รายงานภาวะเศรษฐกิจรายสัปดาห์ (Weekly) ณ 2 ธ.ค. 65

ข่าวเศรษฐกิจ Tuesday December 6, 2022 14:18 —กระทรวงการคลัง

เศรษฐกิจไทย

ดัชนีผลผลิตอุตสาหกรรม (MPI) เดือน ต.ค. 65 หดตัวที่ร้อยละ -3.7 ต่อปี

? ปริมาณการจาหน่ายเหล็กและผลิตภัณฑ์เหล็กรวมภายในประเทศเดือน ต.ค. 65 หดตัวที่

ร้อยละ -11.2 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน

? มูลค่าการส่งออกในเดือน ต.ค. 65 หดตัวที่ร้อยละ -4.4 เมื่อเทียบช่วงเดียวกันของปีก่อน

ขณะที่มูลค่าการนาเข้าหดตัวที่ร้อยละ -2.1 เมื่อเทียบช่วงเดียวกันของปีก่อน

? หนี้สาธารณะคงค้าง ณ สิ้นเดือน ต.ค. 65 อยู่ที่ร้อยละ 60.60 ของ GDP

ภาคการเงิน

? ดุลบัญชีเดินสะพัดเดือน ต.ค. 65 เกินดุลที่ 837.15 ล้านดอลลาร์สหรัฐ

? สินเชื่อในสถาบันการเงินเดือน ต.ค. 65 ขยายตัวที่ร้อยละ 3.3 จากช่วงเดียวกันปีก่อน

ขณะที่เงินฝากในสถาบันการเงิน ขยายตัวที่ร้อยละ 4.8 จากช่วงเดียวกันปีก่อน เศรษฐกิจต่างประเทศ

? เศรษฐกิจไต้หวัน ไตรมาส 3 ปี 65 ขยายตัวที่ร้อยละ 4.0 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน

? เศรษฐกิจเกาหลีใต้ ไตรมาสที่ 3 ปี 65 ขยายตัวที่ร้อยละ 3.1 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน

? เศรษฐกิจอินเดีย ไตรมาสที่ 3 ปี 65 ขยายตัวที่ร้อยละ 6.3 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน

เครื่องชี้เศรษฐกิจไทย

ดัชนีผลผลิตอุตสาหกรรม (MPI) เดือน ต.ค. 65 หดตัวที่ร้อยละ -3.7 ต่อปี และหดตัวร้อยละ -4.2 เมื่อเทียบกับเดือนก่อนหน้าหลังขจัดผลของฤดูกาล

ดัชนี MPIMPIในเดือน ต.ค. 65 มีอุตสาหกรรมสาคัญที่หดตัว ได้แก่ อุตสาหกรรมผลิตฮาร์ดดิสก์ อุตสาหกรรมผลิตภัณฑ์ที่ได้จากการกลั่นปิโตรเลียม และอุตสาหกรรมพลาสติกและยางสังเคราะห์ขั้นต้น หดตัวร้อยละ -41.1 -9.4 และ -18.6 ต่อปี ตามลาดับ* ขณะที่อุตสาหกรรมสาคัญที่ขยายตัว ได้แก่ อุตสาหกรรมยานยนต์ อุตสาหกรรมผลิตน้ามันปาล์ม และอุตสาหกรรมชิ้นส่วนและแผ่นวงจรอิเล็กทรอนิกส์ ขยายตัวร้อยละ 9.9 31.8 และ 7.5 ต่อปี ตามลาดับ* ((*เรียงตามสัดส่วนใน MPI) ปริมาณการจาหน่ายเหล็กและผลิตภัณฑ์เหล็กรวมภายในประเทศเดือน ต.ค.65 หดตัวที่ร้อยละ -11.2 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน แต่เพิ่มขึ้นร้อยละ 3.7 เมื่อเทียบกับเดือนก่อนหน้าหลังปรับผลทางฤดูกาล

ปริมาณการจาหน่ายเหล็กในประเทศเดือน ต.ค. 65 หดตัวอย่างต่อเนื่อง โดยมีปัจจัยสาคัญมาจากการจาหน่ายเหล็กที่ใช้ในภาคอุตสาหกรรมที่หดตัว อาทิ เหล็กแผ่นรีดเย็น เหล็กแผ่นเคลือบโครเมี่ยม เหล็กแผ่นเคลือบสังกะสี และเหล็กแผ่นรีดร้อนชนิดม้วน หดตัวเมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อนที่ร้อยละ -34.6-27.7 -7.2 และ -4.8ตามลาดับ รวมทั้ง เหล็กเส้นกลม หดตัวที่ร้อยละ -31.1 เนื่องจากปัจจัยด้านต้นทุนที่ยังสูงขึ้นตามราคาสินค้าหมวดเหล็กที่เพิ่มขึ้น และความต้องการใช้เหล็กที่เพิ่มขึ้น ซึ่งจะส่งผลต่อต้นทุนของผู้ประกอบการในอุตสาหกรรม เครื่องชี้เศรษฐกิจไทย มูลค่าการส่งออกในเดือน ต.ค. 655มีมูลค่าอยู่ที่ 21,772.4 ล้านดอลลาร์สหรัฐ หรือหดตัวที่ร้อยละ -4.4 เมื่อเทียบรายปีโดยเป็นการกลับมาหดตัวครั้งแรกในรอบ 20 เดือน

การส่งออกของไทยหากหักรายการสินค้าเกี่ยวเนื่องน้ามันทองคาและยุทธปัจจัยหดตัวที่ร้อยละ 2.8 ทั้งนี้ การส่งออกที่กลับมาหดตัวในเดือนดังกล่าวมาจากสินค้าสาคัญ อาทิ เครื่องคอมพิวเตอร์อุปกรณ์และส่วนประกอบ ผลิตภัณฑ์ยาง เคมีภัณฑ์ เม็ดพลาสติก น้ามันสาเร็จรูป เครื่องจักรกลและส่วนประกอบ เป็นสาคัญ ขณะที่ กลุ่มสินค้าที่ยังคงขยายตัวได้ดี เช่น เครื่องโทรสารโทรศัพท์ฯ อุปกรณ์กึ่งตัวนาฯ กลุ่มรถยนต์ฯ กลุ่มรถจักรยานยนต์ฯ อัญมณีและเครื่องประดับที่ไม่รวมทองคา ข้าว ผลิตภัณฑ์มันสาปะหลัง เป็นต้น ในส่วนของตลาดคู่ค้าที่ยังคงขยายตัวต่อเนื่อง อาทิ กลุ่ม CLMVCLMVทวีปออสเตรเลีย สหราชอาณาจักร และกลุ่มตะวันออกกลาง ขณะที่ การส่งออกไปยังตลาดหลักอย่างสหรัฐ จีน ญี่ปุ่น และสหภาพยุโรป หดตัวในเดือนดังกล่าว ทั้งนี้ การส่งออกไทยในช่วง 10 เดือนแรกของปี 65 ยังคงขยายตัวเฉลี่ยร้อยละ 9.1 ต่อปี

มูลค่าการนาเข้าในเดือน ต.ค. 655มีมูลค่า 22,368.8ล้านดอลลาร์สหรัฐ หดตัวที่ร้อยละ -2.1เมื่อเทียบช่วงเดียวกันของปีก่อน

การนาเข้าของไทยในเดือนดังกล่าวหดตัวจากกลุ่มสินค้าทุน กลุ่มสินค้าวัตถุดิบและกึ่งสาเร็จรูป และกลุ่มสินค้าอุปโภคบริโภค เฉลี่ยที่ร้อยละ -16.4-0.4 และ -0.4 เมื่อเทียบรายปี ตามลาดับ อาทิ เครื่องจักรกลฯ เครื่องคอมฯ เคมีภัณฑ์ ผลิตภัณฑ์จากพลาสติก เหล็กเหล็กกล้าฯ ผลิตภัณฑ์เวชกรรมและเภสัชกรรม เครื่องใช้ไฟฟ้าในบ้าน ขณะที่ กลุ่มสินค้าเชื้อเพลิงและกลุ่มยานพาหนะฯ ยังคงขยายตัวได้โดยเฉลี่ยในเดือนดังกล่าว ด้านดุลการค้าในเดือนดังกล่าว ขาดดุลมูลค่า 596.4 ล้านดอลลาร์สหรัฐ โดยในช่วง 10 เดือนแรกของปี 65 ดุลการค้าสะสมของไทยขาดดุลอยู่ที่ -15.6 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ เครื่องชี้เศรษฐกิจไทย

5

หนี้สาธารณะคงค้าง ณ สิ้นเดือน ต.ค. 65มีจานวนทั้งสิ้น 10,462,219.01ล้านบาท หรือคิดเป็นร้อยละ 60.60 ของ GDPGDPและเมื่อเปรียบเทียบกับเดือนก่อนหน้า พบว่า หนี้สาธารณะคงค้างเพิ่มขึ้นสุทธิ 88,281.42ล้านบาท

ทั้งนี้ สถานะหนี้สาธารณะของไทยถือว่ามีความมั่นคง สะท้อนได้จากสัดส่วนหนี้สาธารณะต่อ GDPGDPยังอยู่ในระดับต่ากว่ากรอบวินัยในการบริหารหนี้สาธารณะที่ตั้งไว้ไม่เกินร้อยละ 770 ของ GDPGDPและหนี้สาธารณะส่วนใหญ่เป็นหนี้ระยะยาว โดยแบ่งตามอายุคงเหลือคิดเป็นร้อยละ 86.48ของยอดหนี้สาธารณะและเป็นหนี้ในประเทศคิดเป็นร้อยละ 98.27ของยอดหนี้สาธารณะ เครื่องชี้ภาคการเงิน

ดุลบัญชีเดินสะพัดเดือน ต.ค. 655เกินดุลที่ 837.15837.15ล้านดอลลาร์สหรัฐหลังเกินดุลในเดือนก่อนหน้าที่ 623.29623.29ล้านดอลลาร์สหรัฐ

โดยเดือน ต.ค. 65 ดุลบริการ รายได้ และเงินโอน ขาดดุลที่ 815.54815.54ล้านดอลลาร์สหรัฐ ขาดดุลลดลงจากเดือนก่อนหน้า ขณะที่ดุลการค้า (ตามระบบ BOP) เกินดุลลดลงจากเดือนก่อนหน้ามาอยู่ที่ 1,652.681,652.68ล้านดอลลาร์สหรัฐ สาหรับดุลบัญชีเดินสะพัดในช่วง 1010เดือนแรกของปี 655ขาดดุลรวม -16,850.4116,850.41ล้านดอลลาร์สหรัฐ สินเชื่อในสถาบันการเงินเดือน ต.ค. 655มียอดคงค้าง 20.2920.29ล้านล้านบาท คิดเป็นการขยายตัวที่ร้อยละ 3.33.3จากช่วงเดียวกันปีก่อน หรือขยายตัวเร่งขึ้นที่ร้อยละ 0.33จากเดือนก่อนหน้า (หลังขจัดผลทางฤดูกาล) เมื่อแยกประเภทการขอสินเชื่อพบว่า สินเชื่อเพื่อธุรกิจและสินเชื่อเพื่อการอุปโภคบริโภคขยายตัวชะลอลงที่ร้อยละ 3.33.3และ 3.23.2จากช่วงเดียวกันปีก่อน ตามลาดับ

เงินฝากในสถาบันการเงินเดือน ต.ค. 655มียอดคงค้าง 24.3724.37ล้านล้านบาท คิดเป็นการขยายตัวที่ร้อยละ 4.84.8จากช่วงเดียวกันปีก่อน

หรือหากขจัดผลทางฤดูกาลแล้วขยายตัวเร่งขึ้นที่ร้อยละ 0.55จากเดือนก่อนหน้า โดยเงินฝากจากธนาคารพาณิชย์ และเงินฝากสถาบันการเงินเฉพาะกิจขยายตัวชะลอลงจากเดือนก่อนหน้าที่ร้อยละ 4.44.4และ 3.83.8จากช่วงเดียวกันปีก่อน ตามลาดับ

เครื่องชี้เศรษฐกิจต่างประเทศ

สหรัฐอเมริกา ยอดขายบ้านมือสอง เดือน ต.ค. 65 หดตัวที่ร้อยละ -5.9 จากเดือนก่อนหน้า (ขจัดผลทางฤดูกาลแล้ว) หดตัวเร่งขึ้นจากเดือนก่อนที่ร้อยละ -1.5 ซึ่งเป็นการหดตัวติดต่อกันเป็นเดือนที่ 9และหากพิจารณาเทียบรายปีพบว่า ยอดขายบ้านมือสอง เดือน ต.ค. 65หดตัวที่ร้อยละ -28.4จากช่วงเดียวกันของปีก่อน

ราคากลางบ้านมือสอง เดือน ต.ค. 65 หดตัวที่ร้อยละ -1.1 จากเดือนก่อนหน้า (หลังขจัดผลทางฤดูกาลแล้ว) หดตัวชะลอลงจากเดือนก่อนที่ -2.1และหากพิจารณาเทียบรายปีพบว่า ราคากลางบ้านมือสอง เดือน ต.ค. 65ขยายตัวที่ร้อยละ 6.6จากช่วงเดียวกันของปีก่อน

ดัชนีฯ PM IIภาคอุตสาหกรรม เดือน พ.ย. 65 อยู่ที่ระดับ 49.0 จุด ลดลงจากเดือนก่อนหน้าที่ 50.2 จุด และต่ากว่าที่ตลาดคาดการณ์ไว้ที่ 49.8 จุด โดยดัชนีฯ ปรับตัวลดลงต่อเนื่องติดต่อกันเป็นเดือนที่ 3 และกลับมาต่ากว่าระดับ 50.0 จุด ซึ่งบ่งชี้ถึงการหดตัวเป็นครั้งแรกในรอบประมาณ 2ปีครึ่ง นับตั้งแต่เดือน มิ.ย. 63เป็นผลจากการลดลงของยอดคาสั่งซื้อใหม่ คาสั่งซื้อคงค้าง และการจ้างงาน เป็นสาคัญ

จานวนผู้ขอรับสวัสดิการว่างงานครั้งแรกรายสัปดาห์ (20-26พ.ย. 65) อยู่ที่ 2.25แสนราย ลดลงจากสัปดาห์ก่อนหน้าที่ 2.41 แสนราย และต่ากว่าที่นักวิเคราะห์คาดการณ์ที่ 2.35 แสนราย ขณะที่จานวนผู้ขอรับสวัสดิการว่างงานเฉลี่ย 4 สัปดาห์ (four week

moving average) ซึ่งขจัดความผันผวนรายสัปดาห์แล้ว เพิ่มขึ้นจากสัปดาห์ก่อนหน้ามาอยู่ที่ 2.29แสนราย ยูโรโซน อัตราเงินเฟ้อ เดือน พ.ย. 65 อยู่ที่ร้อยละ 10.0 จากช่วงเดียวกันปีก่อน ลดลงจากเดือนก่อนหน้าที่ร้อยละ 10.6 จากช่วงเดียวกันปีก่อน และต่ากว่าที่ตลาดคาดการณ์เอาไว้ที่ร้อยละ 10.4

จากช่วงเดียวกันปีก่อนโดยต้นทุนพลังงานและบริการมีแนวโน้มชะลอตัว

ดัชนีผู้จัดการฝ่ายซื้อ PMIPMIภาคอุตสาหกรรม เดือน พ.ย. 65 อยู่ที่ระดับ 47.3 จุด เพิ่มขึ้นจากเดือนก่อนหน้าที่อยู่ที่ระดับ 46.4จุด และสูงกว่าที่ตลาดคาดการณ์ที่ระดับ 46.0จุด

อัตราการว่างงาน ณ เดือน ต.ค. 65 อยู่ที่ร้อยละ 6.5 ของกาลังแรงงานรวม ลดลงจากเดือนก่อนหน้า ซึ่งอยู่ที่ร้อยละ 6.6 ของกาลังแรงงานรวม และต่ากว่าที่ตลาดคาดการณ์เอาไว้ที่ ร้อยละ 6.6 ของกาลังแรงงานรวม โดยอัตราการว่างงานปรับดีขึ้นเนื่องจากมาตรการกระตุ้นเศรษฐกิจและนโยบายที่มุ่งเน้นการเติบโตได้สนับสนุนการฟื้นตัวของตลาดแรงงานภายหลัง การแพร่ระบาดของโควิด-19 เครื่องชี้เศรษฐกิจต่างประเทศ จีน ดัชนีฯ PMIPMIภาคอุตสาหกรรม (NBS) เดือน พ.ย. 65 อยู่ที่ระดับ 48.0 จุด ลดลงจากเดือนก่อนหน้าที่ระดับ 49.2จุด ซึ่งลดลงต่ากว่า 50.0จุด ติดต่อกันเป็นเดือนที่ 2

ดัชนีฯ PMIPMIภาคบริการ (NBS) เดือน พ.ย. 65 อยู่ที่ระดับ 46.7 จุด ลดลงจากเดือนก่อนหน้าที่ระดับ 48.7จุด ซึ่งลดลงต่ากว่า 50.0จุด ติดต่อกันเป็นเดือนที่ 2

ดัชนีฯ PMIPMIภาคอุตสาหกรรม (Caixin) เดือน พ.ย. 65 อยู่ที่ระดับ 49.4 จุด เพิ่มขึ้นจากเดือนก่อนหน้าที่ระดับ 49.2จุด ดัชนีฯ PMIPMIภาคอุตสาหกรรม (NBS) เดือน พ.ย. 65 อยู่ที่ระดับ 48.0 จุด ลดลงจากเดือนก่อนหน้าที่ระดับ 49.2จุด ซึ่งลดลงต่ากว่า 50.0จุด ติดต่อกันเป็นเดือนที่ 2

ดัชนีฯ PMIPMIภาคบริการ (NBS) เดือน พ.ย. 65 อยู่ที่ระดับ 46.7 จุด ลดลงจากเดือนก่อนหน้าที่ระดับ 48.7จุด ซึ่งลดลงต่ากว่า 50.0จุด ติดต่อกันเป็นเดือนที่ 2

ดัชนีฯ PMIPMIภาคอุตสาหกรรม (Caixin) เดือน พ.ย. 65 อยู่ที่ระดับ 49.4 จุด เพิ่มขึ้นจากเดือนก่อนหน้าที่ระดับ 49.2จุด ไต้หวัน เศรษฐกิจไต้หวัน ไตรมาส 3ปี 65ขยายตัวที่ร้อยละ 4.01จากช่วงเดียวกันของปีก่อน ขยายตัวเร่งขึ้นจากไตรมาสก่อนหน้าที่ขยายตัวร้อยละ 3.05จากช่วงเดียวกันของปีก่อน

ดัชนีความเชื่อมั่นผู้บริโภคเดือน พ.ย. 65 อยู่ที่ระดับ 60.0 จุด ลดลงจากเดือนก่อนหน้าที่ระดับ 61.2จุด ซึ่งอยู่ในระดับต่าสุดนับตั้งแต่เดือน ก.ย. 52

ดัชนีฯ PMIPMIภาคอุตสาหกรรม เดือน พ.ย. 65 อยู่ที่ระดับ 41.6 จุด เพิ่มขึ้นจากเดือนก่อนหน้าที่ระดับ 41.5จุด ฮ่องกง มูลค่าส่งออก เดือน ต.ค. 65 หดตัวร้อยละ -10.4 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน หดตัวเร่งขึ้นจากเดือนก่อนหน้าที่หดตัวที่ร้อยละ -9.1จากช่วงเดียวกันของปีก่อน

มูลค่านาเข้า เดือน ต.ค. 65 หดตัวที่ร้อยละ -11.9 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน หดตัวเร่งขึ้นจากเดือนก่อนหน้าที่หดตัวที่ร้อยละ -7.8จากช่วงเดียวกันของปีก่อน

ดุลการค้า เดือน ต.ค. 65 ขาดดุลที่ระดับ -20.9 พันล้านดอลลาร์ฮ่องกง ขาดดุลลดลงจากเดือนก่อนหน้าที่ขาดดุลที่ระดับ -44.9พันล้านดอลลาร์ฮ่องกง

ยอดค้าปลีก เดือน ต.ค. 65 ขยายตัวที่ร้อยละ 2.4 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน เร่งขึ้นจากเดือนก่อนหน้าที่หดตัวที่ร้อยละ -1.4จากช่วงเดียวกันของปีก่อน เครื่องชี้เศรษฐกิจต่างประเทศ ญี่ปุ่ อัตราการว่างงาน เดือน ต.ค. 62อยู่ที่ร้อยละ 2.6เท่ากับเดือนก่อนหน้า

ยอดค้าปลีก เดือน ต.ค. 65 ขยายตัวร้อยละ 4.3 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน ชะลอลงเล็กน้อยจากเดือนก่อนหน้าที่ขยายตัวร้อยละ 4.8แต่ยังมียอดขายที่เพิ่มขี้นในส่วนของยานยนต์ เครื่องนุ่งห่ม อาหารและเครื่องดื่ม

ผลผลิตภาคอุตสาหกรรม เดือน ต.ค. 65 ขยายตัวร้อยละ 3.7 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน ทั้งนี้ เมื่อเทียบกับเดือนก่อนหน้า หดตัวร้อยละ -2.6จากการหดตัวในส่วนของการผลิตเครื่องมือเครื่องจักร สินค้าอิเล็กทรอนิกส์ ยารักษาโรค เป็นสาคัญ

ดัชนีความเชื่อมั่นผู้บริโภค เดือน พ.ย. 65 อยู่ที่ระดับ 28.6 จุด ต่าสุดนับจาก มิ.ย. 63จากราคาสินค้าที่เพิ่มขึ้นต่อเนื่องและต้นทุนค่าครองชีพที่เพิ่มขึ้น เป็นสาคัญ เกาหลีใต้ เศรษฐกิจเกาหลีใต้ ไตรมาสที่ 3ปี 65ขยายตัวที่ร้อยละ 3.1จากช่วงเดียวกันของปีก่อน ขยายตัวเร่งขึ้นจากไตรมาสก่อนหน้าที่ขยายตัวที่ร้อยละ 2.9จากช่วงเดียวกันของปีก่อน

อัตราเงินเฟ้อ เดือน พ.ย. 65 อยู่ที่ร้อยละ 5.0 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน ลดลงจากเดือนก่อนหน้าที่อยู่ที่ร้อยละ 5.7จากช่วงเดียวกันของปีก่อน

ผลผลิตอุตสาหกรรม เดือน ต.ค. 65หดตัวที่ร้อยละ -1.1จากช่วงเดียวกันของปีก่อน ชะลอลงจากเดือนก่อนหน้าที่ขยายตัวที่ร้อยละ 0.7จากช่วงเดียวกันของปีก่อน

ดัชนีฯ PMIPMIภาคอุตสาหกรรม เดือน พ.ย. 65 อยู่ที่ระดับ 49 จุด เพิ่มขึ้นจากเดือนกิ่อนหน้าที่อยู่ที่ระดับ 48.2จุด

มูลค่าการส่งออก เดือน พ.ย. 65 หดตัวที่ร้อยละ -14.0 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน หดตัวเร่งขึ้นจากเดือนก่อนหน้าที่หดตัวที่ร้อยละ -5.7จากช่วงเดียวกันของปีก่อน

มูลค่าการนาเข้า เดือน พ.ย. 65 ขยายตัวที่ร้อยละ 2.7 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน ขยายตัวชะลอลงจากเดือนก่อนหน้าที่ขยายตัวที่ร้อยละ 9.9จากช่วงเดียวกันของปีก่อน

ดุลการค้า เดือน พ.ย. 65 ขาดดุลที่ระดับ -7.01 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ ขาดดุลเพิ่มขึ้นจากเดือนก่อนหน้าที่ขาดดุลที่ระดับ -6.7พันล้านดอลลาร์สหรัฐ เวียดนาม อัตราเงินเฟ้อ เดือน พ.ย. 65 อยู่ที่ร้อยละ 4.37 จากช่วงเดียวกันปีก่อน เพิ่มขึ้นจากเดือนก่อนหน้าที่ร้อยละ 4.30 จากช่วงเดียวกันปีก่อน เนื่องจากการเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็วในหมวดของราคาอาหารและบริการจัดเลี้ยง หมวดที่อยู่อาศัยและวัสดุก่อสร้าง และหมวดการศึกษา เป็นสาคัญ

ผลผลิตภาคอุตสาหกรรม เดือน พ.ย. 65 ขยายตัวร้อยละ 5.3 จากช่วงเดียวกันปีก่อน นับเป็นการขยายตัวเป็นเดือนที่ 13ติดต่อกัน ท่ามกลางแรงกดดันที่เพิ่มสูงขึ้นของต้นทุนการผลิต รวมทั้ง ผลกระทบจากการเพิ่มขึ้นของผู้ติดเชื้อโควิด-19และมาตรการจากัดการแพร่ระบาดที่เข้มงวดในประเทศจีน

ยอดค้าปลีก เดือน พ.ย. 65 ขยายตัวร้อยละ 17.5 จากช่วงเดียวกันปีก่อน ขยายตัวเร่งขึ้นจากเดือนก่อนหน้าที่ขยายตัวร้อยละ 17.1 จากช่วงเดียวกันปีก่อน และนับเป็นการขยายตัวต่อเนื่องเป็นเดือนที่ 12ติดต่อกัน เนื่องจากการบริโภคที่ยังฟื้นตัวต่อเนื่องท่ามกลางแรงกดดันด้านต้นทุนที่เพิ่มสูงขึ้น

ดัชนีฯ PMI ภาคอุตสาหกรรม เดือน พ.ย. 65 อยู่ที่ระดับ 47.4 จุด ลดลงจากเดือนก่อนหน้าที่อยู่ที่ระดับ 50.6 จุด นับเป็นการหดตัวครั้งแรกในกิจกรรมการผลิตนับตั้งแต่เดือน ก.ย. 64คาสังซื้อใหม่ลดลงเป็นครั้งแรกในรอบ 14เดือน ท่ามกลางอุปสงค์โลกที่ลดลง

มูลค่าการส่งออก เดือน พ.ย. 65 หดตัวที่ร้อยละ -7.4 จากช่วงเดียวกันปีก่อน หลังจากที่ขยายตัวร้อยละ 5.2จากช่วงเดียวกันปีก่อน ในเดือนก่อนหน้า โดยนับเป็นการหดตัวเป็นครั้งแรกในรอบ 13เดือน นับตั้งแต่เดือน ก.ย. 63

มูลค่าการนาเข้า เดือน พ.ย. 65 หดตัวที่ร้อยละ -2.0 จากช่วงเดียวกันปีก่อน หลังจากที่ขยายตัวร้อยละ 6.7จากช่วงเดียวกันปีก่อนในเดือนก่อนหน้า โดยนับเป็นการหดตัวครั้งแรกตั้งแต่เดือน ก.ค. 63

ดุลการค้า เดือน พ.ย. 65 ขาดดุลที่ 500 ล้านดอลลาร์สหรัฐ กลับมาขาดดุลอีกครั้ง หลังจากที่เกินดุล 2.6พันล้านดอลลาร์สหรัฐ ในเดือนก่อนหน้า สหราชอาณาจักร ดัชนีฯ PMIPMIภาคอุตสาหกรรม เดือน พ.ย. 65 อยู่ที่ระดับ 46.5 จุด สะท้อนการลดลงของกิจกรรมภาคการผลิต และการจ้างงานที่ลดลง เป็นสาคัญ เครื่องชี้เศรษฐกิจต่างประเทศ ฟิลิปปินส์ ดัชนีฯ PMIPMIภาคอุตสาหกรรม เดือน พ.ย. 65 อยู่ที่ระดับ 52.7 จุด เพิ่มขึ้นเล็กน้อยจากเดือนก่อนหน้าที่อยู่ที่ระดับ 52.6จุด นับเป็นการขยายตัวเป็นเดือนที่ 10ติดต่อกัน บ่งชี้ถึงการปรับดีขึ้นของกิจกรรมภาคการผลิต อินโดนีเซีย ดัชนีฯ PMIPMIภาคอุตสาหกรรม เดือน พ.ย. 65 อยู่ที่ระดับ 50.3 จุด ลดลงเล็กน้อยจากเดือนก่อนหน้าที่อยู่ที่ระดับ 51.8 จุด นับเป็นการขยายตัวเป็นเดือนที่ 15ติดต่อกัน ขณะที่กิจกรรมโรงงานขยายตัวในอัตราที่ชะลอลงตั้งแต่เดือน มิ.ย. 65ท่ามกลางความกังวลเกี่ยวกับการชะลอตัวของเศรษฐกิจโลก

อัตราเงินเฟ้อ เดือน พ.ย. 65 อยู่ที่ร้อยละ 5.4 จากช่วงเดียวกันปีก่อน ลดลงจากเดือนก่อนหน้าที่อยู่ที่ร้อยละ 5.7จากช่วงเดียวกันปีก่อน มาเลเซีย ดัชนีฯ PMIPMIภาคอุตสาหกรรม เดือน พ.ย. 65 อยู่ที่ระดับ 47.9 จุด ลดลงเล็กน้อยจากเดือนก่อนหน้าที่อยู่ที่ระดับ 48.7 จุด โดยภาคธุรกิจมีการชะลอตัวอย่างเห็นได้ชัด ท่ามกลางปริมาณการสั่งซื้อที่ลดลงมากที่สุดตั้งแต่เดือน ส.ค. 64ในขณะที่ผลผลิตโรงงานลดลงเป็นเดือนที่ 4ติดต่อกัน ออสเตรเลีย ยอดค้าปลีก เดือน ต.ค. 65 ขยายตัวที่ร้อยละ 12.48 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน ชะลอลงจากเดือนก่อนหน้าที่ขยายตัวที่ร้อยละ 17.94จากช่วงเดียวกันของปีก่อน

ดัชนีฯ PMI ภาคอุตสาหกรรม เดือน พ.ย. 65 อยู่ที่ระดับ 51.3 จุด ลดลงจากเดือนก่อนหน้าที่อยู่ที่ระดับ 52.7จุด อินเดีย เศรษฐกิจอินเดีย ไตรมาสที่ 3 ปี 65 ขยายตัวที่ร้อยละ 6.3 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน ขยายตัวชะลอลงจากไตรมาสก่อนหน้าที่ขยายตัวที่ร้อยละ 13.5จากช่วงเดียวกันของปีก่อน เนื่องจากการล็อกดาวน์ของสถานการณ์การแพร่ระบาดของโควิด-19และอัตราดอกเบี้ยที่เพิ่มสูงขึ้นที่ส่งผลให้อุปสงค์ภายในประเทศเริ่มชะลอตัวลง

ดัชนีฯ PMIPMIภาคอุตสาหกรรม เดือน พ.ย. 65 อยู่ที่ระดับ 55.7 จุด เพิ่มขึ้นจากเดือนก่อนหน้าที่อยู่ที่ระดับ 55.3จุด เครื่องชี้ตลาดเงิน ตลาดอัตราแลกเปลี่ยน ดัชนี SETSETปรับตัวเพิ่มขึ้นจากสัปดาห์ก่อนสอดคล้องกับตลาดหลักทรัพย์อื่น ๆ ในภูมิภาคที่ปรับตัวเพิ่มขึ้นจากสัปดาห์ก่อน เช่น Hang Seng ฮ่องกง ShanghaiShanghai(จีน) TWSETWSE(ไต้หวัน) และ STISTI(สิงคโปร์ เป็นต้น เมื่อวันที่ 11ธ.ค. 655ดัชนีปิดที่ระดับ 1,648.441,648.44จุด ด้วยมูลค่าซื้อขายเฉลี่ยระหว่างวันที่2828พ.ย. ถึง 11ธ.ค. 6565อยู่ที่ 62,803.1162,803.11ล้านบาทต่อวัน โดยนักลงทุนทั่วไปในประเทศ และนักลงทุนบัญชีบริษัทหลักทรัพย์เป็นผู้ขายสุทธิ ขณะที่นักลงทุนสถาบันในประเทศ และนักลงทุนต่างชาติเป็นผู้ซื้อสุทธิ ทั้งนี้ ระหว่างวันที่ 28 พ.ย. ถึง 1 ธ.ค. 65 นักลงทุนต่างชาติ ซื้อหลักทรัพย์สุทธิ 9,661.19 ล้านบาท

อัตราผลตอบแทนพันธบัตรรัฐบาลอายุ 11เดือน ถึง 2020ปี ส่วนใหญ่ปรับตัวลดลงในช่วง -11ถึง -17 bpsbpsโดยในสัปดาห์นี้นักลงทุนไม่มีการประมูลพันธบัตรรัฐบาล ทั้งนี้ ระหว่างวันที่ 2828พ.ย. ถึง 11ธ.ค. 6565กระแสเงินทุนของนักลงทุนต่างชาติ ไหลเข้าในตลาดพันธบัตรสุทธิ 14,522.9314,522.93ล้านบาทและหากนับจากต้นปีจนถึงวันที่ 11ธ.ค. 6565กระแสเงินทุนของนักลงทุนต่างชาติ ไหลเข้าในตลาดพันธบัตรสุทธิ 19,551.8119,551.81ล้านบาท

เงินบาทแข็งค่าขึ้นจากสัปดาห์ก่อน โดย ณ วันที่ 11ธ.ค. 655เงินบาทปิดที่ 34.9934.99บาทต่อดอลลาร์สหรัฐ แข็งค่าขึ้นร้อยละ 2.812.81จากสัปดาห์ก่อนหน้า สอดคล้องกับเงินสกุลอื่น ๆ ในภูมิภาค อาทิ เงินสกุลเยน ยูโร ริงกิต เปโซ วอน ดอลลาร์ไต้หวันใหม่ และดอลลาร์สิงคโปร์ ที่ปรับตัวแข็งค่าขึ้นจากสัปดาห์ก่อนหน้า เมื่อเทียบกับดอลลาร์ ขณะที่เงินสกุลหยวน ที่ปรับตัวอ่อนค่าลงจากสัปดาห์ก่อนหน้า เมื่อเทียบกับดอลลาร์ ทั้งนี้ เงินบาทแข็งค่ามากกว่าเงินสกุลอื่น ๆ ในภูมิภาค ส่งผลให้ดัชนีค่าเงินบาท (NEERNEER) แข็งค่าขึ้นร้อยละ 2.082.08จากสัปดาห์ก่อน

ที่มา: สำนักงานเศรษฐกิจการคลัง กระทรวงการคลัง


เว็บไซต์นี้มีการใช้งานคุกกี้ ศึกษารายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และ ข้อตกลงการใช้บริการ รับทราบ