รายงานภาวะเศรษฐกิจรายสัปดาห์ (Weekly) ณ 3 พ.ย. 66

ข่าวเศรษฐกิจ Monday November 6, 2023 14:18 —กระทรวงการคลัง

เศรษฐกิจไทย

ดัชนีผลผลิตอุตสาหกรรม (MPI) ในเดือน ก.ย. 66 หดตัวร้อยละ -6.1 ต่อปี

? ปริมาณการจาหน่ายเหล็กและผลิตภัณฑ์เหล็กรวมภายในประเทศในเดือน ก.ย. 66

ขยายตัวร้อยละ 3.4 ต่อปี

? หนี้สาธารณะคงค้าง ณ สิ้นเดือน ก.ย. 66 คิดเป็นร้อยละ 62.14 ของ GDP

? การเบิกจ่ายงบประมาณรวมในเดือน ก.ย. 66 ขยายตัวที่ร้อยละ 0.0 ต่อปี

? รัฐบาลจัดเก็บรายได้สุทธิ (หลังหักจัดสรรให้ อปท.) ในเดือน ก.ย. 66 ขยายตัวร้อยละ

7.0 ต่อปี

? ฐานะการคลังของรัฐบาลตามระบบกระแสเงินสดในเดือน ก.ย. 66 เกินดุล

72,404 ล้านบาท

ภาคการเงิน

? ดุลบัญชีเดินสะพัดเดือน ก.ย. 66 เกินดุลที่ 3,406.05 ล้านดอลลาร์สหรัฐ

? สินเชื่อในสถาบันการเงินในเดือน ก.ย. 66 ขยายตัวร้อยละ 1.0 จากช่วงเดียวกันปีก่อน ขณะที่

เงินฝากในสถาบันการเงินเดือน ก.ย. 66 ขยายตัวร้อยละ 1.6 จากช่วงเดียวกันปีก่อน

เศรษฐกิจต่างประเทศ

? GDP ยูโรโซน ไตรมาส 3 ปี 66 ขยายตัวร้อยละ 0.1 จากช่วงเดียวกันปีก่อน

? GDP ไต้หวัน ไตรมาส 3 ปี 66 (เบื้องต้น) ขยายตัวร้อยละ 2.3 จากช่วงเดียวกันปีก่อน

เครื่องชี้เศรษฐกิจไทย

ดัชนีผลผลิตอุตสาหกรรม (MPI) เดือน ก.ย. 66หดตัวที่ร้อยละ -6.1ต่อปี แต่ขยายตัวร้อยละ 0.3เมื่อเทียบกับเดือนก่อนหน้าหลังขจัดผลของฤดูกาล

โดยดัชนีปรับลดลงติดต่อกันเป็นเดือนที่ 12 ติดต่อกัน โดยหดตัวจากการผลิตสินค้าอุตสาหกรรมหลายรายการ เช่น ยานยนต์ ผลิตภัณฑ์ที่ได้จากการกลั่นปิโตรเลียม คอมพิวเตอร์ และยางและพลาสติก เป็นต้น ที่หดตัวร้อยละ -8.3, 5.0 , 17.8 และ -7.6 ต่อปี ตามลาดับ* เนื่องจากเศรษฐกิจโลกยังมีแนวโน้มชะลอตัวต่อเนื่อง และความขัดแย้งระหว่างประเทศยังเป็นปัจจัยกดดันต่อเศรษฐกิจทั่วโลก อย่างไรก็ดี ภาคการท่องเที่ยวที่เติบโตยังหนุนภาคการผลิตโดยเฉพาะในกลุ่มอาหารและเครื่องดื่มบางรายการ (*เรียงตามสัดส่วนใน MPI ในระบบ TSIC 22หลัก

ปริมาณการจาหน่ายเหล็กและผลิตภัณฑ์เหล็กรวมภายในประเทศเดือน ก.ย. 66 ขยายตัวที่ร้อยละ 3.43.4เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน และขยายตัวที่ร้อยละ 3.53.5เมื่อเทียบกับเดือนก่อนหน้าหลังขจัดผลทางฤดูกาล

ปริมาณการจาหน่ายเหล็กในประเทศเดือน ก.ย. 66 กลับมาขยายตัวร้อยละ 3.43.4โดยมีปัจจัยสาคัญมาจากปริมาณการจาหน่ายที่เพิ่มขึ้นของเหล็กประเภท อาทิ เหล็กโครงสร้างรูปพรรณชนิดรีดร้อน ท่อเหล็กกล้า และเหล็กแผ่นรีดร้อนชนิดม้วน ที่ขยายตัวร้อยละ 20.0 11.811.8และ 11.011.0ตามลาดับ เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน

เครื่องชี้เศรษฐกิจไทย

การเบิกจ่ายงบประมาณรวมในเดือน ก.ย. 66เบิกจ่ายได้ทั้งสิ้น 252,220 ล้านบาท ขยายตัวร้อยละ 0.0 ต่อปี ทาให้ปีงบประมาณ 66 เบิกจ่ายได้ 3,262,392ล้านบาท ขยายตัวร้อยละ 3.7คิดเป็นอัตราเบิกจ่ายสะสมที่ร้อยละ 96.7

4

ที่มา กรมสรรพากร คานวณโดย สศค.

โดย (1) รายจ่ายปีปัจจุบัน เบิกจ่ายได้ 227,475 ล้านบาท ขยายตัวร้อยละ 1.3 ต่อปี คิดเป็นอัตราเบิกจ่ายสะสมที่ร้อยละ 97.0 ทั้งนี้ แบ่งออกเป็น (1.1) รายจ่ายประจา 175,776 ล้านบาท ขยายตัวร้อยละ 4.3ต่อปี คิดเป็นอัตราเบิกจ่ายสะสมที่ร้อยละ 101.6และ (1.2) รายจ่ายลงทุน 51,699 ล้านบาท หดตัวร้อยละ -7.5ต่อปี คิดเป็นอัตราเบิกจ่ายสะสมที่ร้อยละ 77.7(2) รายจ่ายปีก่อนเบิกจ่ายได้ 24,745ล้านบาท หดตัวที่ร้อยละ -10.7ต่อปี คิดเป็นอัตราเบิกจ่ายสะสมที่ร้อยละ 91.6ต่อปี

รัฐบาลจัดเก็บรายได้สุทธิ (หลังหักจัดสรรให้ อปท.) ในเดือน ก.ย. 66ได้ 293,506ล้านบาท ขยายตัวร้อยละ 7.0ต่อปี ทาให้ปีงบประมาณ 66 จัดเก็บได้สุทธิ 2,664,720ล้านบาท ขยายตัวร้อยละ5.3ต่อปี

โดยรายได้ในเดือน ก.ย. 66ขยายตัวจากกรขอคืนภาษีของกรมพากร ที่หดตัวร้อยละ 33.2ต่อปี ภาษีน้ามันฯ ที่ขยายตัวร้อยละ 81.1ต่อปี และภาษีมูลค่าเพิ่มจากการจัดเก็บในประเทศขยายตัวร้อยละ 6.6 ต่อปี

เครื่องชี้เศรษฐกิจไทย

ฐานะการคลังของรัฐบาลตามระบบกระแสเงินสดในเดือน ก.ย. 66พบว่าดุลเงินงบประมาณเกินดุลจานวน 72,404ล้านบาท

ทั้งนี้เมื่อรวมกับดุลนอกงบประมาณที่เกินดุล 22,267 ล้านบาท พบว่าดุลเงินสดก่อนกู้เกินดุล 94,267 ล้านบาท โดยในเดือนนี้รัฐบาลมีการกู้เงินเพิ่มเติม 127,000ล้านบาท ทาให้ดุลเงินสดหลังกู้เกินดุล 221,671 ล้านบาท ส่งผลให้จานวนเงินคงคลังปลายงวดอยู่ที่ 539,056ล้านบาท

เครื่องชี้เศรษฐกิจไทย

หนี้สาธารณะคงค้าง ณ สิ้นเดือน ก.ย. 66 มีจานวนทั้งสิ้น 11,131,634.20ล้านบาท หรือคิดเป็นร้อยละ 62.14 ของ GDPGDPและเมื่อเปรียบเทียบกับเดือนก่อนหน้า พบว่า หนี้สาธารณะคงค้างเพิ่มขึ้นสุทธิ 103,654.18ล้านบาท

ทั้งนี้ สถานะหนี้สาธารณะของไทยถือว่ามีความมั่นคง สะท้อนได้จากสัดส่วนหนี้สาธารณะต่อ GDPGDPยังอยู่ในระดับต่ากว่ากรอบวินัยในการบริหารหนี้สาธารณะที่ตั้งไว้ไม่เกินร้อยละ 770 ของ GDPGDPและหนี้สาธารณะส่วนใหญ่เป็นหนี้ระยะยาว โดยแบ่งตามอายุคงเหลือคิดเป็นร้อยละ 85.47ของยอดหนี้สาธารณะและเป็นหนี้ในประเทศคิดเป็นร้อยละ 98.58ของยอดหนี้สาธารณะ

เครื่องชี้ภาคการเงิน

ดุลบัญชีเดินสะพัดเดือน ก.ย. 666เกินดุลที่ 3 406.05ล้านดอลลาร์สหรัฐหลังเกินดุลในเดือนก่อนหน้าที่ 401.21401.21ล้านดอลลาร์สหรัฐ

โดยเดือน ก.ย. 666ดุลบริการ รายได้ และเงินโอน ขาดดุลที่ 407.05ล้านดอลลาร์สหรัฐ ขาดดุลลดลงจากเดือนก่อนหน้า ขณะที่ดุลการค้า (ตามระบบ BOP) เกินดุลเพิ่มขึ้นจากเดือนก่อนหน้ามาอยู่ที่3 813.09ล้านดอลลาร์สหรัฐ สาหรับดุลบัญชีเดินสะพัดในปี 666เกินดุลรวม 2 793.52ล้านดอลลาร์สหรัฐ

สินเชื่อในสถาบันการเงินเดือน ก.ย. 666มียอดคงค้าง 20.4 99ล้านล้านบาท คิดเป็นการขยายตัวที่ร้อยละ 1.01.0จากช่วงเดียวกันปีก่อน

หรือขยายตัวที่ร้อยละ 0.5จากเดือนก่อนหน้า (หลังขจัดผลทางฤดูกาล) เมื่อแยกประเภทการขอสินเชื่อพบว่า สินเชื่อเพื่อธุรกิจหดตัวชะลอลงที่ร้อยละ 0.7 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน ขณะที่สินเชื่อเพื่อการอุปโภคบริโภคขยายตัวชะลอลงที่ร้อยละ 1.9 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน

เงินฝากในสถาบันการเงินเดือน ก.ย. 666มียอดคงค้าง 24.24.50ล้านล้านบาท คิดเป็นการขยายตัวที่ร้อยละ 1.1.6จากช่วงเดียวกันปีก่อน

หรือหากขจัดผลทางฤดูกาลแล้วขยายตัวที่ร้อยละ 0.5จากเดือนก่อนหน้า โดยเงินฝากในธนาคารพาณิชย์ขยายตัวเร่งขึ้นที่ร้อยละ 1.1 จากช่วงเดียวกันของปีก่อนและเงินฝากในสถาบันการเงินเฉพาะกิจขยายตัวชะลอลงที่ร้อยละ 3.4จากช่วงเดียวกันของปีก่อน

เครื่องชี้เศรษฐกิจต่างประเทศ

เมื่อวันที่ 31 ต.ค. -1 พ.ย. 66 ที่ประชุม FOMC ได้มีมติเอกฉันท์ให้คงอัตราดอกเบี้ยนโยบายไว้ที่ช่วงร้อยละ 5.25-5.50 ต่อปี ตามที่คาดการณ์ ซึ่งเป็นการคงดอกเบี้ยต่อเนื่อง จากการประชุมครั้งก่อนเมื่อเดือน ก.ย. 66 จากการประชุม 7 ครั้ง ในปี 66 โดยที่ประชุม FOMCFOMCระบุว่า ตัวชี้วัดล่าสุดได้บ่งชี้ว่ากิจกรรมทางเศรษฐกิจสหรัฐฯ ขยายตัวในอัตราที่แข็งแกร่งในไตรมาสที่สามการจ้างงานได้ชะลอลงตั้งแต่ช่วงต้นปี แต่ยังคงแข็งแกร่งและอัตราการว่างงานยังอยู่ในระดับต่า โดยที่อัตราเงินเฟ้อยังคงอยู่ในระดับสูง

สหรัฐอเมริกา

ยอดค้าปลีก เดือน ก.ย. 66 ขยายตัวร้อยละ 5.8 ต่อปี ชะลอลงจากเดือนก่อนหน้าที่ขยายตัวร้อยละ 7.8ต่อปี ทั้งนี้ การค้าปลีกยังคงขยายตัวต่อเนื่องเป็นเดือนที่ 19เนื่องจากการบริโภคที่ฟื้นตัวอย่างต่อเนื่อง

ธนาคารกลางญี่ปุ่น (BOJ) มีมติในรอบประชุม ต.ค. 66คงอัตราดอกเบี้ยระยะสั้นไว้ที่ร้อยละ -0.1 และตรึงเป้าหมายผลตอบแทนพันธบัตรรัฐบาลอายุ 10ปี ไว้ที่ราวร้อยละ 0.0

ดัชนีความเชื่อมั่นผู้บริโภค เดือน ต.ค. 66 อยู่ที่ระดับ 35.7 เพิ่มขึ้นจากระดับ 35.2ในเดือนก่อนหน้า จากความเชื่อมั่นที่เพิ่มขึ้นในส่วนของรายได้ที่เพิ่มขึ้น การดารงชีวิตที่ดีขึ้น และความตั้งใจที่จะซื้อสินค้าคงทนเพิ่มขึ้น

ดัชนีผู้จัดการฝ่ายซื้อ (PMI) ภาคการผลิต (final) เดือน ต.ค. 66ของญี่ปุ่น จากJibun BankBankอยู่ที่ 48.7 สะท้อนการหดตัวอย่างต่อเนื่องเป็นเดือนที่ 5ของกิจกรรมโรงงาน จากการผลิตและคาสั่งซื้อใหม่ที่หดตัว

ญี่ปุ่น

GDP

GDPยูโรโซน ไตรมาสที่ 33ปี 66 ขยายตัวร้อยละ 0.1 จากช่วงเดียวกันปีก่อน ชะลอลงจากไตรมาสก่อนหน้าที่ขยายตัวร้อยละ 0.5จากช่วงเดียวกันปีก่อน หรือคิดเป็นการหดตัวร้อยละ -0.1จากไตรมาสก่อนหน้าหากขจัดผลของฤดูกาลแล้ว

อัตราเงินเฟ้อ เดือน ต.ค. 66 อยู่ที่ร้อยละ 2.9 จากช่วงเดียวกันปีก่อน ชะลอลงจากเดือนก่อนหน้าที่อยู่ที่ร้อยละ 4.3 จากช่วงเดียวกันปีก่อน และต่ากว่าที่ตลาดคาดดการณ์ไว้ร้อยละ 3.1 อย่างไรก็ดี ยังคงสูงกว่ากรอบเป้าหมายเงินเฟ้อของ ECBECBที่อยู่ที่ร้อยละ 2.0จากช่วงเดียวกันปีก่อน

ดัชนีความเชื่อมันผู้บริโภค เดือน ต.ค. 66 อยู่ที่ระดับ -17.9 จุด ลดลงเล็กน้อยจากเดือนก่อนหน้าที่อยู่ที่ระดับ -17.8จุด และเป็นไปตามที่ตลาดคาดการณ์

ยูโรโซน

ดัชนี PMIPMIภาคอุตสาหกรรม (Caixin) เดือน ต.ค. 66 อยู่ที่ระดับ 49.5 จุด ปรับลดจากระดับ 50.6จุด ในเดือน ก.ย. 66กลับมาต่ากว่าระดับ 50.0จุด อีกครั้ง บ่งชี้การหดตัวของภาคอุตสาหกรรมจีน

ดัชนีผู้จัดการฝ่ายจัดซื้อ (S&P Global PMI) ภาคการผลิต เดือน ต.ค. 66 อยู่ที่ระดับ 55.5 ซึ่งเป็นระดับที่ต่าสุดนับจาก ก.พ. 66แต่ยังคงสะท้อนการขยายตัวของกิจกรรมโรงงานต่อเนื่องเป็นเดือนที่ 28

อินเดีย

ดัชนีผู้จัดการฝ่ายจัดซื้อ (S&P Global/CIPS PMI) ภาคการผลิต เดือน ต.ค. 66 อยู่ที่ระดับ 44.8 สะท้อนการลดลงของการผลิตต่อเนื่องเป็นเดือนที่ 8

ยอดค้าปลีก เดือน ก.ย. 66 ขยายตัวที่ร้อยละ 2.0 จากช่วงเดียวกันองปีก่อน เร่งขึ้นจากเดือนก่อนหน้าที่ขยายตัวที่ร้อยละ 1.6จากช่วงเดียวกันของปีก่อน

ดัชนีฯ PMIPMIภาคอุตสาหกรรม เดือน ต.ค. 66 อยู่ที่ระดับ 48.2 จุด ลดลงเล็กน้อยจากเดือนก่อนหน้าที่อยู่ที่ระดับ 48.7จุด

ดัชนีฯ PMIPMIภาคบริการ เดือน ต.ค. 66 อยู่ที่ระดับ 47.9 จุด ลดลงจากเดือนก่อนหน้าที่อยู่ที่ระดับ 51.8จุด

มูลค่าส่งออก เดือน ก.ย. 66 หดตัวที่ร้อยละ -14.7 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน หดตัวเร่งขึ้นจากเดือนก่อนหน้าที่หดตัวที่ร้อยละ -7.7จากช่วงเดียวกันของปีก่อน

มูลค่านาเข้า เดือน ก.ย. 66 หดตัวที่ร้อยละ -1.7 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน หดตัวชะลอลงจากเดือนก่อนหน้าที่หดตัวที่ร้อยละ -5.5จากช่วงเดียวกันของปีก่อน

ดุลการค้า เดือน ก.ย. 66 เกินดุลที่ระดับ 6.77 พันล้านดอลลาร์ออสเตรเลีย เกินดุลลดลงจากเดือนก่อนหน้าที่ระดับ 8.74พันล้านดอลลาร์ออสเตรเลีย

ออสเตรเลีย

อัตราเงินเฟ้อ เดือน ต.ค. 66 อยู่ที่ร้อยละ 2.56 ต่อปี เพิ่มขึ้นจากเดือนก่อนหน้าที่อยู่ที่ร้อยละ 2.28ต่อปี

ดัชนีฯ PMIPMIภาคอุตสาหกรรม เดือน ต.ค. 66 อยู่ที่ระดับ 51.5 จุด ลดลงจากเดือนก่อนหน้าที่อยู่ที่ระดับ 52.3จุด

GDPไตรมาสที่ 3 ปี 66 (เบื้องต้น) ขยายตัวที่ร้อยละ 2.3 จากช่วงเดียวกันของปีก่อนขยายตัวเร่งขึ้นจากเดือนก่อนหน้าที่ขยายตัวที่ร้อยละ 1.44และสูงกว่าคาดการณ์ของตลาด อันเนื่องจากการค้าระหว่างประเทศที่เกินดุลเพิ่มขึ้น และการส่งออกที่หดตัวชะลอลง

ดัชนี PMI ภาคอุตสาหกรรมเดือน ต.ค. อยู่ที่ระดับ 47.6 จุด เพิ่มขึ้นจากเดือนก่อนหน้าที่ระดับ 46.4 ถือเป็นระดับที่สูงที่สุดนับตั้งแต่ มี.ค. 66 แต่อย่างไรก็ตาม ตัวเลขยังคงแสดงถึงการหดตัวของภาคอุตสาหกรรมต่อเนื่องเป็นเดือนที่ 18อันเนื่องจากผลผลิตภาคอุตสาหกรรม คาสั่งซื้อใหม่ และกิจกรรมการจัดซื้อที่มีแนวโน้มการหดตัวที่ลดลง

ไต้หวัน

ผลผลิตภาคอุตสาหกรรม (Industrial Production) เดือน ก.ย. 66 ขยายตัวร้อยละ 0.3 จากปีก่อนหน้า นับเป็นเดือนแรกที่มีการขยายตัวนับจาก ก.ย. 65เป็นต้นมา ทั้งนี้ หากเทียบกับเดือนก่อนหน้า (ขจัดผลทางฤดูกาลแล้ว) จะขยายตัวร้อยละ 1.8ต่อเดือน

ดุลการค้า เดือน ต.ค.66 เกินดุล 1.64 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ ซึ่งเป็นการเกินดุลต่อเนื่องเป็น 5จากขยายตัวของภาคการส่งออกที่ร้อยละ 5.1ขณะที่การนาเข้าหดตัวร้อยละ -9.7(หดตัวต่อเนื่องเป็นเดือนที่ 9)

ดัชนีผู้จัดการฝ่ายจัดซื้อ (S&P Global PMI) ภาคการผลิต เดือน ต.ค. 66 อยู่ที่ระดับ 49.8 ลดลงเล็กน้อยจากระดับ 49.9ในเดือนก่อนหน้า

อัตราเงินเฟ้อ ณ เดือน ต.ค. 66 อยู่ที่ร้อยละ 3.8 ต่อปี (หรือร้อยละ 0.3จากเดือนก่อนหน้า) เพิ่มขึ้นต่อเนื่องเป็นเดือนที่ 3จากการเพิ่มขึ้นของต้นทุนอาหารและพลังงาน

เกาหลีใต้

ธนาคารกลางของมาเลเซียมีมติคงอัตราดอกเบี้ยนโยบายไว้ที่ร้อยละ 3 ซึ่งสอดคล้องกับการคาดการณ์ของตลาด เพื่อสนับสนุนการเติบโตของเศรษฐกิจและสอดคล้องกับการประมาณการณ์อัตราเงินเฟ้อและแนวโน้มการเจริญเติบโตของเศรษฐกิจ

ดัชนี PMIPMIภาคอุตสาหกรรมเดือน ต.ค. อยู่ที่ระดับ 46.8 จุด ไม่เปลี่ยนแปลงจากเดือนก่อนหน้า ถือเป็นระดับที่ต่าที่สุดตั้งแต่เดือน ก.พ. 66 และแสดงถึงการหดตัวของภาคอุตสาหกรรมต่อเนื่องเป็นเดือนที่ 14 อันเนื่องจากการลดลงของคาสั่งซื้อใหม่ การจ้างงานที่ลดลง และระดับ backlog ที่ต่าที่สุดเป็นประวัติการณ์

มาเลเซีย

ความเชื่อมั่นทางธุรกิจสาหรับภาคการผลิตอยู่ที่ระดับ 7 ในไตรมาสที่ 3 ปี 66 เพิ่มขึ้นจากระดับ 6ในไตรมาสก่อนหน้า นับเป็นระดับที่แข็งแรงสุดนับจากไตรมาสที่ 1ปี 65

ดัชนีผู้จัดการฝ่ายจัดซื้อ (S&P Global) ของภาคเอกชน เดือน ต.ค. 66 อยู่ที่ระดับ 53.7 สะท้อนการขยายตัวต่อเนื่องเป็นเดือนที่ 8ของกิจกรรมภาคเอกชน

ผลผลิตภาคอุตสาหกรรม เดือน ต.ค. 66 ขยายตัวร้อยละ 4.1 จากช่วงเดียวกันปีก่อน เร่งขึ้นจากเดือนก่อนหน้าที่ขยายตัวร้อยละ 2.9จากช่วงเดียวกันปีก่อน นับเป็นการขยายตัวเป็นเดือนที่ 6ติดต่อกัน

อัตราเงินเฟ้อ เดือน ต.ค. 66 อยู่ที่ร้อยละ 3.6 จากช่วงเดียวกันปีก่อน ชะลอลงจากเดือนก่อนหน้าที่ขยายตัวร้อยละ 3.7จากช่วงเดียวกันปีก่อน

ยอดค้าปลีก เดือน ต.ค. 66 ขยายตัวร้อยละ 7.0 จากช่วงเดียวกันปีก่อน ชะลอลงจากเดือนก่อนหน้าที่ขยายตัวร้อยละ 7.5จากช่วงเดียวกันปีก่อน

มูลค่าการส่งออก เดือน ต.ค. 66 ขยายตัวร้อยละ 5.9 จากช่วงเดียวกันปีก่อน เร่งขึ้นจากเดือนก่อนหน้าที่ขยายตัวร้อยละ 2.1จากช่วงเดียวกันปีก่อน

มูลค่าการนาเข้า เดือน ต.ค. 66 ขยายตัวร้อยละ 5.2 จากช่วงเดียวกันปีก่อน เร่งขึ้นจากเดือนก่อนหน้าที่ขยายตัวร้อยละ 0.3จากช่วงเดียวกันปีก่อน

ดุลการค้า เดือน ต.ค. 66 เกินดุลที่ 3 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ เพิ่มขึ้นจากเดือนก่อนหน้าที่เกินดุล 2.2พันล้านดอลลาร์สหรัฐ

ดัชนี PMIPMIภาคอุตสาหกรรม เดือน ต.ค. 66 อยู่ที่ระดับ 49.6 จุด ลดลงจากเดือนก่อนหน้าที่อยู่ที่ระดับ 49.7จุด และเป็นระดับต่ากว่า 50.0จุด เป็นเดือนที่ 2ติดต่อกัน บ่งชี้การหดตัวของภาคบริการ

เครื่องชี้ตลาดเงิน ตลาดอัตราแลกเปลี่ยน

ดัชนี SETSETปรับตัวเพิ่มขึ้นจากสัปดาห์ก่อน สอดคล้องกับตลาดหลักทรัพย์อื่นๆ ในภูมิภาคที่ปรับตัวเพิ่มขึ้นจากสัปดาห์ก่อน เช่นNikkei 225225(ญี่ปุ่น) Hang HengHeng(ฮ่องกง) และ ShanghaiShanghai(จีน) เป็นต้น เมื่อวันที่ 2พ.ย. 666ดัชนีปิดที่ระดับ 1,41,403 99จุด ด้วยมูลค่าซื้อขายเฉลี่ยระหว่างวันที่ 3030ต.ค. 66 ถึง 2พ.ย. 6666อยู่ที่39,189.1739,189.17ล้านบาทต่อวันโดยนักลงทุนทั่วไปในประเทศ นักลงทุนบัญชีบริษัทหลักทรัพย์ และนักลงทุนต่างชาติเป็นผู้ขายสุทธิ ขณะที่นักลงทุนสถาบันในประเทศเป็นผู้ซื้อสุทธิ ทั้งนี้ระหว่างวันที่ 30 ต.ค. 66ถึง 2พ.ย. 66 นักลงทุนต่างชาติ ขายหลักทรัพย์สุทธิ 2 595.88 ล้านบาท

อัตราผลตอบแทนพันธบัตรรัฐบาลอายุ 11เดือน ถึง 20 ปี ปรับตัวลดลงในช่วง 2 ถึง 11 bpsbpsโดยในสัปดาห์นี้นักลงทุนมีการประมูลพันธบัตรรัฐบาลอายุ 32 ปี ซึ่งมีนักลงทุนสนใจ 1.34 เท่าของวงเงินประมูล ทั้งนี้ ระหว่างวันที่30ต.ค. 66ถึง 2พ.ย. 66กระแสเงินทุนของนักลงทุนต่างชาติ ไหลออกจากตลาดพันธบัตรสุทธิ -946.67ล้านบาท และหากนับจากต้นปีจนถึงวันที่2 พ.ย.6666กระแสเงินทุนของนักลงทุนต่างชาติ ไหลออกจากตลาดพันธบัตรสุทธิ

137,226.98137,226.98ล้านบาท

เงินบาทแข็งค่าขึ้นจากสัปดาห์ก่อน โดย ณ วันที่2 พ.ย. 666เงินบาทปิดที่ 36.36.01บาทต่อดอลลาร์สหรัฐ แข็งค่าขึ้นร้อยละ 0.93จากสัปดาห์ก่อนหน้า สอดคล้องกับเงินสกุลอื่น ๆ ในภูมิภาค อาทิ เงินสกุลเยน ยูโร ริงกิตดอลลาร์ไต้หวัน และดอลลาร์สิงคโปร์ ที่ปรับตัวแข็งค่าขึ้นจากสัปดาห์ก่อนหน้า เมื่อเทียบกับดอลลาร์สหรัฐ ขณะที่เงินสกุลเปโซ วอน และหยวนที่ปรับตัวอ่อนคงลงจากสัปดาห์ก่อนหน้า เมื่อเทียบกับดอลลาร์สหรัฐทั้งนี้ เงินบาทแข็งค่ามากกว่าเงินสกุลอื่น ๆ ในภูมิภาคส่งผลให้ดัชนีค่าเงินบาท (NEERNEER) อยู่ที่ร้อยละ 0. 63

ที่มา: สำนักงานเศรษฐกิจการคลัง กระทรวงการคลัง


เว็บไซต์นี้มีการใช้งานคุกกี้ ศึกษารายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และ ข้อตกลงการใช้บริการ รับทราบ