รายงานภาวะเศรษฐกิจรายสัปดาห์ (Weekly) ณ 1 ก.ค. 65

ข่าวเศรษฐกิจ Monday July 4, 2022 14:44 —กระทรวงการคลัง

เศรษฐกิจไทย

ดัชนีผลผลิตอุตสาหกรรม (MPI) เดือน พ.ค. 65 หดตัวร้อยละ -2.1 ต่อปี

? ปริมาณการจาหน่ายเหล็กและผลิตภัณฑ์เหล็กรวมภายในประเทศเดือน พ.ค. 65

หดตัวที่ร้อยละ -15.9 ต่อปี

? มูลค่าการส่งออกในเดือน พ.ค. 65 ขยายตัวที่ร้อยละ 10.5 เมื่อเทียบกับช่วง

เดียวกันปีก่อน เช่นเดียวกับมูลค่าการนาเข้า ขยายตัวที่ร้อยละ 24.2 เมื่อเทียบกับ

ช่วงเดียวกันปีก่อน

? การเบิกจ่ายงบประมาณรวมในเดือน พ.ค. ปีงบประมาณ 65 หดตัวร้อยละ

-3.6 ต่อปี

? รัฐบาลจัดเก็บรายได้สุทธิ (หลังหักจัดสรรให้ อปท.) ในเดือน พ.ค.

ปีงบประมาณ 65 ขยายตัวร้อยละ 24.5 ต่อปี

? ฐานะการคลังของรัฐบาลตามระบบกระแสเงินสดในเดือน พ.ค. ปีงบประมาณ 65

เกินดุลจานวน 15,077 ล้านบาท

? ภาษีมูลค่าเพิ่มที่รัฐบาลจัดเก็บได้ ณ ระดับราคาคงที่ในเดือน พ.ค. 65 ขยายตัวที่

ร้อยละ 11.0 ต่อปี

? ภาษีจากการทาธุรกรรมอสังหาริมทรัพย์ในเดือน พ.ค. 65 ขยายตัวที่ร้อยละ

24.6 ต่อปี

เศรษฐกิจต่างประเทศ

GDP เวียดนาม ไตรมาสที่ 2 ปี 65 ขยายตัวร้อยละ 7.7 จากช่วงเดียวกัน ปีก่อน

เครื่องชี้เศรษฐกิจไทย

ดัชนีผลผลิตอุตสาหกรรม (MPI) เดือน พ.ค. 65 หดตัวร้อยละ -2.1 ต่อปี และหดตัวร้อยละ -1.8 เมื่อเทียบกับเดือนก่อนหน้าหลังขจัดผลของฤดูกาล

ดัชนี MPIMPIในเดือน พ.ค. 64 อุตสาหกรรมสาคัญที่หดตัว ได้แก่ อุตสาหกรรมยานยนต์ อุตสาหกรรมคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ต่อพ่วง และอุตสาหกรรมพลาสติกและยางสังเคราะห์ขั้นต้น หดตัวร้อยละ -9.1 -29.7 และ -15.6 ต่อปี ตามลาดับ* ขณะที่อุตสาหกรรมสาคัญที่ขยายตัว ได้แก่ อุตสาหกรรมผลิตภัณฑ์ที่ได้จากการกลั่นปิโตรเลียม อุตสาหกรรมชิ้นส่วนและแผ่นวงจรอิเล็กทรอนิกส์ และอุตสาหกรรมเภสัชภัณฑ์ และเคมีภัณฑ์ที่ใช้รักษาโรค ขยายตัวร้อยละ 13.1 7.3 และ 25.7 ต่อปี ตามลาดับ* ((*เรียงตามสัดส่วนใน MPI)

ปริมาณการจาหน่ายเหล็กและผลิตภัณฑ์เหล็กรวมภายในประเทศเดือน พ.ค. 65 หดตัวที่ร้อยละ -15.9 ต่อปี แต่ขยายตัวร้อยละ 2.6เมื่อเทียบกับเดือนก่อนหน้าหลังปรับผลทางฤดูกาล

ปริมาณการจาหน่ายเหล็กในประเทศเดือน พ.ค. 65 หดตัวติดต่อกันเป็นเดือนที่ 7 โดยมีปัจจัยสาคัญมาจากการจาหน่ายเหล็กที่ใช้ในภาคการก่อสร้างหดตัวเร่งขึ้นจากเดือนก่อน อาทิ เหล็กเส้นกลม เหล็กเส้นข้ออ้อย และเหล็กลวด หดตัวร้อยละ -46.4,,-30.5 และ -20.6 ต่อปี ตามลาดับ จากเดือนก่อนหน้าที่ขยายตัวร้อยละ 19.3,,-24.9 และ -1.1 ต่อปี ตามลาดับ ซึ่งชะลอตามการก่อสร้างเนื่องจากสถานการณ์เงินเฟ้อและต้นทุนการก่อสร้างสูงขึ้น

เครื่องชี้เศรษฐกิจไทย

มูลค่าการส่งออกในเดือน พ.ค. 655มีมูลค่าอยู่ที่ 25,509.0 ล้านดอลลาร์สหรัฐ หรือขยายตัวต่อเนื่องอยู่ที่ร้อยละ 10.5 เมื่อเทียบรายปีโดยเป็นการขยายตัวต่อเนื่อง 15 เดือนติดต่อกัน

การส่งออกของไทยหากหักรายการสินค้าเกี่ยวเนื่องน้ามันทองคาและยุทธปัจจัยขยายตัวที่ร้อยละ 11.1 ทั้งนี้ การส่งออกที่ขยายตัวมาจากสินค้าสาคัญ อาทิ เครื่องโทรสารโทรศัพท์ฯ อัญมณีและเครื่องประดับ (ไม่รวมทองคา) เหล็ก เหล็กกล้าและผลิตภัณฑ์ ผลิตภัณฑ์ยาง แผงวงจรไฟฟ้า น้าตาลทราย อาหารสัตว์เลี้ยง อาหารทะเลกระป๋องและแปรรูป ข้าว ยางพารา ผลิตภัณฑ์มันสาปะหลัง และกลุ่มผลไม้สด เช่น ทุเรียนสด มังคุดสด สัปปะรดสด ลาไยแห้ง เป็นต้น ในส่วนมิติตลาดคู่ค้าสาคัญส่วนใหญ่ขยายตัวต่อเนื่อง อาทิ ตลาดสหรัฐฯ สหภาพยุโรป กลุ่มอาเซียน 5 และ CLMVCLMVกลุ่มเอเชียใต้โดยเฉพาะอินเดีย เกาหลีใต้ เป็นสาคัญ ทั้งนี้ การส่งออกไทยในช่วง55เดือนแรกปี 65 ขยายตัวเฉลี่ยร้อยละ 12.92.9ต่อปี

มูลค่าการนาเข้าในเดือน พ.ค. 655มีมูลค่า 27,383.2 ล้านดอลลาร์สหรัฐ ขยายตัวที่ร้อยละ 24.2 เมื่อเทียบช่วงเดียวกันปีก่อน

การนาเข้าของไทยในเดือนดังกล่าวขยายตัวดีจากกลุ่มสินค้าเชื้อเพลิง สินค้าทุน สินค้าวัตถุดิบและกึ่งสาเร็จรูป และสินค้าอุปโภคบริโภค เป็นหลัก อาทิ น้ามันดิบ ก๊าซธรรมชาติปิโตรเลียม ผลิตภัณฑ์โลหะ เครื่องจักรไฟฟ้าและส่วนประกอบ เครื่องมือเครื่องใช้เกี่ยวกับวิทยาศาสตร์ การแพทย์ เคมีภัณฑ์ ทองคา เหล็ก เหล็กกล้าและผลิตภัณฑ์ ปุ๋ย และยากาจัดศัตรูพืชและสัตว์ อุปกรณ์และส่วนประกอบเครื่องใช้ไฟฟ้าฯ ผลิตภัณฑ์เวชกรรมฯ เป็นต้น ด้านดุลการค้าในเดือนดังกล่าว ขาดดุลมูลค่า 1.99พันล้านดอลลาร์สหรัฐ โดยในช่วง 5เดือนแรกปี 65ดุลการค้าสะสมของไทยขาดดุลอยู่ที่ 4.7พันล้านดอลลาร์สหรัฐ

เครื่องชี้เศรษฐกิจไทย

การเบิกจ่ายงบประมาณรวมในเดือน พ.ค. ปีงบประมาณ 65 เบิกจ่ายได้ทั้งสิ้น 189,262 ล้านบาท

หดตัวร้อยละ -3.6 ต่อปี ทาให้ 8 เดือนแรกเบิกจ่ายได้ 2,115,844 ล้านบาท ขยายตัวร้อยละ

0.1 คิดเป็นอัตราเบิกจ่ายสะสมที่ร้อยละ 63.4

โดย (1) รายจ่าย ปีปัจจุบัน เบิกจ่ายได้

178,072 ล้านบาท หดตัวร้อยละ -5.1 ต่อปี

คิดเป็นอัตราเบิกจ่ายสะสมที่ร้อยละ 63.3

ทั้งนี้ แบ่งออกเป็น (1.1) รายจ่ายประจา

142,191 ล้านบาท หดตัวร้อยละ -4.5

ต่อปี คิดเป็นอัตราเบิกจ่ายสะสมที่ร้อยละ

68.4 และ (1.2) รายจ่ายลงทุน 35,881

ล้า น บ ท ห ด ตัว ร้อ ย ล ?7 . 8 ต่อ ปี

คิดเป็นอัตราเบิกจ่ายสะสมที่ร้อยละ 42.3

(2) รายจ่ายปีก่อน เบิกจ่ายได้ 11,190

ล้านบาท ขยายตัวที่ร้อยละ 29.3 ต่อปี

คิดเป็นอัตราเบิกจ่ายสะสมที่ร้อยละ 64.8

ต่อปี

รัฐบาลจัดเก็บรายได้สุทธิ (หลังหักจัดสรรให้ อปท.) ในเดือน พ.ค. ปีงบประมาณ 65 ได้

280,540 ล้านบาท ขยายตัวร้อยละ 24.5 ต่อปี ทาให้ 8 เดือนแรกจัดเก็บได้ 1,564,246 ล้าน

บาทขยายตัวร้อยละ 8.1 ต่อปี โ ด ย ร ย ไ ด้ข ย ย ตัว จ ก ภ ษิเ งิน ไ ด้

นิติบุคคล ขยายตัวร้อยละ 54.0 ต่อปี

ร ย ไ ด้นา ส่ง ค ลัง ข อ ง รัฐ วิส ห กิจ

ข ย ย ตั ว ร้ อ ย ล 2 9 1 . 0 ต่ อ ปี

ภาษีปิโตรเลียม ขยายตัวร้อยละ 32.2

ต่อ ปี แ ล ภ ษีมูล ค่า เ พิ่ม ข ย ย ตัว

ร้อยละ 19.2

เครื่องชี้เศรษฐกิจไทย

ฐานะการคลังของรัฐบาลตามระบบกระแสเงินสดในเดือน พ .ค. ปีงบประมาณ 65 พบว่า ดุลเงิน

งบประมาณเกินดุลจานวน 15,077 ล้านบาท ทั้ ง นี้ เ มื่ อ ร ว ม กั บ ดุล

น อ ก ง บ ป ร ม ณที่ข ด ดุล

-17,256 ล้านบาท แล้วพบว่า

ดุล เ งิน ส ด ก่อ น กู้ ข ด ดุล

?2 , 1 7 9 ล้า น บ ท โ ด ย ใ น

เดือนนี้ รัฐบาลไม่มีการกู้เงิน

เ พื่อ ช ด เ ช ย ก ร ข ด ดุล

งบประมาณ ส่งผลให้จานวน

เ งิน ค ง ค ลัง ป ล ย ง ว ด อ ยู่ที่

396,652 ล้านบาท

เครื่องชี้เศรษฐกิจไทย

ภาษีมูลค่าเพิ่มที่รัฐบาลจัดเก็บได้ ณ ระดับราคาคงที่ในเดือน พ.ค. 65 ขยายตัวที่ร้อยละ 11.0 ต่อปี และเมื่อเทียบกับเดือนก่อนหน้าหลังขจัดผลทางฤดูกาล ขยายตัวที่ร้อยละ 1.1

โดยเป็นการขยายตัวต่อเนื่องเป็นเดือนที่ 15 นับตั้งแต่เดือน มี.ค. 64 แบ่งเป็นภาษีมูลค่าเพิ่มที่จัดเก็บจากการใช้จ่ายภายในประเทศ หดตัวที่ร้อยละ -0.6 ต่อปี โดยเป็นผลจากปัญหาค่าครองชีพที่ปรับตัวสูงขึ้นจากราคาสินค้า รวมถึงต้นทุนของสินค้าที่เพิ่มขึ้นตามต้นทุนแฝงจากราคาน้ามันและราคาพลังงานที่เพิ่มขึ้น อย่างไรก็ดีกิจกรรมทางเศรษฐกิจเริ่มฟื้นตัวมากขึ้นจากความกังวลต่อสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคโควิด-19 ที่ลดลง และนโยบายการเปิดประเทศ ประกอบกับกลุ่มเกษตรกรมีกาลังซื้อเพิ่มขึ้นจากราคาและผลผลิตสินค้าทางการเกษตรที่ปรับตัวดีขึ้น ขณะที่ภาษีมูลค่าเพิ่มที่จัดเก็บจากการนาเข้ายังคงขยายตัวอย่างต่อเนื่องที่ร้อยละ 26.9ต่อปี ตามการฟื้นตัวของเศรษฐกิจ และทิศทางการนาเข้าของประเทศที่ขยายตัวได้ดี

ภาษีจากการทาธุรกรรมอสังหาริมทรัพย์ในเดือน พ.ค. 65 ขยายตัวที่ร้อยละ 24.6 ต่อปี แต่หดตัวร้อยละ -8.4เมื่อเทียบกับเดือนก่อนหน้าหลังปรับผลทางฤดูกาล

การจัดเก็บภาษีจากการทาธุรกรรมอสังหาริมทรัพย์ในเดือน พ.ค. 65 ขยายตัวเป็นเดือนที่ 2 ติดต่อกันเมื่อเทียบรายปี จากการจัดเก็บภาษีธุรกิจเฉพาะที่ขยายตัวร้อยละ 20.4 หลังผู้ประกอบการธุรกิจอสังหาริมทรัพย์ต่างเร่งจัดรายการส่งเสริมการขายเพื่อเร่งการตัดสินใจแก่ผู้บริโภค เนื่องจากอัตราดอกเบี้ยมีแนวโน้มสูงขึ้น อย่างไรก็ดี ปัญหาเงินเฟ้อและค่าครองชีพที่สูงขึ้น คาดว่าจะส่งผลกระทบต่อบรรยากาศ และกิจกรรมการซื้อ-ขายอสังหาริมทรัพย์ให้ชะลอลงในระยะถัดไป

เครื่องชี้เศรษฐกิจต่างประเทศ

ดัชนีราคากลางบ้าน เดือน เม.ย. 65 ขยายตัวคงที่จากเดือนก่อนหน้าที่ร้อยละ 1.6 จากเดือนก่อนหน้า (ขจัดผลทางฤดูกาล) โดยดัชนีราคากลางบ้านในเขต Midwest South

Atlantic และ Middle Atlantic ปรับตัวเพิ่มขึ้น ขณะที่ ดัชนีราคากลางบ้านในภาคตะวันตก ภาคใต้ และเขต New England ปรับตัวลดลงจากเดือนก่อนหน้า

จานวนผู้ขอรับสวัสดิการว่างงานครั้งแรกรายสัปดาห์ 19 25 มิ.ย. 65) อยู่ที่ระดับ 2.31 แสนราย ปรับตัวลดลงจากสัปดาห์ก่อนหน้าที่ระดับ 2.33 แสนราย สูงกว่าคาดการณ์ของตลาดที่ 2.28 แสนราย และสูงกว่าค่าเฉลี่ยต่อสัปดาห์ในช่วงก่อนเกิดการแพร่ระบาดของไวรัสโควิด-19 ในสหรัฐฯ ที่ระดับ 2.15 แสนราย บ่งชี้ถึงภาวะตลาดแรงงานที่ตึงตัว ขณะที่จานวนผู้ยื่นขอรับสวัสดิการว่างงานระยะเฉลี่ย 4 สัปดาห์ (4 week moving average)

ซึ่งขจัดความผันผวนรายสัปดาห์แล้ว ปรับตัวเพิ่มขึ้นต่อเนื่องจากสัปดาห์ก่อนมาอยู่ที่ 2.32แสนราย

จีน

ดัชนีฯ PMIPMIภาคอุตสาหกรรม (NBS) เดือน มิ.ย. 65 อยู่ที่ระดับ 50.2 จุด เพิ่มขึ้นจากเดือนก่อนหน้าที่อยู่ที่ระดับ 49.6 จุด และเป็นการกลับมาสูงกว่าระดับ 50.0 จุดเป็นครั้งแรกในรอบ 4 เดือน สะท้อนการขยายตัวของภาคอุตสาหกรรม หลังจากมีการผ่อนคลายมาตรการล็อกดาวน์ของนครเซียงไฮ้ซึ่งเป็นศูนย์กลางทางเศรษฐกิจและการเงินของจีน

ดัชนีฯ PMIPMIนอกภาคอุตสาหกรรม (NBS) เดือน มิ.ย. 65 อยู่ที่ระดับ 54.7 จุด เพิ่มขึ้นจากเดือนก่อนหน้าที่อยู่ที่ระดับ 47.8 จุด เป็นการกลับมาสูงกว่าระดับ 50.0 จุดเป็นครั้งแรกในรอบ 4 เดือน และเป็นระดับที่สูงที่สุดนับตั้งแต่เดือน มิ.ย. 64เนื่องจากจานวนผู้ติดเชื้อในหลายเมืองใหญ่ของจีนลดลง ส่งผลให้มีการผ่อนคลายมาตรการควบคุมการแพร่ระบาดที่เข้มงวด

ดัชนีฯ PMIPMIภาคอุตสาหกรรม (Caixin) เดือน มิ.ย. 65 อยู่ที่ระดับ 51.7 จุด เพิ่มขึ้นจากเดือนก่อนหน้าที่อยู่ที่ระดับ 48.1 จุด เป็นการกลับมาสูงกว่าระดับ 50.0 จุดเป็นครั้งแรกในรอบ 4 เดือน และเป็นระดับที่สูงที่สุดนับตั้งแต่เดือน มิ.ย. 64หลังผ่อนคลายมาตรการควบคุมการแพร่ระบาดในเมืองใหญ่ของจีน ซึ่งรวมถึงเซี่ยงไฮ้และปักกิ่ง

เครื่องชี้เศรษฐกิจต่างประเทศ

ในการประชุมรอบ มิ.ย. 65 BOJBOJมีมติคงดอกเบี้ยระยะสั้นไว้ที่ร้อยละ -0.1 และคงอัตราผลตอบแทนพันธบัตรรัฐบาลอายุ 10 ปี ไว้ที่ร้อยละ 0.0 โดยมีเป้าหมายรักษาต้นทุนการกู้ยืม เพื่อช่วยเหลือภาคธุรกิจและครัวเรือน

ดัชนี PMIPMIภาคการผลิต เดือน มิ.ย.65 อยู่ที่ระดับ 52.7 จุด ลดลงเล็กน้อยจากระดับ 53.3 จุด ในเดือนก่อนหน้า เนื่องจากยอดสั่งซื้อที่ชะลอตัวลง ขณะที่คาสั่งซื้อใหม่หดตัวลง และระยะเวลาการขนส่งถูกยืดให้นานออกไปจากการขาดแคลนวัตถุดินและแรงกดดันในห่วงโซ่อุปทาน

ดัชนี PMIPMIภาคบริการ เดือน มิ.ย. 65 อยู่ที่ระดับ 54.2 เพิ่มขึ้นจากระดับ 52.6ในเดือนก่อนหน้า และเป็นการขยายตัวต่อเนื่องเป็นเดือนที่สาม จากกิจกรรมด้านบริการที่ขยายตัวต่อเนื่อง

ดัชนีความเชื่อมั่นผู้บริโภค เดือน มิ.ย. 65 อยู่ที่ระดับ 32.1 จุด ต่าสุดในรอบ 18เดือน ท่ามกลางความไม่แน่นอนของเศรษฐกิจโลก

ญี่ปุ่น

เกาหลีใต้

ดัชนีสารวจภาคธุรกิจ (BSI) สาหรับภาคอุตสาหกรรม เดือน มิ.ย. 65 อยู่ที่ระดับ 83 จุด ลดลงจากเดือนก่อนหน้าที่อยู่ที่ระดับ 86 จุด โดยลดลงในส่วน SMEs และภาคการผลิตเพื่อส่งออก เป็นสาคัญ

ดัชนีความเชื่อมั่นผู้บริโภค (CCSI) เดือน มิ.ย.62 อยู่ที่ระดับ 96.4 จุด ลดลงจากเดือนก่อนหน้าที่อยู่ที่ระดับ 102.6 จุด โดยเป็นระดับที่ต่าสุดนับจาก ม.ค.64จากความเชื่อมั่นที่ลดลงในส่วนมาตรฐานการครองชีพ มุมมองสภาวะเศรษฐกิจ มุมมองรายได้ครัวเรือน เป็นสาคัญ

ไต้หวัน

ดัชนีความเชื่อมั่นผู้บริโภค เดือน มิ.ย. 65 อยู่ที่ระดับ 64.14 จุด ลดลงจากเดือนก่อนหน้าที่อยู่ที่ระดับ 67.81จุด

ดัชนีฯ PMIPMIภาคอุตสาหกรรม เดือน มิ.ย. 65 อยู่ที่ระดับ 49.8 จุด ลดลงจากเดือนก่อนหน้าที่อยู่ที่ระดับ 50.0 จุด และเป็นระดับที่ต่าที่สุดนับตั้งแต่เดือน ก.ค. 63สะท้อนการหดตัวของภาคอุตสาหกรรมในไต้หวันเนื่องจากดัชนีลดลงต่ากว่าระดับ 50.0จุด

เครื่องชี้เศรษฐกิจต่างประเทศ

มูลค่าการส่งออก เดือน พ.ค. 65 กลับมาหดตัวที่ร้อยละ -1.4 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน หลังจากขยายตัวในเดือนก่อนหน้าที่ร้อยละ 1.1 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน เนื่องจากได้รับผลกระทบจากแนวโน้มเศรษฐกิจโลกที่ชะลอลง

มูลค่าการนาเข้า พ.ค. 65 ขยายตัวที่ร้อยละ 1.3 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน ชะลอลงจากเดือนก่อนหน้าที่ขยายตัวที่ร้อยละ 2.1 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน โดยมีการนาเข้าเครื่องจักรไฟฟ้า เครื่องมือ เครื่องใช้ และชิ้นส่วนไฟฟ้าเพิ่มมากขึ้น

ดุลการค้า เดือน พ.ค. 65 ขาดดุลที่ระดับ -36.7 พันล้านดอลลาร์ฮ่องกง เพิ่มขึ้นจากเดือนก่อนหน้าที่ขาดดุลที่ระดับ -36.6 พันล้านดอลลาร์ฮ่องกง

ยอดค้าปลีก เดือน พ.ค. 65 หดตัวที่ร้อยละ -4.9 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน หลังจากขยายตัวในเดือนก่อนหน้าที่ร้อยละ 8.0 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน อย่างไรก็ดี ในระยะถัดไป รัฐบาลมั่นใจว่าสถานการณ์การแพร่ระบาดในท้องถิ่นจะยังคงอยู่ภายใต้การควบคุม และธุรกิจค้าปลีกจะยังสามารถฟื้นตัวได้ต่อเนื่อง

เศรษฐกิจไตรมาสที่ 2 ปี 65 ขยายตัวร้อยละ 7.7 จากช่วงเดียวกันปีก่อน เร่งตัวขึ้นจาก ไตรมาสก่อนหน้าที่ขยายตัวที่ร้อยละ 5.1จากช่วงเดียวกันปีก่อน และเป็นการขยายตัวสูงสุดตั้งแต่ไตรมาสที่ 2ปี 54

ยอดค้าปลีก เดือน มิ.ย. 65 ขยายตัวร้อยละ 27.3 จากช่วงเดียวกันปีก่อน เร่งตัวขึ้นจากเดือนก่อนหน้าที่ขยายตัวร้อยละ 22.6จากช่วงเดียวกันปีก่อน และเป็นการขยายตัวเป็นเดือนที่ 7ติดต่อกัน จากการบริโภคที่ฟื้นตัวและสถานการณ์โควิด-19ปรับดีขึ้น

ดุลการค้า เดือน มิ.ย. 65 เกินดุลที่ 0.28 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ กลับมาเกินดุลอีกครั้งหลังจากที่ เดือน พ.ค. 65ขาดดุลที่ -0.56พันล้านดอลลาร์สหรัฐ

อัตราเงินเฟ้อ เดือน มิ.ย. 65 อยู่ที่ร้อยละ 3.4 จากช่วงเดียวกันปีก่อน เร่งขึ้นจากเดือนก่อนหน้าที่อยู่ที่ร้อยละ 2.9จากช่วงเดียวกันปีก่อน โดยได้แรงสนับสนุนหลักจากราคาอาหารและบริการจัดเลี้ยงที่เพิ่มสูงขึ้นอย่างรวดเร็ว เป็นสาคัญ

ผลผลิตภาคอุตสาหกรรม เดือน มิ.ย. 65 อยู่ที่ร้อยละ 11.5 จากช่วงเดียวกันปีก่อน เร่งขึ้นจากเดือนก่อนหน้าที่ขยายตัวอยู่ที่ร้อยละ 9.5จากช่วงเดียวกันปีก่อน โดยนับเป็น การขยายตัวต่อเนื่องเป็นเดือนที่ 8ติดต่อกัน ภายหลังสถานการณ์โควิด-19

อัตราเงินเฟ้อ เดือน มิ.ย. 65 อยู่ที่ร้อยละ 4.4 จากช่วงเดียวกันปีก่อน เร่งขึ้นจากเดือนก่อนหน้าที่อยู่ที่ร้อยละ 3.6 จากช่วงเดียวกันปีก่อน และสูงกว่าเป้าหมายเงินเฟ้อของธนาคารกลางที่ตั้งไว้ในช่วงร้อยละ 2-4โดยเป็นผลมากจากราคาสินค้าที่เพิ่มขึ้น เป็นสาคัญ

เครื่องชี้ตลาดเงิน ตลาดอัตราแลกเปลี่ยน

ดัช นี SET ป รับ ตัว เพิ่ม ขึ้น จ ก สัป ด ห์ก่อ น ส อ ด ค ล้อ ง กับ ต ล ด

หลักทรัพย์อื่น ๆ ในภูมิภาคที่ปรับตัวเพิ่มขึ้นจากสัปดาห์ก่อน เช่น

NIKKEI225 (ญี่ปุ่น) HIS (ฮ่องกง) และ DJIA (สหรัฐอเมริกา) เป็นต้น

เมื่อวันที่ 30 มิ.ย. 65 ดัชนีปิดที่ระดับ 1,568.33 จุด ด้วยมูลค่าซื้อขาย

เฉลี่ยระหว่างวันที่ 27 - 30 มิ.ย. 65 อยู่ที่ 61,775.73 ล้านบาทต่อวัน

โดยนักลงทุนต่างชาติ และนักลงทุนสถาบันในประเทศเป็นผู้ซื้อสุทธิ

ขณะที่ นักลงทุนทั่วไปในประเทศ และนักลงทุนบัญชีบริษัทหลักทรัพย์

เป็นผู้ขายสุทธิ ทั้งนี้ ระหว่างวันที่ 27 - 30 มิ.ย. 65 นักลงทุนต่างชาติ

ซื้อ หลักทรัพย์สุทธิ 3,242.20 ล้านบาท

อัตราผลตอบแทนพันธบัตรรัฐบาลอายุต่ากว่า 11 ปี โดยส่วนใหญ่

ปรับตัวลดลงในช่วง -1 ถึง -3 bps ขณะที่ อัตราผลตอบแทนพันธบัตร

รัฐ บ ล อ ยุ 1 2 - 2 0 ปี ป รับ ตัว เ พิ่ม ขึ้น ใ น ช่ว ง 2 ถึง 9 bps

โดยในสัปดาห์นี้นักลงทุนมีการประมูลพันธบัตร รัฐบาลอายุ 50 ปี

ซึ่งมีนักลงสนใจ 1.5 เท่าของวงเงินประมูล ทั้งนี้ ระหว่างวันที่ 27 - 30

มิ.ย. 65 กร แสเงินทุนของนักลงทุนต่างชาติ ไหลออก จากตลาด

พันธบัตรสุทธิ -639.57 ล้านบาท และหากนับจากต้นปีจนถึงวันที่

30 มิ.ย. 65 กระแสเงินทุนของนักลงทุนต่างชาติ ไหลเข้า ในตลาด

พันธบัตรสุทธิ 5,614.71 ล้านบาท

เงินบาทแข็งค่าขึ้นจากสัปดาห์ก่อน โดย ณ วันที่ 30 มิ.ย. 65 เงินบาท

ปิด ที่ 3 5 . 2 9 บ ท ต่อ ด อ ล ล ร์ส ห รัฐ แ ข็ง ค่า ขึ้น ร้อ ย ล 0 . 4 1

จากสัปดาห์ก่อนหน้า สอดคล้องกับเงินสกุลอื่น ๆ ในภูมิภาค อาทิ

เงิน ส กุล ริงกิต แ ล วอ น ที่ป รับ ตัว แ ข็ง ค่า ขึ้น จ ก สัป ดา ห์ก่อ น ห น้า

เมื่อเทียบกับดอลลาร์ ขณะที่ เงินสกุลเยน ยูโร ดอลลาร์สิงคโปร์ และ

หยวน ปรับตัวอ่อนค่าลงลงจากสัปดาห์ก่อนหน้า เมื่อเทียบกับดอลลาร์

ทั้งนี้ เงินบาทแข็งค่าค่ามากกว่าเงินสกุลอื่น ๆ ในภูมิภาค ส่งผลให้

ดัชนีค่าเงินบาท (NEER) แข็งค่าขึ้นร้อยละ 0.68 จากสัปดาห์ก่อ

ที่มา: สำนักงานเศรษฐกิจการคลัง กระทรวงการคลัง


เว็บไซต์นี้มีการใช้งานคุกกี้ ศึกษารายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และ ข้อตกลงการใช้บริการ รับทราบ