รายงานภาวะเศรษฐกิจประจำวันที่ 25 มิ.ย. 2564

ข่าวเศรษฐกิจ Monday June 28, 2021 15:53 —กระทรวงการคลัง

Macro Weekly Review

Last updated

25June 2021

FPO

Executive Summary

? มูลค่าการส่งออกในเดือน พ.ค. 64 ขยายตัวที่ร้อยละ 41.6 เมื่อเทียบช่วง

เดียวกันปีก่อน ขณะที่มูลค่าการนาเข้าในเดือน พ.ค. 64 ขยายตัวที่ร้อยละ

63.5 เมื่อเทียบช่วงเดียวกันปีก่อน

? จานวนนักท่องเที่ยวต่างชาติที่เดินทางเข้าประเทศไทยในเดือน พ.ค. 64

มีนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติประเภทพิเศษ (Special Tourist Visa: STV)

รวมถึงนักท่องเที่ยวกลุ่มสิทธิพิเศษ (Thailand Privilege Card) และนัก

ธุรกิจ เดินทางเข้าประเทศ จานวน 6,052 คน ขยายตัวที่ร้อยละ 100 ต่อปี

? ดัชนีผลผลิตสินค้าเกษตรกรรมในเดือน พ.ค. 64 ขยายตัวที่ร้อยละ 0.6

เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน ขณะที่ดัชนีราคาสินค้าเกษตรกรรม

ในเดือน พ.ค. 64 ขยายตัวที่ร้อยละ 15.1 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของ

ปีก่อน

เศรษฐกิจไทย

1

? วันที่ 23 มิ.ย. 64 คณะกรรมการนโยบายการเงิน (กนง.) มีมติเป็นเอกฉันท์

ให้คงอัตราดอกเบี้ยนโยบายไว้ที่ร้อยละ 0.50 ต่อปี ซึ่งเป็นอัตราเดิมต่อเนื่อง

มาตั้งแต่เดือน มิ.ย. 63

ภาคการเงิน

เครื่องชี้เศรษฐกิจไทย

มูลค่าการส่งออกในเดือน พ.ค. 64 มีมูลค่า

23,058 ล้านดอลลาร์สหรัฐ คิดเป็นการ

ขยายตัวที่ร้อยละ 41.6 เมื่อเทียบช่วงเดียวกัน

ปีก่อน โดยนับเป็นอัตราการขยายตัวที่สูงสุด

ในรอบเกือบ 11 ปี นับตั้งแต่เดือน มิ.ย. 53

สาหรับสินค้าสาคัญที่ยังคงเป็นปัจจัยหนุนการส่งออกในเดือน

ดังกล่าว อาทิ รถยนต์อุปกรณ์และส่วนประกอบ (+170.3%)

อัญมณีและเครื่องประดับไม่รวมทองคา (+113.3%)

สินค้าเกี่ยวเนื่องน้ามัน (+75.8%) ยางพารา (+99.2%) ผักผลไม้

สดแช่เย็น แช่แข็ง กระป๋องและแปรรูป (+31.9%) สิ่งปรุงรสอาหาร

(+25.1%) อาหารสัตว์เลี้ยง (+24.0%) เป็นต้น ขณะที่ สินค้า

ส่งออกทองคายังคงหดตัวต่อเนื่องเป็นเดือนที่ 9 ติดต่อกัน

เมื่อพิจารณาจาแนกเป็นรายตลาดคู่ค้าหลักของไทย พบว่า การ

ส่งออกไปยังตลาดคู่ค้าที่สาคัญขยายตัวในทุกตลาด โดยเฉพาะ

ตลาดสหรัฐ จีน ญี่ปุ่น เกาหลีใต้ และไต้หวัน ที่ขยายตัวอย่าง

ต่อเนื่องอยู่ที่ร้อยละ 44.9 25.5 27.4 66.4 และ 48.5 ต่อปี

ตามลาดับ ทั้งนี้ มูลค่าการส่งออกในช่วง 5 เดือนแรกของปี 64

ขยายตัวเฉลี่ยที่ร้อยละ 10.8 ต่อปี

กราฟการส่งออก-การนาเข้า

มูลค่าการนาเข้าในเดือน พ.ค. 64 มีมูลค่า

22,262 ล้านดอลลาร์สหรัฐ ขยายตัวสูงที่

ร้อยละ 63.5 เมื่อเทียบช่วงเดียวกันปีก่อน

จากการขยายตัวของกลุ่มสินค้านาเข้าสาคัญ เช่น น้ามันดิบ

เคมีภัณฑ์ เหล็ก เหล็กกล้า และผลิตภัณฑ์ สินแร่โลหะอื่น ๆ เศษ

โลหะและผลิตภัณฑ์ เครื่องจักรกลและส่วนประกอบ เคมีภัณฑ์

เครื่องจักรไฟฟ้าและส่วนประกอบ แผงวงจรไฟฟ้า ส่วนประกอบและ

อุปกรณ์ยานยนต์ เป็นต้น ทั้งนี้ มูลค่าการนาเข้าช่วง 5 เดือนแรก

ของปี 64 ขยายตัวเฉลี่ยที่ร้อยละ 21.5 ต่อปี สาหรับดุลการค้า ใน

เดือน พ.ค. 64 ยังคงเกินดุลที่มูลค่า 796 ล้านดอลลาร์สหรัฐ

ส่งผลให้ดุลการค้าสะสมของไทยในช่วง 5 เดือนแรกของปี 64

เกินดุลมูลค่า 1,494 ล้านดอลลาร์สหรัฐ

เครื่องชี้เศรษฐกิจไทย

จานวนนักท่องเที่ยวต่างชาติที่เดินทางเข้าประเทศไทยในเดือน พ.ค. 64 มีนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติประเภท

พิเศษ (Special Tourist Visa: STV) รวมถึงนักท่องเที่ยวกลุ่มสิทธิพิเศษ (Thailand Privilege Card)

และนักธุรกิจ เดินทางเข้าประเทศ จานวน 6,052 คน ขยายตัวที่ร้อยละ 100 ต่อปี ลดลงเล็กน้อย

จากเดือนก่อนหน้า เนื่องจากประกอบการระบาดของเชื้อไวรัสโควิด-19 ระลอกในประเทศไทย ประกอบกับ

มาตรการทางสาธารณสุขที่มีการเพิ่มวันกักตัวสาหรับผู้ที่เดินทางจากต่างประเทศเข้ามาในประเทศไทย

เป็น 14 วันเหมือนเดิม (จากเดิม 7-10 วัน) ซึ่งมีผลตั้งแต่วันที่ 1 พ.ค. 64

โดยส่วนใหญ่เป็นนักท่องเที่ยวจากสหรัฐอเมริกา

จีน ส ห ร ช อ ณา จัก ร แ ล เ ย อ ร ม นี ใ น ขณะ ที่

การท่องเที่ยวภายในประเทศ สะท้อนจากจานวน

ผู้เยี่ยมเยือนชาวไทยในเดือน พ.ค. 64 อยู่ที่ 1.37

ล้านคน ขยายตัวร้อยละ 140.2 ต่อปี เมื่อเทียบกับ

ช่วงเดียวกันของปีก่อน โดยเป็นผลจากปัจจัยฐาน

ต่าในปีก่อนหน้า และลดลงติดต่อกันเป็นเดือนที่ 3

เ นื่อ ง จ ก เ ป็น ช่วง ข อ ง ก ร ร บ ด ส ถ น ก ร ณ์

การแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโควิด-19 ระลอกใหม่ใน

ประเทศที่ยังไม่คลี่คลาย

กราฟจานวนนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติ (คน)

Indicators

(%yoy)

2020 2021

Q4 ทั้งปี Q1 Apr May YTD

จานวนนักท่องเที่ยวต่างชาติที่

เดินทางเข้าประเทศ

-99.9 -83.2 -99.7 100.0 100.0 -99.5

%mom_sa, %qoq_sa - - - 43.0 -8.9 -

จานวนผู้เยี่ยมเยือนชาวไทย -29.9 -46.4 -34.5 5,261.5 140.2 -35.1

%mom_sa, %qoq_sa - - - - - -

อัตราการเข้าพักเฉลี่ย (%) 32.5 29.5 16.6 16.6 5.0 13.6

4

เครื่องชี้เศรษฐกิจไทย

ดัชนีผลผลิตสินค้าเกษตรกรรมในเดือน

พ.ค. 64 ขยายตัวเล็กน้อยที่ร้อยละ 0.6

เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน

หรือคิดเป็นการขยายตัวร้อยละ 5.6

เมื่อเทียบกับเดือนก่อนหน้าหลังขจัด

ผลทางฤดูกาล

หากพิจารณารายหมวดผลผลิตสินค้าเกษตรในเดือน

พ.ค. 64 พบว่า ผลผลิตสินค้าเกษตรกรรมขยายตัว

ในหมวดหมวดปศุสัตว์ที่ร้อยละ 2.7 ขณะที่ผลผลิต

ในหมวดพืชผลสาคัญและหมวดประมงหดตัวที่ร้อยละ

-0.2 และ -3.9 ตามลาดับ โดยสินค้าสาคัญที่มีผลผลิต

เพิ่มขึ้น ได้แก่ ข้าวเปลือก มันสาปะหลัง ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์

และสุกร ขณะที่สินค้าสาคัญที่มีผลผลิตลดลง ได้แก่

กลุ่มไม้ผล และกุ้งขาวแวนนาไม

ดัชนีราคาสินค้าเกษตรกรรมในเดือน

พ.ค. 64 ขยายตัวสูงที่ร้อยละ 15.1

เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน

หรือคิดเป็นการหดตัวร้อยละ -2.2

เมื่อเทียบกับเดือนก่อนหน้าหลังขจัด

ผลทางฤดูกาล

หากพิจารณารายหมวดราคาสินค้าเกษตรในเดือน

พ.ค. 64 พบว่า ดัชนีราคาสินค้าเกษตรขยายตัวใน

ทุกหมวดสินค้า โดยหมวดพืชผลสาคัญ หมวดปศุสัตว์

และหมวดประมง ขยายตัวที่ร้อยละ 18.0 8.0 และ 1.3

ตามลาดับ โดยสินค้าที่ราคาเพิ่มขึ้น ได้แก่ ยางพารา

มันสาปะหลัง ปาล์มน้ามัน กลุ่มไม้ผล สุกร และไก่

ขณะที่สินค้าที่ราคาลดลง ได้แก่ ข้าวเปลือก

อัตราการเปลี่ยนแปลงของดัชนีเศรษฐกิจการเกษตร

ดัชนีผลผลิต ดัชนีราคา ดัชนีรายได้เกษตรกรที่แท้จริง

5

เครื่องชี้เศรษฐกิจไทย

วันที่ 23 มิ.ย. 64 คณะกรรมการนโยบายการเงิน (กนง.) มีมติเป็นเอกฉันท์ให้คง

อัตราดอกเบี้ยนโยบายไว้ที่ร้อยละ 0.50 ต่อปี ซึ่งเป็นอัตราเดิมต่อเนื่องมาตั้งแต่

เดือน มิ.ย. 63

กนง. ประเมินว่าการระบาดระลอกที่ 3 ของโควิด-19 ทาให้เศรษฐกิจไทยฟื้นตัวช้าลง

และไม่ทั่วถึงมากขึ้นเมื่อเทียบกับประมาณการเดิม อีกทั้งในระยะข้างหน้ายังมีแนวโน้ม

เผชิญความเสี่ยงด้านต่าอย่างมีนัยสาคัญจากสถานการณ์การระบาดระลอกใหม่

กนง. เห็นว่าการเร่งดาเนินมาตรการทางการเงินโดยเฉพาะสินเชื่อฟื้นฟูรวมทั้ง

การปรับปรุงโครงสร้างหนี้จะช่วยภาคธุรกิจและครัวเรือนที่ได้รับผลกระทบได้ตรงจุด

มากกว่าการปรับลดอัตราดอกเบี้ย

กราฟอัตราดอกเบี้ยนโยบาย

6

เครื่องชี้เศรษฐกิจต่างประเทศ

ยอดขายบ้านใหม่ เดือน พ.ค. 64 หดตัวที่ร้อยละ --5.95.9จากเดือนก่อนหน้า(ขจัดผลทางฤดูกาลแล้ว) ชะลอลงจากเดือน เม.ย. 64 ที่หดตัวที่ร้อยละ -77.88จากเดือนก่อนหน้า (ขจัดผลทางฤดูกาลแล้ว) โดยมียอดขายบ้านใหม่เพิ่มขึ้นในภาคตะวันตกและตะวันออกเฉียงเหนือ ขณะที่ ยอดขายบ้านใหม่ปรับตัวลดลงในภาคใต้ ทั้งนี้ ยอดขายบ้านใหม่ในสหรัฐฯ ยังคงเผชิญปัญหาการขาดแคลนวัสดุก่อสร้าง และราคาบ้านที่ปรับตัวเพิ่มสูงขึ้น อย่างไรก็ดี หากเทียบเป็นรายปีพบว่า ยอดขายบ้านใหม่ เดือน พ.ค. 64 ขยายตัวที่ร้อยละ 9.2 9.2 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน

ยอดขายบ้านมือสอง เดือน พ.ค. 64 หดตัวที่ร้อยละ -0.90.9จากเดือนก่อนหน้า (ขจัดผลทางฤดูกาลแล้ว) ชะลอลงจากเดือน เม.ย. 64 ที่หดตัวที่ร้อยละ -2.72.7จากเดือนก่อนหน้า (ขจัดผลทางฤดูกาลแล้ว) ทั้งนี้ การขาดแคลนสินค้าคงคลังยังคงเป็นปัจจัยสาคัญที่ทาให้ยอดขายบ้านมือสองลดลง อย่างไรก็ดี หากเทียบเป็นรายปีพบว่า ยอดขายบ้านมือสอง เดือน พ.ค. 64 ขยายตัวที่ร้อยละ 44.6 44.6 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน

จานวนผู้ขอรับสวัสดิการว่างงานครั้งแรกรายสัปดาห์ (1313-199มิ.ย. 64) อยู่ที่ 4.111แสนราย ลดลงจากเดือนก่อนหน้าที่อยู่ที่ 3.75 แสนราย ส่วนหนึ่งเป็นผลจากการยกเลิกสวัสดิการช่วยเหลือผู้ว่างงานจากรัฐบาลกลางในรัฐอลาสก้า ไอโอวา มิสซูรี และมิสซิสซิปปี้ เมื่อวันที่ 1212มิ.ย. 6464อย่างไรก็ดี จานวนผู้ขอรับสวัสดิการว่างงานครั้งแรกรายสัปดาห์นี้ ยังคงสูงกว่าค่าเฉลี่ยต่อสัปดาห์ในช่วงก่อนเกิดการแพร่ระบาดของไวรัสโควิด-19 ในสหรัฐ ที่อยู่ที่ระดับ 2.3 แสนราย

สหรัฐฯ

ดัชนีฯ PMIPMIภาคอุตสาหกรรม เดือน มิ.ย. 64 ปรับตัวลดลงมาอยู่ที่ 51.5 จุด จาก 53.0 จุด ในเดือน พ.ค. 64 ซึ่งนับเป็นการปรับตัวลดลงต่าสุดตั้งแต่เดือน ก.พ. 64 เนื่องจากการแพร่ระบาดของโควิด-19 ระลอกใหม่

ดัชนีฯ PMIPMIภาคบริการ เดือน มิ.ย. 64 ปรับตัวเพิ่มสูงขึ้นจากเดือนก่อนหน้ามาอยู่ที่ 47.2 จุด จาก 46.5จุด ในเดือน พ.ค. 64

ญี่ปุ่น

ยูโรโซน

ฮ่องกง

อัตราเงินเฟ้อ เดือน พ.ค. 64 ขยายตัวที่ร้อยละ 1.0 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน เร่งขึ้นจากเดือนก่อนหน้าที่ขยายตัวที่ร้อยละ 0.8 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน และเป็นระดับที่สูงที่สุดนับตั้งแต่เดือน ก.พ. 64เป็นผลจากการมีฐานต่า จากมาตรการลดค่าเช่าให้แก่ผู้เช่าอสังหาริมทรัพย์ของรัฐบาล เพื่อบรรเทาผลกระทบจากการแพร่ระบาดเมื่อปีที่แล้ว และจากราคาสินค้าในกลุ่มสาธารณูปโภค การขนส่ง และเครื่องแต่งกายที่ปรับตัวเพิ่มขึ้นเป็นสาคัญ

ดัชนีความเชื่อมั่นผู้บริโภค (เบื้องต้น) เดือน มิ.ย. 64 อยู่ที่ระดับ -3.3 จุด เพิ่มขึ้นจากเดือน พ.ค. 64ที่อยู่ที่ระดับ -5.1จุด โดยได้รับแรงหนุนจากการเปิดเศรษฐกิจ และการเร่งฉีดวัคซีนของภูมิภาคยูโรโซน

ดัชนีฯ PMIPMIภาคอุตสาหกรรม (เบื้องต้น) เดือน มิ.ย. 64 อยู่ที่ระดับ 63.1 จุด ไม่เปลี่ยนแปลงจากเดือน พ.ค. 64ที่อยู่ที่ระดับ 63.1จุด อย่างไรก็ดี มากกว่าที่ตลาดคาดการณ์ไว้ว่าจะอยู่ที่ระดับ 62.1จุด

ดัชนีฯ PMIPMIภาคการบริการ (เบื้องต้น) เดือน มิ.ย. 64 อยู่ที่ระดับ 58.0 จุด เพิ่มขึ้นจากเดือน พ.ค. 64 ที่อยู่ที่ระดับ 55.2จุด เนื่องจากมีการผ่อนคลายที่มากขึ้นของมาตรการควบคุมการแพร่ระบาดโรคโควิด-19ในยูโรโซน รวมถึงมีการส่งออกบริการที่เพิ่มสูงขึ้น

7

เครื่องชี้เศรษฐกิจต่างประเทศ

สิงคโปร์

เกาหลีใต้

สหราชอาณาจักร

ไต้หวัน

ผลผลิตภาคอุตสาหกรรมเดือน พ.ค. 64 ขยายตัวที่ร้อยละ 16.51 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน เร่งขึ้นจากเดือนก่อนหน้าที่ขยายตัวที่ร้อยละ 114.1010จากช่วงเดียวกันของปีก่อนและเป็นระดับที่สูงที่สุดนับตั้งแต่เดือน ก.พ. 64 จากการขยายตัวของกิจกรรมทางอุตสาหกรรม โดยเฉพาะในกลุ่มการผลิตและกลุ่มไฟฟ้าและก๊าซ ในทางกลับกัน การทาเหมืองแร่และเหมืองหิน และผลผลิตสาหรับน้าประปา ยังคงลดลงอย่างต่อเนื่อง

ยอดค้าปลีก เดือน พ.ค. 64 ขยายตัวที่ร้อยละ 2.80 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน ชะลอลงจากเดือนก่อนที่ขยายตัวที่ร้อยละ 18.2718.27จากช่วงเดียวกันของปีก่อน และเป็นระดับที่ต่าที่สุดนับตั้งแต่เดือน ม.ค. 64 64 จากการยกระดับมาตรการการควบคุมการแพร่ระบาดของไวรัสโควิด--1919ซึ่งส่งผลกระทบต่อยอดค้าปลีก โดยเฉพาะในกลุ่มเสื้อผ้าและสิ่งทอ และสินค้าทางวัฒนธรรมและสันทนาการที่หดตัวลงเป็นสาคัญ

ดัชนีราคาผู้ผลิตเดือน พ.ค. 64 ขยายตัวที่ร้อยละ 6.40 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน เร่งขึ้นจากเดือนก่อนหน้าที่ขยายตัวที่ร้อยละ 6.06.0จากช่วงเดียวกันของปีก่อนและเป็นการขยายตัวต่อเนื่องติดต่อกันเป็นเดือนที่ 66

ดัชนีฯ PMI PMI ภาคอุตสาหกรรม เดือน มิ.ย. 64 ปรับตัวลดลงมาอยู่ที่ 64.2 จุด จาก 65.6จุด ในเดือน พ.ค. 64

ดัชนีฯ PMI PMI ภาคบริการ เดือน มิ.ย. 64 ปรับตัวลดลงมาอยู่ที่ 61.7 จุด จาก 62.9จุด ในเดือน พ.ค. 64

ทั้งนี้ ค่าดัชนีฯ PMIPMIภาคอุตสาหกรรมและภาคบริการยังคงสูงกว่า 50.0จุด สะท้อนให้เห็นถึงการเติบโต ของกิจกรรมในภาคอุตสาหกรรมและธุรกิจในภาคบริการ

ฟิลิปปินส์

ธนาคารกลางฟิลิปปินส์ประกาศคงอัตราดอกเบี้ยอยู่ที่ร้อยละ 2.0ต่อปี

อัตราเงินเฟ้อ เดือน พ.ค. 64 ขยายตัวที่ร้อยละ 2.4 จากช่วงเดียวกันปีก่อน เพิ่มขึ้นจากเดือนก่อนหน้า ที่อยู่ที่ร้อยละ 2.1และเป็นการขยายตัวสูงที่สุดตั้งแต่เดือน พ.ย. 56เนื่องมาจากต้นทุนค่าขนส่งของภาคเอกชนและฐานต่าเป็นสาคัญ

ผลผลิตภาคอุตสาหกรรม เดือน พ.ค. 64 ขยายตัวที่ร้อยละ 30 จากช่วงเดียวกันปีก่อน เร่งขึ้นจากเดือนก่อนหน้าที่อยู่ที่ร้อยละ 2.3 และเป็นการขยายตัวสูงที่สุดตั้งแต่เดือน พ.ย. 53 จากสินค้าในหมวดอิเล็กทรอนิกส์เป็นสาคัญ

ออสเตรเลีย

ดัชนีฯ PMIPMIภาคอุตสาหกรรม เดือน มิ.ย. 64 ปรับตัวลดลงมาอยู่ที่ 58.4 จุดจาก 60.4จุด ในเดือน พ.ค. 64เนื่องจากคาสั่งซื้อจากโรงงานและผลผลิตที่ชะลอตัวลง

ดัชนีฯ PMIPMIภาคบริการ เดือน มิ.ย. 64 ปรับตัวลดลงมาอยู่ที่ 56.0 จุด จาก 58.0จุด ในเดือน พ.ค. 64โดยมีสาเหตุหลักมาจากการล็อกดาวน์ของรัฐวิกตอเรียส่งผลให้กิจกรรมทางธุรกิจชะลอตัวลง

มาเลเซีย

อัตราเงินเฟ้อ เดือน พ.ค. 64 ขยายตัวที่ร้อยละ 4.4 จากช่วงเดียวกันปีก่อน ลดลงจากเดือนก่อนหน้า ที่อยู่ที่ร้อยละ 4.7เนื่องมาจากราคาอาหารที่ลดลงเป็นสาคัญ

ค่าเงินสกุลต่างๆ เครื่องหมาย + คือแข็งค่าขึ้น และเครื่องหมาย -คืออ่อนค่าลง เมื่อเทียบกับค่าเงินดอลลาร์สหรัฐดัชนีค่าเงินบาท (NEER) NEER) แข็งค่าขึ้น (+) หรืออ่อนค่าลง (-) ในช่วงระยะเวลาดังกล่าวโดยคิดเป็นอัตราร้อยละ

ดัชนี SET SET ปรับตัวลดลงจากสัปดาห์ก่อนเล็กน้อย สอดคล้องกับ ตลาดหลักทรัพย์อื่น ๆ ในภูมิภาคที่ปรับตัวลดลง เช่น NikkeiNikkei225225((ญี่ปุ่น) TWSE (TWSE (ไต้หวัน) และ STI (STI (สิงคโปร์) เป็นต้น ดัชนี SET SET ทยอยปรับตัวลดลงตลอดทั้งสัปดาห์ โดยเมื่อวันที่ 2424มิ.ย. 64 ดัชนีปิดที่ระดับ 1,585.72585.72จุด ด้วยมูลค่าซื้อขายเฉลี่ยระหว่างวันที่ 2121-2424มิ.ย. 64อยู่ที่ 82,915.0282,915.02ล้านบาทต่อวัน โดยนักลงทุนต่างชาติและนักลงทุนสถาบันในประเทศ เป็นผู้ขายสุทธิ ขณะที่นักลงทุนทั่วไปในประเทศ และนักลงทุนบัญชีหลักทรัพย์ เป็นผู้ซื้อสุทธิ ทั้งนี้ ระหว่างวันที่ 2121-2424มิ.ย. 64 ต่างชาติ ขาย หลักทรัพย์สุทธิ -4,024.704,024.70ล้านบาท

อัตราผลตอบแทนพันธบัตรรัฐบาลระยะสั้น (อายุไม่เกิน 11ปี)ปรับตัวเพิ่มขึ้นในช่วง11ถึง 2 2 bps bps ระยะกลาง (อายุ11--10 10 ปี)ปรับตัวลดลงในช่วง --11ถึง --7 7 bps bps และระยะยาว (อายุมากกว่า 10 10 ปี) ปรับตัวในช่วง 22ถึง --22bpsbpsโดยในสัปดาห์นี้ นักลงทุนไม่มีการประมูลพันธบัตรรัฐบาล ทั้งนี้ ระหว่างวันที่ 2121-2424มิ.ย. 64 กระแสเงินทุนของนักลงทุนต่างชาติไหลเข้าในตลาดพันธบัตรสุทธิ 11,833833.688ล้านบาทและหากนับจากต้นปีจนถึงวันที่ 2424มิ.ย. 64 กระแสเงินทุนของนักลงทุนต่างชาติ ไหลเข้า ตลาดพันธบัตรสุทธิ 599,991991.2424ล้านบาท

เงินบาทอ่อนค่าลงจากสัปดาห์ก่อน โดย ณ วันที่ 2424มิ.ย. 64 เงินบาทปิดที่ 31.9090บาทต่อดอลลาร์สหรัฐ อ่อนค่าลงร้อยละ -11.7979จากสัปดาห์ก่อนหน้า สอดคล้องกับเงินสกุลอื่น ๆ อาทิ เงินสกุลเยน ริงกิต วอน ดอลลาร์สิงคโปร์ และหยวน ที่ปรับตัวอ่อนค่าลงจากสัปดาห์ก่อนเมื่อเทียบกับดอลลาร์สหรัฐ ขณะที่เงินสกุลยูโรปรับตัวแข็งค่าขึ้นจากสัปดาห์ก่อนเมื่อเทียบกับดอลลาร์สหรัฐ ทั้งนี้ เงินบาทอ่อนค่าลงมากกว่าเงินสกุลหลักอื่น ๆ ในภูมิภาค ส่งผลให้ ดัชนีค่าเงินบาท (NEER)NEER)อ่อนค่าลงร้อยละ --1.241.24จากสัปดาห์ก่อน

ที่มา: สำนักงานเศรษฐกิจการคลัง กระทรวงการคลัง


เว็บไซต์นี้มีการใช้งานคุกกี้ ศึกษารายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และ ข้อตกลงการใช้บริการ รับทราบ