รายงานภาวะเศรษฐกิจรายสัปดาห์ (Weekly) ณ 29 เม.ย. 65

ข่าวเศรษฐกิจ Monday May 2, 2022 15:13 —กระทรวงการคลัง

เศรษฐกิจไทย

Executive Summary

1 1

? มูลค่าการส่งออกในเดือน มี.ค. 65 ขยายตัวที่ร้อยละ 19.5 เมื่อเทียบช่วงเดียวกัน

ปีก่อน เช่นเดียวกับนมูลค่าการนาเข้าขยายตัวที่ร้อยละ 18.0 เมื่อเทียบช่วงเดียวกัน

ปีก่อน

? ดัชนีผลผลิตอุตสาหกรรม (MPI) เดือน มี.ค. 65 หดตัวที่ร้อยละ -0.1 ต่อปี

? ปริมาณการจาหน่ายเหล็กและผลิตภัณฑ์เหล็กรวมภายในประเทศเดือน มี.ค. 65

หดตัวที่ร้อยละ -2.8 ต่อปี

เศรษฐกิจไทย

เศรษฐกิจต่างประเทศ

? GDP สหรัฐฯ ไตรมาส 1 ปี 65 (เบื้องต้น) ขยายตัวที่ร้อยละ 3.6 จากช่วงเดียวกัน

ปีก่อน

? GDP เกาหลีใต้ไตรมาส 1 ปี 65 (เบื้องต้น) ขยายตัวที่ร้อยละ 3.1 จากช่วงเดียวกัน

ปีก่อน

? GDP ไตหวัน ไตรมาส 1 ปี 65 (เบื้องต้น) ขยายตัวที่ร้อยละ 3.1 จากช่วงเดียวกัน

ปีก่อน

เครื่องชี้เศรษฐกิจไทย

มูลค่าการส่งออกในเดือน มี.ค. 65 มีมูลค่าสูงสุดเป็นประวัติการณ์อยู่ที่ 28,859.6 ล้านดอลลาร์

สหรัฐ คิดเป็นการขยายตัวที่ร้อยละ 19.5 เมื่อเทียบช่วงเดียวกันปีก่อน ขยายตัวต่อเนื่อง 13 เดือน

การส่งออกของไทยขยายตัวดีจากสินค้าสาคัญ อาทิ เครื่องใช้ไฟฟ้าฯ เครื่องโทรสารโทรศัพท์ฯ อัญมณีและ

เครื่องประดับไม่รวมทองคา เครื่องคอมพิวเตอร์และส่วนประกอบ สินค้าเกี่ยวเนื่องน้ามัน แผงวงจรไฟฟ้า

เครื่องมือแพทย์และอุปกรณ์ ไขมันและน้ามันจากพืชและสัตว์ น้าตาลทราย อาหารสัตว์เลี้ยง สิ่งปรุงรสอาหาร ข้าว

ไก่แปรรูป ผลิตภัณฑ์มันสาปะหลัง และอาหารทะเลกระป๋องและแปรรูป เป็นต้น ในส่วนมิติตลาดคู่ค้าสาคัญส่วน

ใหญ่ขยายตัวต่อเนื่อง อาทิ ตลาดสหรัฐฯ สหภาพยุโรป อาเซียน 5 เกาหลีใต้ ไต้หวัน และสวิตเซอร์แลนด์

เป็นสาคัญ ทั้งนี้ การส่งออกไทยในไตรมาส 1 ปี 65 ขยายตัวเฉลี่ยร้อยละ 14.9 ต่อปี

มูลค่าการนาเข้าในเดือน มี.ค. 65 มีมูลค่า 27,400.6 ล้านดอลลาร์สหรัฐ ขยายตัวที่ร้อยละ

18.0 เมื่อเทียบช่วงเดียวกันปีก่อน

การนาเข้าของไทยในเดือนดังกล่าวขยายตัวดีจาก

กลุ่มสินค้าเชื้อเพลิง สินค้าทุน และสินค้าอุปโภค

บริโภค เป็นหลัก อาทิ น้ามันดิบ ก๊าซธรรมชาติ

ปิโตรเลียม ผลิตภัณฑ์โลหะ เค รื่องจักรกลแล

ส่วนประกอบ เครื่องจักรไฟฟ้าและส่วนประกอบ

เ ค รื่อ ง ใ ช้แ ล เ ค รื่อ ง ต ก แ ต่ง ภ ย ใ น บ้า น เ รือ น

ผลิตภัณฑ์เวชกรรมและเภสัชกรรม และเครื่องใช้

เบ็ดเตล็ด เป็นต้น ด้านดุลการค้าในเดือนดังกล่าว

เกินดุลมูลค่า 1.5 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ โดยใน

ไตรมาส 1 ปี 65 ดุลการค้าสะสมของไทยขาดดุลอยู่

ที่ 0.9 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ

เครื่องชี้เศรษฐกิจไทย

ดัชนีผลผลิตอุตสาหกรรม (MPI) เดือน มี.ค. 65 หดตัวเล็กน้อยที่ร้อยละ -0.1 ต่อปี และหดตัว

ร้อยละ -0.8 เมื่อเทียบกับเดือนก่อนหน้าหลังขจัดผลของฤดูกาล

ดัชนี MPI ในเดือน มี.ค. 64 อุตสาหกรรมสาคัญที่ขยายตัว ได้แก่ อุตสาหกรรมน้าตาล อุตสาหกรรม

ผลิตภัณฑ์ที่ได้จากการกลั่นปิโตรเลียม อุตสาหกรรมยานยนต์ อุตสาหกรรมปุ๋ยเคมีและสารประกอบไนโตรเจน

และอุตสาหกรรมผลิตมอลต์และสุราที่ทาจากข้าวมอลต์ ขยายตัวร้อยละ 61.3 17.5 1.9 26.2 และ 9.3 ต่อปี

ตามลาดับ * ขณะที่อุตสาหกรรมสาคัญที่หดตัว ได้แก่ อุตสาหกรรมเครื่องปรับอากาศ และชิ้นส่วน

อุตสาหกรรมคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ต่อพ่วง อุตสาหกรรมเครื่องดื่มที่ไม่มีแอลกอฮอล์ อุตสาหกรรมอาหาร

สัตว์สาเร็จรูป และอุตสาหกรรมเฟอร์นิเจอร์ หดตัวร้อยละ -12.2 -8.2 -12.0 -8.2 และ -14.6 ต่อปี

ตามลาดับ* (*เรียงตามสัดส่วนใน MPI)

ปริมาณการจาหน่ายเหล็กและผลิตภัณฑ์เหล็ก

รวมภายในประเทศเดือน มี. ค. 65 หดตัว ที่

ร้อยละ -2.8 ต่อปี แต่ขยายตัวร้อยละ 6.8 เมื่อ

เทียบกับเดือนก่อนหน้าหลังปรับผลทางฤดูกาล

ปริมาณการจาหน่ายเหล็กในประเทศเดือน มี.ค. 65 หดตัวติดต่อกันเป็นเดือนที่ 5 หลังปริมาณจาหน่ายเหล็ก

ที่ใช้ในภาคการก่อสร้างกลับมาหดตัวเร่งขึ้น อาทิ เหล็กเส้นข้ออ้อย และเหล็กลวด หดตัวร้อยละ -13.1 และ

-6.7 ต่อปี ตามลาดับ จากระดับ 5.8 และ-0.7 เป็นผลจากสถานการณ์การระบาดของโควิด-19 ยังคงพบผู้ติด

เชื้อและเสียชีวิตในระดับสูง ประกอบกับการเกิดภาวะเงินเฟ้อเพิ่มขึ้นทั้งราคาพลังงานรวมถึงสินค้าต่างๆ ส่งผลให้

ผู้บริโภคชะลอการบริโภคลง ขณะที่ผู้ประกอบการก่อสร้างได้รับผลกระทบจากภาวะต้นทุนการก่อสร้างที่สูงขึ้น

จึงเป็นปัจจัยสาคัญที่ทาให้ภาคก่อสร้างและอสังหาริมทรัพย์ยังมีแนมโน้มการฟื้นตัวได้ไม่มากนัก อย่างไรก็ดี

ภาคการส่งออกที่ยังคงแข็งแกร่งยังเป็นปัจจัยหนุนให้การใช้เหล็กในอุตสาหกรรมดีขึ้นกว่าเดือนก่อน

เครื่องชี้เศรษฐกิจต่างประเทศ

สหรัฐฯ

GDP ไตรมาส 1 ปี 65 (เบื้องต้น) ขยายตัวที่ร้อยละ 3.6 จากช่วงเดียวกันปีก่อน ชะลอลงจาก

ไตรมาสก่อนหน้าที่ขายตัวร้อยละ 5.5 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน หรือคิดเป็นการหดตัวที่

ร้อยละ -1.4 เมื่อคานวณแบบ annualized rate และเป็นการหดตัวที่ร้อยละ -0.4 เมื่อเทียบ

กับไตรมาสก่อนหน้า (หลังขจัดผลทางฤดูกาลแล้ว)

ดัชนีราคากลางบ้าน เดือน ก.พ. 65 ขยายตัวร้อยละ 2.1 จากเดือนก่อนหน้า (ขจัดผลทาง

ฤดูกาลแล้ว) เร่งขึ้นจากเดือนก่อนหน้าที่ร้อยละ 1.6 จากเดือนก่อนหน้า (ขจัดผลทางฤดูกาล

แล้ว) เป็นผล จากรา คาบ้า นที่เพิ่ม ขึ้นในเ ขต Midwest Northeast West Mountain แล

South Atlantic เป็นสาคัญ

ยอดขายบ้านใหม่ เดือน มี.ค. 65 หดตัวร้อยละ -8.6 จากเดือนก่อนหน้า (ขจัดผลทางฤดูกาล

แล้ว) เร่งขึ้นจากเดือนก่อนหน้าที่หดตัวร้อยละ -1.2 จากเดือนก่อนหน้า (ขจัดผลทางฤดูกาล

แล้ว) โดยมียอดขายบ้านหดตัวในทุกเขต

จานวนผู้ขอรับสวัสดิการว่างงานครั้งแรกรายสัปดาห์ (17-23 เม.ย. 65) อยู่ที่ระดับ 1.80

แสนราย ปรับตัวลดลงจากสัปดาห์ก่อนหน้าที่ระดับ 1.85 แสนราย บ่งชี้ถึงความแข็งแกร่งของ

ตลาดแรงงานสหรัฐฯ ขณะที่จานวนผู้ยื่นขอรับสวัสดิการว่างงานระยะเฉลี่ย 4 สัปดาห์ (4

week moving average) ซึ่งขจัดความผันผวนรายสัปดาห์แล้ว ปรับตัวเพิ่มขึ้นจากสัปดาห์

ก่อนมาอยู่ที่ 1.80 แสนราย

มูลค่าการส่งออก เดือน มี.ค. 65 หดตัวร้อยละ -8.9 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน หลังจาก

ขยายตัวในเดือนก่อนหน้าที่ร้อยละ 0.9 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน และเป็นการกลับมาหดตัว

ครั้งแรกนับตั้งแต่เดือน พ.ย. 63 ท่ามกลางการแพร่ระบาดของไวรัสโควิด-19 ที่รุนแรงเป็นวง

กว้าง

มูลค่าการนาเข้า เดือน มี.ค. 65 หดตัวร้อยละ -6.0 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน หลังจาก

ขยายตัวในเดือนก่อนหน้าที่ร้อยละ 6.2 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน และเป็นการกลับมาหดตัว

ครั้งแรกนับตั้งแต่เดือน ก.ย. 63

ดุลการค้า เดือน มี.ค. 65 ขาดดุลที่ -37.3 พันล้านดอลลาร์ฮ่องกง เพิ่มขึ้นจากเดือนก่อนหน้า

และเป็นการขาดดุลที่มากที่สุดในรอบ 6 เดือน

ฮ่องกง

ที่มา: ฐานข้อมูล CEIC และ Tradingeconomics รวมรวบโดย สศค.

ออสเตรเลีย

อัตราเงินเฟ้อ ณ ไตรมาส 1 ปี 2565 อยู่ที่ร้อยละ 5.1 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันปีก่อน เพิ่มขึ้น

จากไตรมาสก่อนหน้าที่อยู่ที่ร้อยละ 3.5 โดยได้รับแรงหนุนจากการเพิ่มขึ้นของราคาเชื้อเพลิง

และราคาของสิ่งก่อสร้างเป็นสาคัญ

เครื่องชี้เศรษฐกิจต่างประเทศ

ที่มา: ฐานข้อมูล CEIC และ Tradingeconomics รวมรวบโดย สศค.

เวียดนาม

มูลค่าการส่งออก เดือน เม.ย. 65 ขยายตัวที่ร้อยละ 25.0 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน เร่งขึ้น

จากเดือนก่อนหน้าที่ขยายตัวที่ร้อยละ 17.0 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน

มูลค่าการนาเข้า เดือน เม.ย. 65 ขยายตัวที่ร้อยละ 15.5 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน เร่งขึ้น

จากเดือนก่อนหน้าที่ขยายตัวที่ร้อยละ 14.6 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน

ดุลการค้า เดือน เม.ย. 65 เกินดุลที่ 1.07 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ ลดลงจากเดือนก่อนหน้าที่

เกินดุลที่ 2.0 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ

ผลผลิตภาคอุตสาหกรรม เดือน เม.ย. 65 ขยายตัวที่ร้อยละ 9.4 จากช่วงเดียวกันปีก่อน

เพิ่มขึ้นจากเดือนก่อนหน้าที่อยู่ที่ร้อยละ 8.5 จากช่วงเดียวกันปีก่อน เป็นผลจากการผลผลิต

อุตสาหกรรมเป็นสาคัญ

ยอดค้าปลีก เดือน เม.ย. 65 ขยายตัวที่ร้อยละ 12.1 จากช่วงเดียวกันปีก่อน ปรับตัวดีขึ้นจาก

เดือนก่อนหน้าที่ร้อยละ 9.4 จากช่วงเดียวกันปีก่อน เนื่องจากยอดขายในทุก ๆ สินค้าเป็น

สาคัญ

อัตราเงินเฟ้อ เดือน เม.ย. 65 อยู่ที่ร้อยละ 2.6 จากช่วงเดียวกันปีก่อน เร่งขึ้นจากเดือนก่อน

หน้าที่อยู่ที่ร้อยละ 2.4 จากช่วงเดียวกันปีก่อน เนื่องจากราคาบ้านและวัสดุก่อสร้างเป็นสาคัญ

GDP ไตรมาส 1 ปี 65 (เบื้องต้น) ขยายตัวที่ร้อยละ 3.1 จากช่วงเดียวกันปีก่อน ชะลอลงจาก

ไตรมาสก่อนหน้าที่ขายตัวร้อยละ 4.2 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน หรือคิดเป็นการขยายตัวที่

ร้อยละ 0.7 เมื่อเทียบกับไตรมาสก่อนหน้า (หลังขจัดผลทางฤดูกาลแล้ว) โดยเป็นผลจาก

การอุปโภคบริโภคและการลงทุนที่ยังคงได้รับผลกระทบจากการแพร่ระบาดของไวรัสโควิด -19

สายพันธุ์โอมิครอน และความไม่แน่นอนจากสถานการณ์ความขัดแย้งระหว่างรัสเซียและยูเครน

เกาหลีใต้ สิงคโปร์

ผลผลิตภาคอุตสาหกรรม เดือน มี.ค. 64 ขยายตัวที่ร้อยละ 3.4 จากช่วงเดียวกันปีก่อน

ลดลงจากเดือนก่อนหน้าที่ร้อยละ 17.5 จากช่วงเดียวกันปีก่อน เป็นผลจากอุปกรณ์

อิเล็กทรอนิกส์เป็นสาคัญ

อัตราเงินเฟ้อ เดือน มี.ค. 65 อยู่ที่ร้อยละ 5.4 จากช่วงเดียวกันปีก่อน เร่งขึ้นจากเดือนก่อน

หน้าที่อยู่ที่ร้อยละ 4.3 จากช่วงเดียวกันปีก่อน เนื่องจากต้นทุนค่าอาหารเป็นสาคัญ

อัตราการว่างงาน ไตรมาสที่ 1 ปี 65 (เบื้องต้น) อยู่ที่ร้อยละ 2.2 ของกาลังแรงงานรวม ลดลง

จากไตรมาสก่อนหน้าที่อยู่ที่ร้อยละ 2.4 ของกาลังแรงงานรวม

เครื่องชี้เศรษฐกิจต่างประเทศ

ที่มา: ฐานข้อมูล CEIC และ Tradingeconomics รวมรวบโดย สศค.

ไต้หวัน

GDP ไตรมาส 1 ปี 65 (เบื้องต้น) ขยายตัวที่ร้อยละ 3.1 จากช่วงเดียวกันปีก่อน ชะลอลงจาก

ไตรมาสก่อนหน้าที่ขายตัวร้อยละ 4.9 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน หรือคิดเป็นการขยายตัวที่

ร้อยละ 1.6 เมื่อเทียบกับไตรมาสก่อนหน้า (หลังขจัดผลทางฤดูกาลแล้ว) ส่วนหนึ่งเป็นผลจาก

การมีฐานที่สูงในปีก่อนหน้า ขณะที่ อุปสงค์จากต่างประเทศชะลอตัวลงท่ามกลางราคาสินค้า

โภคภัณฑ์ที่ปรับตัวเพิ่มสูงขึ้นและปัญหาคอขวดในห่วงโซ่อุปทานที่ยืดเยื้อ

ผลผลิตภาคอุตสาหกรรม เดือน มี.ค. 65 ขยายตัวที่ร้อยละ 2.2 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน

ชะลอลงจากเดือนก่อนหน้าที่ระดับ 9.5 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน และเป็นระดับที่ต่าที่สุด

นับตั้งแต่เดือน มิ.ย. 63

ยอดค้าปลีก เดือน มี.ค. 65 ขยายตัวที่ร้อยละ 4.8 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันปีก่อน เร่งขึ้น

จากเดือนก่อนหน้าที่อยู่ที่ร้อยละ 0.2 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันปีก่อน

เครื่องชี้ตลาดเงิน ตลาดอัตราแลกเปลี่ยน

Foreign

E xchange 28

Apr 22 1w %

chg 1m %

chg YTD %

chg Avg

2021 % chg

USD/THB

34.44

-

1.81 -

2.16 -

3.38 -

7.61

USD/JPY

130.60

-

2.01 -

5.38 -

12.84 -

18.88

EUR/USD

1.06

-

2.79 -

3.49 -

6.17 -

10.52

USD/MYR

4.36

-

1.74 -

3.50 -

4.30 -

5.21

USD/KRW

1,263.10

-

2.10 -

3.68 -

6.07 -

10.37

USD/SGD

1.38

-

1.38 -

1.76 -

2.20 -

3.02

USD/CNY

6.56

-

2.39 -

2.97 -

2.87 -

1.73

NEER

108.98

-

0.08 0.68

1.26

-

1.17

ค่าเงินสกุลต่างๆ เครื่องหมาย + คือแข็งค่าขึ้น และเครื่องหมาย -คืออ่อนค่าลง เมื่อเทียบกับค่าเงินดอลลาร์สหรัฐดัชนีค่าเงินบาท (NEER) แข็งค่าขึ้น (+) หรืออ่อนค่าลง (-) ในช่วงระยะเวลาดังกล่าวโดยคิดเป็นอัตราร้อยละ

ดัชนี SETSETปรับตัวลดลงจากสัปดาห์ก่อนสอดคล้องกับตลาดหลักทรัพย์อื่น ๆ ในภูมิภาคที่ปรับตัวลดลงจากสัปดาห์ก่อน เช่น Nikkei 225 ญี่ปุ่น) HSI ฮ่องกง) และ CSI 300 เซี่ยงไฮ้) เป็นต้น เมื่อวันที่ 2828เม.ย. 655ดัชนีปิดที่ระดับ 1,667.74 จุด ด้วยมูลค่า ซื้อขายเฉลี่ยระหว่างวันที่ 2525-2828เม.ย. 655อยู่ที่ 7777,248248.4848ล้านบาทต่อวัน โดยนักลงทุนต่างชาติ นักลงทุนทั่วไปในประเทศ และนักลงทุนบัญชีบริษัทหลักทรัพย์ เป็นผู้ซื้อสุทธิ ขณะที่ นักลงทุนสถาบันในประเทศ เป็นผู้ขายสุทธิ ทั้งนี้ ระหว่างวันที่ 2525-2828เม.ย. 655นักลงทุนต่างชาติ ซื้อหลักทรัพย์สุทธิ 3,006.89 ล้านบาท

อัตราผลตอบแทนพันธบัตรรัฐบาลอายุโดยรวมปรับตัวเพิ่มขึ้นในช่วง 11ถึง 36 bpsbpsโดยในสัปดาห์นี้นักลงทุนมีการประมูลพันธบัตรรัฐบาลอายุ 66และ 5050ปี ซึ่งมีนักลงทุนสนใจ 2.272.27และ 4.364.36เท่าของวงเงินประมูล ทั้งนี้ ระหว่างวันที่ 2525-2828เม.ย. 655กระแสเงินทุนของนักลงทุนต่างชาติ ไหลเข้าในตลาดพันธบัตรสุทธิ 1,546.18 ล้านบาทและหากนับจากต้นปีจนถึงวันที่ 2828เม.ย. 6565กระแสเงินทุนของนักลงทุนต่างชาติ ไหลเข้าในตลาดพันธบัตรสุทธิ 19,513.49 ล้านบาท

เงินบาทอ่อนค่าลงจากสัปดาห์ก่อน โดย ณ วันที่ 2828เม.ย. 655เงินบาทปิดที่ 34.444.44บาทต่อดอลลาร์สหรัฐ อ่อนค่าลงร้อยละ 1.811.81จากสัปดาห์ก่อนหน้า สอดคล้องกับเงินสกุลอื่น ๆ ในภูมิภาค อาทิ เงินสกุลเยน ยูโร ริงกิตวอน ดอลลาร์สิงคโปร์ และหยวน ที่ปรับตัวอ่อนค่าลงจากสัปดาห์ก่อนหน้า เมื่อเทียบกับดอลลาร์สหรัฐ ทั้งนี้ เงินบาทอ่อนค่ามากกว่าเงินสกุลอื่น ๆ ในภูมิภาค ส่งผลให้ดัชนีค่าเงินบาท (NEERNEER) อ่อนค่าลงร้อยละ 0.08 จากสัปดาห์ก่อน

ที่มา: สำนักงานเศรษฐกิจการคลัง กระทรวงการคลัง


เว็บไซต์นี้มีการใช้งานคุกกี้ ศึกษารายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และ ข้อตกลงการใช้บริการ รับทราบ