telegraphic Transfer (TT) payable to “ HALAL INDUSTRY DEVELOPMENT CORPORATION SDN. BHD.”
  • Bank Name: BANK ISLAM MALAYSIA BERHAD
  • Bank Code: BIMBMYKL
  • A/C N0: 1419 5010 003 054
  • Bank Address: BANK ISLAM MALAYSIA

GROUND FLOOR , NO. 5& 7

JALAN WAN KADIR 2

TAMAN TUN DR. ISMAIL

60000, KUALA LUMPUR

MALAYSIA

Document Evaluation

Application forms must be completed and accompanied with relevant documents such as the following, before it can be processed.

  • Document on Registration of company/business;
  • Halal Certificate for critical ingredients
  • Process Flow chart or production procedures
  • Design or label of products;
  • Other documents such as HACCP, ISO, GHP, GMP,TQM (if applicable); and
  • Map of premise/factory location.
Payment of Fee

There is a Registration Fee for every application which should be paid before an application is processed. After the documentation is complete, the certification fee will be charged to the applicant before the audit team goes for the site audit for visual inspection.

Stage 2: Audit and Report

The audit team comprised of two (2) auditors who are qualified in Syariah and Technical matters. The site audit will verify the Halal status of ingredients, the processing and storage, Halal internal management, labeling and the quality assurance which will be compiled in the Audit Report. At the site inspection, the auditors may take sample for analysis to confirm the content of products.

Stage 3: Approval and Certification

The Audit Report will be reviewed by HDC Internal Committee before it can be recommended for approval by HDC Halal Certification Approval Panel. Both the Internal Committee and the Approval Panel consist of experts in Syariah and Technical matters (scientists). The Approval Panel has the final decision to reject or approve any application

Halal Certification Fee

For further information on certification fee, please contact us at HDC Halal Certification Department, certification@hdcglobal.com

Halal Certificate

HDC Halal Certificate will be issued to the applicant after the clearance by the Approval Panel. HDC Halal certificate owners are automatically allowed to use the Malaysia Halal logo on their relevant products or premises.

Halal Logo

1. การบริโภคในประเทศ

การผลิตสินค้าอาหารในประเทศมาเลเซียปัจจุบันมีการขยายตัวเพิ่มขึ้นมากในระยะหลังๆ เนื่องมาจาก กลุ่มผู้บริโภคส่วนใหญ่ไม่มีเวลาในการปรุงอาหารเองและต้องการความสะดวกเป็นหลัก

1.1 กลุ่มผู้บริโภคเป้าหมาย/พฤติกรรมผู้บริโภค

ส่วนใหญ่นอกจากจะเป็นกลุ่มคนวัยทำงานและกลุ่มคนรุ่นใหม่ที่มีกิจกรรมประจำวันมากและมีเวลาน้อย โดยทั่วไปแล้วชาวมาเลเซียมีนิสัยไม่ชอบทำอาหารรับประทานเองเนื่องจากมีความยุ่งยาก ชอบที่จะออกไปรับประทานอาหารนอกบ้าน นอกจากนี้ชาวต่างชาติที่อาศัยในมาเลเซียก็เป็นอีกกลุ่มเป้าหมายหนึ่ง

1.2 พฤติกรรมผู้บริโภค

ตลาดมาเลเซียเป็นตลาดที่มีความหลากหลายของกลุ่มผู้บริโภคเนื่องจากประชากรในประเทศนี้มีหลายชนชาติซึ่งได้แก่ ชาวมาเลย์ อินเดีย และ จีน แต่ละชนชาติบริโภคอาหารที่แตกต่างกันไปในระยะหลังผู้บริโภคชาวมาเลเซียเริ่มเปิดกว้างและยอมรับอาหารนานาชาติมากขึ้นมีการเปิดร้านอาหารยุโรป ร้านอาหารญี่ปุ่น ร่นอาหารตุรกี ร้านอาหารอียิปต์ ให้เห็นโดยทั่วไป

2. การส่งออกสินค้าอาหารของประเทศมาเลเซีย

2.1 การส่งออกอาหารทะเล (Fish and Sea Food)

ในช่วงที่ผ่านมา มาเลเซียส่งออกอาหารทะเลไปต่างประเทศเพิ่มขึ้น โดยในปี 2551 ส่งออก 671.93 ล้านเหรียญสหรัฐฯ เพิ่มขึ้นจากปี 2550 ซึ่งมีมูลค่า 623.43 ล้านเหรียญสหรัฐฯ ประมาณร้อยละ 7.78 อาหารทะเลที่ส่งออก ได้แก่ กุ้งแช่เย็นและแช่แข็ง ปลาแช่เย็นและแช่แข็ง เนื้อปู โดยมีตลาดส่งออกที่สำคัญ ได้แก่ สหรัฐอเมริกา สิงคโปร์ ญี่ปุ่น จีนและฮ่องกง

2.2 การส่งออกอาหารเสริม เครื่องปรุงรสและอาหารอื่นๆ (Miscellaneous Food)

มาเลเซียส่งออกอาหารแปรรูปไปต่างประเทศเพิ่มขึ้น โดยในปี 2551 ส่งออก 514.18 ล้านเหรียญสหรัฐฯ เพิ่มขึ้นจากปี 2550 ซึ่งมีมูลค่า 386.77 ล้านเหรียญสหรัฐฯ ประมาณร้อยละ 32.94 สินค้าอาหารที่ส่งออก ได้แก่ อาหารเสริม ไอศครีม ซ้อสปรุงรสต่างๆ เข่น ซ้อสมะเขือเทศ ซีอิ๊วโดยมีตลาดส่งออกที่สำคัญ ได้แก่ สิงคโปร์ อินโดนีเซีย ไทย ฟิลิปปินส์ และออสเตรเลีย

2.3 การส่งออกเครื่องดื่ม (Beverages)

มาเลเซียส่งออกเครื่องเครื่องดื่มไปต่างประเทศเพิ่มขึ้น โดยในปี 2551 ส่งออก 419.41 ล้านเหรียญสหรัฐฯ เพิ่มขึ้นจากปี 2550 ซึ่งมีมูลค่า 389.28 ล้านเหรียญสหรัฐฯ ประมาณร้อยละ 7.74 สินค้าที่ส่งออก ได้แก่ บรั่นดี เบียร์ น้ำหวาน วิสกี้ ฯลฯ โดยมีตลาดส่งออกที่สำคัญ ได้แก่ สิงคโปร์ ไทย อินโดนีเซีย เวียดนามและฮ่องกง

2.4 การส่งออกผัก (Vegetables)

มาเลเซียส่งออกผักไปต่างประเทศเพิ่มขึ้น โดยในปี 2551 ส่งออก 140.75 ล้านเหรียญสหรัฐฯ เพิ่มขึ้นจากปี 2550 ซึ่งมีมูลค่า 110.76 ล้านเหรียญสหรัฐฯ ประมาณร้อยละ 27.08 สินค้าที่ส่งออก ได้แก่ หอมหัวใหญ่ หอมแดง กระเทียม มะเขือเทศ ข้าวโพดหวาน ฯลฯ โดยมีตลาดส่งออกที่สำคัญ ได้แก่ สิงคโปร์ สหรัฐอเมริกา ออสเตรเลีย ไทยและฮ่องกง

2.5 การส่งออกอาหารสำเร็จรูป (Preserved Food)

มาเลเซียส่งออกอาหารสำเร็จรูปไปต่างประเทศเพิ่มขึ้น โดยในปี 2551 ส่งออก 120.72 ล้านเหรียญสหรัฐฯ เพิ่มขึ้นจากปี 2550 ซึ่งมีมูลค่า 86.40 ล้านเหรียญสหรัฐฯ ประมาณร้อยละ 39.72 สินค้าที่ส่งออก ได้แก่ น้ำผักและผลไม้กระป๋อง ผักและผลไม้กระป๋อง แยมและเจลลี่ ฯลฯ โดยมีตลาดส่งออกที่สำคัญ ได้แก่ สิงคโปร์ สหรัฐอเมริกา ออสเตรเลีย ไทยและฮ่องกง

3. การนำเข้าของประเทศมาเลเซีย

3.1 การนำเข้าอาหารทะเล (Fish and Sea Food)

ในช่วงที่ผ่านมา มาเลเซียนำเข้าอาหารทะเลจากต่างประเทศเพิ่มขึ้น โดยในปี 2551 นำเข้า 495.60 ล้านเหรียญสหรัฐฯ ลดลงจากปี 2550 ซึ่งมีมูลค่า 562.30 ล้านเหรียญสหรัฐฯ ประมาณร้อยละ 11.83 อาหารทะเลนำเข้า ได้แก่ กุ้งแช่เข็ง กุ้งแช่เย็น ปลาแช่เย็น โดยนำเข้าจากประเทศต่างๆ ได้แก่ อินโดนีเซีย จีน ไทย เวียดนามและพม่า

3.2 การนำเข้าอาหารเสริม เครื่องปรุงรสและอาหารอื่นๆ (Miscellaneous Food)

ในช่วงที่ผ่านมา มาเลเซียนำเข้าอาหารแปรรูปจากต่างประเทศเพิ่มขึ้น โดยในปี 2551 นำเข้า 393.38 ล้านเหรียญสหรัฐฯ เพิ่มขึ้นจากปี 2550 ซึ่งมีมูลค่า 331.35 ล้านเหรียญสหรัฐฯ ประมาณร้อยละ 18.72 สินค้าอาหารที่นำเข้า ได้แก่ ไอศครีม ซ้อสปรุงรสต่างๆ ซุปไก่สกัด ซีอิ๊ว โดยนำเข้าจากประเทศต่างๆ ได้แก่ ที่สำคัญ ได้แก่ สหรัฐฯ สิงคโปร์ ไทย อินนีเซียและเนเธอร์แลนด์

3.3 การนำเข้าอาหารสำเร็จรูป (Preserved Food)

มาเลเซียนำเข้าอาหารสำเร็จรูป (Preserved Food) จากต่างประเทศเพิ่มขึ้น โดยในปี 2551 นำเข้า 168.68 ล้านเหรียญสหรัฐฯ เพิ่มขึ้นจากปี 2550 ซึ่งมีมูลค่า 142.48 ล้านเหรียญสหรัฐฯ ประมาณร้อยละ 18.39 สินค้าที่นำเข้า ได้แก่ มันฝรั่งอบกรอบ ซ้อสมะเขือเทศ ถั่วลิสง เห็ด ผลไม้อบแห้ง ฯลฯ โดยมีตลาดนำเข้าที่สำคัญ ได้แก่ สหรัฐอเมริกา จีน ไทย นิวซีแลนด์และเบลเยี่ยม

3.4 การนำเข้าผัก (Vegetables)

มาเลเซียนำเข้าผักจากต่างประเทศลดลง โดยในปี 2551 นำเข้า 458.07 ล้านเหรียญสหรัฐฯ ลดลงจากปี 2550 ซึ่งมีมูลค่า 467.19 ล้านเหรียญสหรัฐฯ ประมาณร้อยละ 1.95 สินค้าที่นำเข้า ได้แก่ หอมหัวใหญ่ หอมแดง กระหล่ำปลี มันฝรั่ง แครอท ฯลฯ โดยนำเข้าจากประเทศต่างๆ ที่สำคัญ ได้แก่ จีน อินเดีย ไทย พม่า และออสเตรเลีย

3.5 การนำเข้าอาหารสำเร็จรูป (Preserved Food)

มาเลเซียนำเข้าอาหารสำเร็จรูปจากต่างประเทศเพิ่มขึ้น โดยในปี 2551 นำเข้า 168.68 ล้านเหรียญสหรัฐฯ เพิ่มขึ้นจากปี 2550 ซึ่งมีมูลค่า 142.48 ล้านเหรียญสหรัฐฯ ประมาณร้อยละ 18.39 สินค้าที่นำเข้า ได้แก่ น้ำผักและผลไม้กระป๋อง ผักและผลไม้กระป๋อง แยมและเจลลี่ ฯลฯ โดยนำเข้าจากประเทศต่างๆ ที่สำคัญ ได้แก่ สหรัฐอเมริกา จีน ไทย นิวซีแลนด์ เบลเยี่ยม เป็นต้น

3.2 แนวโน้มการนำเข้า

แนวโน้มการนำเข้าในระยะ 1-2 ปีที่ผ่านมา การนำเข้าสินค้าอาหารทะเล ผักสดและผลไม้ของมาเลเซียมีแนวโน้มลดลง เนื่องจากมีอุตสาหกรรมเลี้ยงกุ้ง และปลา ครบวงจร รวมทั้งมีการปลูกผักผลไม้เมืองร้อนเพื่อทดแทนการนำเข้ามากขึ้น

3.3 กฎระเบียบและพิธีการนำเข้า กฎระเบียบ

ผู้นำเข้ามาเลเซียต้องขอใบอนุญาตนำเข้าสำหรับอาหารทะเลและอาหารทะเลแปรรูปสินค้าข้างต้น อาทิ ปลากระตักปรุงรส กุ้ง ปู ปลาหมึก แช่เย็นแช่แข็งหรือแปรรูปไม่เสียภาษีไดๆทั้งสิ้น

ข้าวเกรียบที่มีส่วนผสมของเนื้อปลา กุ้ง ปลาหมึก จะต้องเสียภาษีนำเข้าในอัตราร้อยละ 5 แต่ไม่ต้องภาษีขาย

4. การตลาด

4.1 ช่องทางการจัดจำหน่าย

สินค้าอาหารส่วนใหญ่แล้วจะกระจายได้ตามช่องทาง ดังนี้

1. ผู้นำเข้าของมาเลเซียขายสินค้าให้กับร้านค้าปลีก (Retailer) และผู้บริโภคโดยตรง

2. ผู้นำเข้าของมาเลเซียกระจายสินค้าไปยังผู้ค้าส่งหรือผู้จัดจำหน่าย และร้านค้าส่งหรือผู้จัดจำหน่าย กระจายสินค้าต่อไปยัง โรงแรม ร้านอาหาร และศูนย์การค้า ก่อนถึงผู้บริโภคต่อไป

4.3 โอกาสของสินค้าไทย

สินค้าอาหารของไทยในตลาดมาเลเซียยังมีโอกาสสูงเนื่องจากอาหารไทยเป็นที่นิยมของชาวมาเลเซีย จากการที่อาหารไทยมีลักษณะคล้ายอาหารพื้นเมือง นอกจากเมนูอาหารไทย แล้ว อาหารนานาชาติ (International food) โดยเฉพาะอาหารญี่ปุ่น ยุโรป และอาหารตะวันออกกลางจะเป็นที่นิยมและดูเหมือนเป็นสินค้าใหม่ในตลาดมาเลเซียที่วิถีชีวิตของผู้คนเริ่มที่เริ่มจะเปิดกว้างต่อวัฒนธรรมนานาชาติมากขึ้น

4.4 ปัญหาและอุปสรรค

1. มาเลเซียยังไม่ยอมรับเครื่องหมายฮาลาลของหลายประเทศรวมทั้งเครื่องหมายฮาลาลของไทย ถึงแม้ว่าผู้ประกอบการไทยจะสามารถส่งสินค้าเข้ามาจำหน่ายในมาเลเซียได้ แต่ควรสร้างความมั่นใจแก่ผู้บริโภคชาวมาเลย์ที่เป็นมุสลิมโดยการขอให้มีการรับรองเครื่องหมายฮาลาลจากหน่วยงานของมาเลเซียอีกครั้งหนึ่ง

2. คู่แข่งท้องถิ่นจะมีโอกาสในเรื่องของราคา ดังนั้นหากสินค้าพร้อมรับประทานที่เป็นเมนูอาหารไทยจากประเทศไทยมีราคาสูง จะเป็นปัจจัยทำให้ผู้บริโภคหันไปเลือกซื้อสินค้าท้องถิ่นแทน เนื่องจากไม่มีความแตกต่างมากนักระหว่างอาหารไทยและอาหารมาเลเซีย

ข้อเสนอแนะสำหรับสินค้าอาหารของไทย

ตลาดมาเลเซียเป็นอีกตลาดหนึ่งที่น่าสนใจนอกเหนือจากตลาดยุโรปและอเมริกา โดยเฉพาะในเรื่องของระยะทางที่ใกล้ทำให้ต้นทุนการขนส่งต่ำลง และวัฒนธรรมการรับประทานที่คล้ายกันทำให้ไม่ต้องปรับรสชาดของอาหารมากนัก อย่างไรก็ตามการตั้งราคาขายในมาเลเซียก็มีความสำคัญ เนื่องจากมีผู้นำเข้าสินค้าอาหารพร้อมรับประทานหลายรายสนใจสินค้าไทยแต่ไม่สามารถสั่งซื้อได้เนื่องจากมีการตั้งราคาที่สูงมาก ดังนั้นผู้ประกอบการไทยที่สนใจตลาดนี้ควรมีการตั้งราคาสินค้าที่เหมาะสม

5. รายชื่อ ที่อยู่ที่ติดต่อ ผู้นำเข้าและผู้ผลิตที่สำคัญในมาเลเซีย

FOOD & CANNED FOOD IMPORTERS IN MALAYSIA

1. Ben Trading (M) Sdn. Bhd.

Lot 4 & 6, Jalan 13/6, Subang Jaya Industrial Estate

47500 Subang Jaya

Tel: 603-56345896

Fax: 603-56345898

Email: bentrade@tm.net.my

Attn: Madam Sue Thong — H/P: 016-2012188

2. Agrifood Sales Sdn. Bhd.

23 Jalan Awan Hijau, Overseas Union Garden

Off Jalan Klang Lama

58200 Kuala Lumpur

Tel: 603-79830618

Fax: 603-79812568

Email: fulerton@tm.net.my

Attn: Mr. Y.K. Lee / Ms. C. K. Lee

3. Shyan Trading Co.

Unit 830, Block A, Kelana Centre Point

3, Jalan SS 7/19, Kelana Jaya

47301 Petaling Jaya

Tel: 603-78806448

Fax: 603-78806450

Email: shyant@pc.jaring.my

Attn: Mrs. Ng — H/P: 012-2128232

4. Tian Hua Sdn. Bhd.

4 Lorong SS 13/6B, Subang Jaya

47500 Petaling Jaya

Tel: 603-56346770

Fax: 603-56349418

Email: thuasb@po.jaring.my

Website: alishan.com.my

Attn: Mr. Ngan Chuan Choo

5. Harpers Trading (M) Sdn. Bhd.

No. 74, Jalan Universiti

46200 Petaling Jaya

Tel: 603-79560011

Fax: 603-79564184

Email: simon.wong@dksh.com

6. Xian Jiang Trading Sdn. Bhd.

30-1, Persiaran 65C, Pekeliling Business Centre

off Jalan Pahang Barat

53000 Kuala Lumpur

Tel: 603-40221088

Fax: 603-40225088

Email: xjt@tradestar.com

Attn: Mr. K. C. Chung

7. Lun Heng Sdn. Bhd.

Lot 47 Taman Perindustri Putra, Sungai Buloh

47000 Selangor

Tel: 603-61576868

Fax: 603-61578680

Email: lunheng@tm.net.my

Attn: Mr. Chan Boon Wan — H/P : 019-3390971

8. A. Clouet & Co. (KL) Sdn. Bhd.

19 Persiaran Sabak Bernam, Section 26

40400 Shah Alam, Selangor

Tel: 603-51911069

Fax: 603-51911988

Email: aclouet@po.jaring.my

9. Kwang Yan Trading Sdn. Bhd.

21 Main Bazaar

93000 Kuching, Sarawak

Tel: 6082-416434

Fax: 6082-425682

Email: kwangyan@tm.net.my

10. Perniagaan Keng Chew

27 Jalan Anggerik Aranda C31/C

Kota Kemuning, Section 31

40460 Shah Alam

Tel: 603-51247226

Fax: 603-51247216

Email: twplace@tm.net.my

Attn: Mr. T. W. Wong — H/P: 012-2968061

11. Tong Huang Trading Sdn. Bhd.

4, Jalan TTC 2, Taman Teknologi Cheng

75200 Melaka

Tel: 606-3355599

Fax: 606-3358899

Email: thtsbmk2@tm.net.my

Attn: Mr. Trevor Tan

12. Master Marketing Resources Sdn. Bhd.

61 Jalan BP 5, Bandar Bukit Puchong

47100 Puchong, Selangor

Tel : 603-80618181

Fax : 603-80618186

Email: arco@tm.net.my

Attn: Mr. Chua Siong Lee

13. Siri Jawi Enterprise

1 Jalan SU 29, Taman Industry Selayang Utama

68100 Batu Caves, Selangor

Tel : 603-61378966

Fax : 603-61379113

Email : sirijawi@pd.jaring.my

Attn : Mr. Tan Soon Pheng

14. Socma Trading (M) Sdn. Bhd.

No. 3 Jalan Perunding U1/17, Seksyen U1

Hicom Glenmarie Industrial Park

40150 Shah Alam

Tel: 603-78727200, 78727266, 012-3808962

Fax: 603-78727288

Email: warren@socma.com.my

15. Chip Heng Ch’ng Sdn. Bhd.

140-150, Jalan Lim Chwee Leong

10100 Penang

Tel: 604-2613888

Fax: 604-2617272

Email: chcpeace@tm.net.my

Attn: Mr. Poh Soon Thiam / Mr.Pee Tee Khoon

Mr. Pheh Chit Min (Managing Director)

16. Tropical Consolidated Corp Sdn. Bhd.

Lot 9-12 Mk 18, Jalan Mengkuang, Penanti

14400 Bukit Mertajam, Penang

Tel: 604-5211757

Fax: 604-5221530

Email: tropical@tropical.com.my

Attn: Mr. Gilbert Tan Beng Tee

International Sales & Marketing Director

17. Lanc Corporation Sdn. Bhd.

(Chiap Hong Cannery Sdn. Bhd.)

12, Jalan Kenanga 7

Bukit Beruntung Industrial Estate

48300 Rawang, SELANGOR

Tel: 03-60283333

Mobile: 012-2895620 (Mr. Lee)

Fax: 03-60281032

E-mail: charleslee@sunstar.com.my

Attn: Mr. Charles Lee

19. Sunlight Packaging (M) Sdn. Bhd.

No. 7, Block D, Lot 757

Prime Subang 3, Off Persiaran Subang

47610 Subang Jaya

Tel: 603-56210503

Fax: 603-56210504

Email: vinuma1931@yahoo.com

Attn: Ms. Uma

20. Succeo Food & Beverage Sdn. Bhd.

15, Jalan PJU 3/49, PJU 3

Sunway Damansara Technology Park

47810 Petaling Jaya, Selangor

Tel: 603-78062989, 012-2090363

Fax: 603-78062986

Email: marketing@succeo.com.my

Attn: Ms. Miko Tan

21. Network Foods (M) Sdn. Bhd.

No. 6, Jalan U1/14, Section U1

HICOM Glenmarie Industrial Park

40150 Shah Alam

Tel: 603-55691848

Fax: 603-55691877

Email: lorraine@networkfoods.com.my

Attn: Ms. Lee Pei Ling

22. Sunland Volonte Agency Sdn. Bhd.

4 Jalan Sungai Beting 2

Off Jalan Sg. Putus

42100 Klang

Tel: 603-32918608

Fax: 603-32918908

Email: info@sunland.com.my

Attn: Mr. Lawrence Law

23. Shiny Trading Sdn. Bhd.

82 Jalan Permas 9/7

Bandar Baru Permas Jaya

81750 Johor Bahru, Johor

Tel: 607-3870668

Fax: 607-3887669

Email: shinyjanice@yohoo.com.tw

Attn: Ms. Janice Ting

BEVERAGE / CANNED DRINKS / ENERGY DRINKS
IMPORTERS IN MALAYSIA

1. Powerpack Management Services

11-2, USJ 21/3

47630 Subang Jaya

Tel: 603-80249284

Fax: 603-80249285

H/P: 012-3030110(Mr. Lee)

Attn: Mr. Lee Yew Wei / Mr. Gan Seng Yap

2. Wellturn Sdn. Bhd.

54A Jalan SS 2/67

47300 Petaling Jaya

Tel: 603-78048266

Fax: 603-78048299

H/P: 016-2621339

Attn: Mr. Anthony Tan

3. Master Marketing Resources Sdn. Bhd.

61 Jalan BP 5, Bandar Bukit Puchong

47100 Puchong, Selangor

Tel : 603-80618181

Fax : 603-80618186

H/P: 012-2111166

Email: acro@tm.net.my

Attn: Mr. Chua Siong Lee

4. Dapat Merta Trading

36 Jalan PBS 14/10, Taman Perindustrian Serdang

43300 Seri Kembangan, Selangor

Tel: 603-89425169

Fax: 603-89485897

H/P: 012-2128990

Attn: Mr. William Chew

5. Xian Jiang Trading Sdn. Bhd.

30-1, Persiaran 65C, Pekeliling Business Centre

off Jalan Pahang Barat

53000 Kuala Lumpur

Tel: 603-40221088

Fax: 603-40225088

Attn: Mr. Thomas Chung / K. C. Chung

6. Progressive Food Sdn. Bhd.

Block 1A-6-2, Bandar Baru Klang Condo.

Persiaran Bukit Raja 1

41150 Klang, Selangor

Tel/Fax: 603-33433608

H/P: 012-2121898

Attn: Pearl Thor

7. Vans’ Intercontinental Sales & Marketing (M) Sdn. Bhd.

25 Jalan Selat Selatan 4, Off Jalan Banting

Landpac Industrial Park, Pandamaran

42000 Port Klang

Tel : 603-31651617, 31651618

Fax : 603-31650695

Email : vans_1950@hotmail.com

Attn : Mr. Sarvesvaran Ramachandran

(Alcoholic and non-alcoholic beverages)

8. Succeo Food & Beverage Sdn. Bhd.

15, Jalan PJU 3/49, PJU 3

Sunway Damansara Technology Park

47810 Petaling Jaya, Selangor

Tel: 603-78062989, 012-2090363

Fax: 603-78062986

Email: marketing@succeo.com.my

Attn: Ms. Miko Tan

9. FFM Marketing Sdn. Bhd.

PT 45125, Batu 15 1/2, Sg. Pelong

47000 Sg. Buloh, Selangor

Tel: 603-61565888

Fax: 603-61570027

(Import ‘V-Soy’ brand soymilk)

10. Pok Brothers Sdn. Bhd.

(Pok Brothers took over QL Distribution)

560 Jalan Subang 3

Sungei Penaga Industrial Park

47500 Subang Jaya

Tel: 603-56368833

Fax: 603-56360016

Email: Robert.tan@pokbrothers.com

Contact: Mr. Robert Tan (Wine)

Ms. Mei Fong (Beverage & Dairy Products)

11. Spices & Seasonings Specialities Sdn. Bhd.

Lot 6, Jalan P/15,

Kawasan Perindustrian MIEL, Seksyen 10

43650 Bandar Baru Bangi, Selangor

Tel: 603-89269550

Fax: 603-89269504

Email : aerischow@telly.com.my

Contact : Ms. Aeris Chow

ที่มา: http://www.depthai.go.th


เว็บไซต์นี้มีการใช้งานคุกกี้ ศึกษารายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และ ข้อตกลงการใช้บริการ รับทราบ