รายงานภาวะเศรษฐกิจรายสัปดาห์ (Weekly) ณ 17 พ.ย. 66

ข่าวเศรษฐกิจ Monday November 20, 2023 14:41 —กระทรวงการคลัง

เศรษฐกิจไทย

ดัชนีความเชื่อมั่นภาคอุตสาหกรรม (TISI) เดือน ต.ค. 66 ลดลงอยู่ที่ระดับ 88.4

? ดัชนีความเชื่อมั่นของผู้บริโภคในเดือน ต.ค. 66 เพิ่มขึ้นมาอยู่ที่ระดับ 60.2

? ภาษีมูลค่าเพิ่มที่รัฐบาลจัดเก็บได้ ณ ระดับราคาคงที่ในเดือน ต.ค. 66 ขยายตัวที่ร้อยละ

5.2 ต่อปี

? ภาษีจากการทาธุรกรรมอสังหาริมทรัพย์ในเดือน ต.ค. 66 ขยายตัวร้อยละ 9.0 ต่อปี

เศรษฐกิจไทย

เศรษฐกิจต่างประเทศ

? GDP ยูโรโซน ไตรมาส 3 ปี 66 ขยายตัวร้อยละ 0.1 จากช่วงเดียวกันปีก่อน

? GDP ญี่ปุ่น ไตรมาส 3 ปี 66 ขยายตัวร้อยละ 1.2 จากช่วงเดียวกันปีก่อน

? GDP มาเลเซีย ไตรมาส 3 ปี 66 ขยายตัวร้อยละ 3.3 จากช่วงเดียวกันปีก่อน

เครื่องชี้เศรษฐกิจไทย

ดัชนีความเชื่อมั่นภาคอุตสาหกรรม (TISI) เดือน ต.ค. 66 ลดลงมาอยู่ที่ระดับ 88.4 จากระดับ 90.0ในเดือนก่อนหน้า

ดัชนี TISITISIเดือน ต.ค. 6666ลดลงติดต่อกันเป็นเดือนที่ 4 และลดลงต่าสุดในรอบ 16 เดือน โดยลดลงในเกือบทุกองค์ประกอบของดัชนี ยกเว้นต้นทุนประกอบการที่ปรับตัวดีขึ้น จากการที่ภาครัฐออกมาตรการลดค่าไฟฟ้าและราคาน้ามันลง สาหรับปัจจัยที่ส่งผลกระทบต่อความเชื่อมั่นฯ เดือนนี้ มาจากภาวะเศรษฐกิจในประเทศที่ฟื้นตัวช้าลง จากกาลังซื้อของผู้บริโภคที่ลดลง ส่งผลให้หมวดสินค้าแฟชั่น วัสดุก่อสร้าง เครื่องจักรกล เครื่องใช้ฟ้า เป็นต้น มีความต้องการลดลง ประกอบกับมีการแข่งขันด้านราคาสูง สาหรับดัชนีฯ คาดการณ์ 3 เดือนข้างหน้า เดือน ต.ค. 66 อยู่ที่ระดับ 94.5 จากระดับ 97.3 ในเดือนก่อน โดยมีปัจจัยที่ส่งผลกระทบจากความกังวลต่อความไม่แน่นอนของเศรษฐกิจไทยและเศรษฐกิจโลก และปัญหาความขัดแย้งในหลายภูมิภาค

ดัชนีความเชื่อมั่นของผู้บริโภคในเดือน ต.ค. 66 ปรับตัวเพิ่มขึ้นมาอยู่ที่ระดับ 60.2 จากระดับ 58.7 ในเดือนก่อน โดยเป็นการปรับเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่องเป็นเดือนที่ 3

ความเชื่อมั่นผู้บริโภคได้รับปัจจัยสนับสนุนจากการดาเนินมาตรการกระตุ้นเศรษฐกิจของภาครัฐ โดยเฉพาะการปรับลดค่าไฟฟ้าและราคาน้ามัน รวมถึงมาตรการยกเว้นวีซ่านักท่องเที่ยว ส่งผลให้ช่วยบรรเทาค่าครองชีพของประชาชนและส่งเสริมการขยายตัวของเศรษฐกิจ ประกอบกับจานวนนักท่องเที่ยวต่างชาติที่เดินทางเข้ามาท่องเที่ยวในประเทศไทยเพิ่มขึ้นต่อเนื่อง ขณะที่ราคาสินค้าเกษตรหลายรายการปรับตัวดีขึ้นส่งผลให้เกษตรกรที่มีรายได้เพิ่มขึ้น เป็นผลให้กาลังซื้อของประชาชนในเกือบทุกภูมิภาคปรับตัวดีขึ้นเช่นกัน แต่อย่างไรก็ดี สถานการณ์เศรษฐกิจโลกที่ชะลอตัว ภาวะสงครามในตะวันออกกลาง และการปรับขึ้นอัตราดอกเบี้ย ยังเป็นปัจจัยกดดันการบริโภคของประชาชนภายในประเทศต่อไป

ภาษีมูลค่าเพิ่มที่รัฐบาลจัดเก็บได้ ณ ระดับราคาคงที่ในเดือน ต.ค. 66ขยายตัวที่ร้อยละ 5.2ต่อปี และขยายตัวเพิ่มขึ้นเมื่อเทียบกับเดือนก่อนหน้าหลังขจัดผลทางฤดูกาล ที่ร้อยละ 5.2

เมื่อพิจารณาในรายละเอียดพบว่า ภาษีมูลค่าเพิ่มที่จัดเก็บจากการใช้จ่ายภายในประเทศ ขยายตัวที่ร้อยละ 8.3 (%YoY) โดยได้รับปัจจัยสนับสนุนจากการบริโภคภายในประเทศที่ยังคงขยายตัวต่อเนื่อง ประกอบกับความเชื่อมั่นผู้บริโภคที่ปรับตัวดีขึ้นฉายภาพของการบริโภคของประชาชนที่ยังคงมีแข็งแกร่ง ในขณะที่ภาษีมูลค่าเพิ่มที่จัดเก็บจากการนาเข้ากลับมาขยายตัวที่ร้อยละ 1.4 (%YoY) ปรับตัวดีขึ้นจากเดือนก่อนหน้า โดยมีปัจจัยสนับสนุนจากภาคการนาเข้าสินค้าที่มีแนวโน้มปรับตัวดีขึ้น ส่งผลให้ภาษีมูลค่าเพิ่มที่รัฐบาลจัดเก็บได้มีแนวโน้มปรับตัวเพิ่มขึ้น

ภาษีจากการทาธุรกรรมอสังหาริมทรัพย์ในเดือน ต.ค. 66 ขยายตัวที่ร้อยละ9.09.0เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน และเพิ่มขึ้นร้อยละ 2.62.6เมื่อเทียบกับเดือนก่อนหน้าหลังขจัดผลทางฤดูกาล

การจัดเก็บภาษีจากการทาธุรกรรมอสังหาริมทรัพย์ในเดือน ต.ค.66 กลับมาขยายตัวจากช่วงเดือนเดียวกันของปีก่อน มีปัจจัยมาจากภาคการท่องเที่ยวของนักท่องเที่ยวต่างชาติที่เพิ่มมากขึ้น รวมทั้งการจัดตั้งของรัฐบาลใหม่ส่งผลให้ความเชื่อมั่นของผู้บริโภคปรับเพิ่มขึ้น แต่ขณะเดียวกันอัตราดอกเบี้ยที่อยู่ในทิศทางขาขึ้น และหนี้ครัวเรือนที่อยู่ในระดับสูง ทาให้สถาบันการเงินมีความเข้มงวดในการปล่อยสินเชื่อที่อยู่อาศัย

เครื่องชี้เศรษฐกิจต่างประเทศ

อัตราเงินเฟ้อ เดือน ต.ค. 66 อยู่ที่ร้อยละ 3.2 ต่อปี ลดลงจากเดือนก่อนหน้าทั้งในเดือน ก.ย. 66 และ ส.ค.66 ที่ร้อยละ 3.7 ต่อปี และต่ากว่าที่ตลาดคาดการณ์ไว้ที่ร้อยละ 3.3 ต่อปี และต่ากว่าการคาดการณ์ของตลาดที่ร้อยละ 3.3โดยเป็นผลจากต้นทุนพลังงานลดลงร้อยละ 4.5(เทียบกับร้อยละ -0.5ในเดือน ก.ย. 66) นอกจากนี้ ราคาอาหาร ที่พักพิง และยานพาหนะใหม่ ยังเพิ่มขึ้นในอัตราที่ลดลงที่ร้อยละ 3.3(จากร้อยละ 3.7) ที่ร้อยละ 6.7(จากร้อยละ 7.2) และที่ร้อยละ 1.9(จากร้อยละ 2.5) ตามลาดับ อย่างไรก็ดี ราคาเครื่องแต่งกาย สินค้าโภคภัณฑ์การรักษาพยาบาล และบริการขนส่ง เพิ่มขึ้นในอัตราที่เร็วขึ้น

จานวนผู้ขอรับสวัสดิการว่างงานครั้งแรกรายสัปดาห์ (29 ต.ค. 4 พ.ย. 66) อยู่ที่ 2.17 แสนราย คงที่จากสัปดาห์ก่อนหน้าที่ระดับ 2.17 แสนราย และต่ากว่าที่ตลาดคาดการณ์ไว้ที่ 2.18 แสนราย ทั้งนี้ จานวนผู้ขอรับสวัสดิการว่างงานเฉลี่ย 4 สัปดาห์ (four week moving average)

ซึ่งขจัดความผันผวนรายสัปดาห์แล้ว เพิ่มขึ้นจากสัปดาห์ก่อนหน้ามาเล็กน้อยอยู่ที่ 2.12แสนราย

ดัชนีฯ PMI ภาคบริการ (ISM) เดือน ต.ค. 66 อยู่ที่ระดับ 51.8 จุด ลดลงจากเดือนก่อนหน้าที่ระดับ 53.6จุด ซึ่งต่ากว่าการคาดการณ์ของตลาดอย่างมาก ที่ 53จุด เป็นผลจากมีการเพิ่มขึ้นที่ช้าลงของกิจกรรมทางธุรกิจ/การผลิต) และการจ้างงาน และมีการหดตัวของสินค้าคงคลัง และคาสั่งซื้อส่งออกใหม่ อย่างไรก็ดี คาสั่งซื้อใหม่มีการเติบโตเร็วขึ้น

ยอดค้าปลีก เดือน ต.ค. 66 ขยายตัวจากเดือนก่อนหน้าที่ร้อยละ 2.7 จากช่วงเดียวกันปีก่อน

สหรัฐอเมริกา

GDP

GDPไตรมาสที่ 3 ปี 66 (ตัวเลขปรับปรุงครั้งที่ 2) ขยายตัวร้อยละ 0.1 จากช่วงเดียวกันปีก่อน ชะลอลงจากปี 65ที่ขยายตัวร้อยละ 0.5นับเป็นการขยายตัวอ่อนแอที่สุดนับตั้งแต่การหดตัวของเศรษฐกิจในปี 66

ผลผลิตภาคอุตสาหกรรม เดือน ก.ย. 66 หดตัวร้อยละ 6.9 จากช่วงเดียวกันปีก่อน หดตัวต่อเนื่องจากเดือนก่อนหน้าที่หดตัวร้อยละ 5.1จากช่วงเดียวกันปีก่อน และนับเป็นการหดตัวต่อเนื่องเป็นเดือนที่ 7ติดต่อกัน

มูลค่าการส่งออก เดือน ก.ย. 66 หดตัวร้อยละ -9.4 จากช่วงเดียวกันปีก่อน จากเดือนก่อนหน้าที่ร้อยละ -4.4

มูลค่าการนาเข้า เดือน ก.ย. 66 หดตัวร้อยละ -23.9 จากช่วงเดียวกันปีก่อน จากเดือนก่อนหน้าที่หดตัวร้อยละ -24.6

ดุลการค้า เดือน ก.ย. 66 เกินดุลที่ 9.97 พันล้านยูโร ลดลงจากเดือนก่อนหน้าที่เกินดุล 11.15พันล้านยูโร

ผลผลิตภาคอุตสาหกรรม เดือน ต.ค. 66 ขยายตัวร้อยละ 4.6 จากช่วงเดียวกันปีก่อน ขยายตัวต่อเนื่องจากเดือนก่อนหน้าที่ขยายตัวร้อยละ 4.5จากช่วงเดียวกันปีก่อน และสูงกว่าที่ตลาดคาดการณ์ที่ร้อยละ 4.4

ยอดค้าปลีก เดือน ต.ค. 66 ขยายตัวร้อยละ 7.6 จากช่วงเดียวกันปีก่อน เร่งขึ้นจากเดือนก่อนหน้าที่ขยายตัวร้อยละ 5.5จากช่วงเดียวกันปีก่อน และสูงกว่าที่ตลาดคาดการ์ที่ร้อยละ 7.0

อัตราการว่างงาน เดือน ต.ค. 66 อยู่ที่ร้อยละ 5.0 ของกาลังแรงงานรวม ไม่เปลี่ยนแปลงจากเดือนก่อนหน้า

จีน

GDP

GDPไตรมาส 3ขยายตัวร้อยละ 1.2ต่อปี หรือร้อยละ 0.5เมื่อเทียบกับไตรมาสก่อนหน้า ส่งผลให้ 3 ไตรมาสแรกของปี 66 ขยายตัวร้อยละ 1.7 ต่อปี

การสั่งซื้อเครื่องมือกล (Machine Tool Orders) เดือน ต.ค. 66 หดตัวร้อยละ -20.6 ต่อปี เป็นการหดตัวมากที่สุดนับจาก มิ.ย.66เนื่องจากอุปสงค์ทั้งในและต่างประเทศที่หดตัวลง

ผลผลิตภาคอุตสาหกรรม (Industrial Production) (Final) เดือน ก.ย. 66 หดตัวลงร้อยละ -4.6 ต่อปี หดตัวต่อเนื่องเป็นเดือนที่ 3ทั้งนี้ เมื่อเทียบกับเดือนก่อนหน้าจะขยายตัวร้อยละ 0.5

ดุลการค้า เดือน ต.ค. 66 ขาดดุล 662.55 พันล้านเยน โดยการส่งออกขยายตัวร้อยละ 1.6ต่อปี จากปัจจัยการเพิ่มขึ้นของอุปสงค์ของสหรัฐ เป็นสาคัญ ขณะที่การนาเข้าหดตัวร้อยละ -12.5ต่อปี (หดตัวต่อเนื่องเป็นเดือนที่ 7)

คาสั่งซื้อเครื่องจักรหลัก (ไม่รวมเครื่องจักรสาหรับเรือและบริษัทพลังงานไฟฟ้า) เดือน ก.ย. 66 หดตัวร้อยละ -2.2ต่อปี อย่างไรก็ดี เมื่อเทียบกับเดือนก่อนหน้า จะขยายตัวร้อยละ 1.4จากปัจจัยการเพิ่มขึ้นของการลงทุนภาคเอกชน เป็นสาคัญ

การส่งออกสินค้า (ไม่รวมน้ามัน) เดือน ต.ค. 66 หดตัวร้อยละ -3.4 ต่อปี ซึ่งเป็นการหดตัวต่อเนื่องเป็นเดือนที่ 13อย่างไรก็ดี เมื่อพิจารณาเทียบกับเดือนก่อนหน้าจะขยายตัวที่ร้อยละ 3.4

สิงคโปร์

GDP

ไตรมาสที่ 3 ปี 66 ขยายตัวที่ร้อยละ 3.3 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน ขยายตัวเร่งขึ้นจากไตรมาสก่อนหน้าที่ขยายตัวที่ร้อยละ 2.9 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน หรือคิดเป็นการขยายตัวที่ร้อยละ 2.6เมื่อเทียบกับไตรมาสก่อนหน้าหลังจากขจัดผลทางฤดูกาลแล้ว อย่างไรก็ดี ขยายตัวสูงกว่าที่คาดการณ์ไว้ที่ร้อยละ 3.0

เครื่องชี้เศรษฐกิจต่างประเทศ

อัตราการว่างงาน ในช่วงไตรมาสที่ 3ปี 66อยู่ที่ร้อยละ 4.2เท่ากับช่วงไตรมาสก่อนหน้า

อัตราเงินเฟ้อทั่วไป เดือน ต.ค. 66 อยู่ที่ร้อยละ 4.6 ต่อปี ลดลงจากร้อยละ 6.7ในเดือนก่อนหน้า และเป็นอัตราเงินเฟ้อที่ต่าสุดนับจาก ส.ค. 64เป็นต้นมา จากปัจจัยการลดลงของราคาพลังงาน เป็นสาคัญ ขณะทีอัตราเงินเฟ้อพื้นฐานในเดือนเดียวกัน อยู่ที่ร้อยละ 5.7ต่อปี

อัตราการว่างงาน (ปรับฤดูกาลแล้ว) เดือน ต.ค. 66 อยู่ที่ร้อยละ 2.5 ลดลงจากร้อยละ 2.6ในเดือนก่อนหน้า

ยอดขายรถยนต์ในตลาดอินเดีย (Passenger vehicle sales) เดือน ต.ค. 66ขยายตัวร้อยละ 17.3 ต่อปี ขยายตัวอย่างมากเมื่อเทียบกับเดือนก่อนหน้าที่ขยายตัวร้อยละ 3.1 ต่อปี เนื่องจากได้รับการสนับสนุนจากนโยบายที่เอื้ออานวยของภาครัฐและช่วงเทศกาลที่กาลังดาเนินอยู่

อัตราเงินเฟ้อ เดือน ต.ค. 66 อยู่ที่ร้อยละ 4.99ต่อปี ต่าสุดในรอบ 4เดือน

ดุลการค้า เดือน ต.ค.66 ขาดดุล -31.5 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ ขาดดุลมากสุดเป็นประวัติศาสตร์ โดยการส่งออกขยายตัวร้อยละ 6.2ต่อปี ขณะที่การนาเข้าขยายตัวร้อยละ 12.3ต่อปี จากปัจจัยการนาเข้าน้ามัน เป็นสาคัญ

มูลค่าการส่งออก เดือน ต.ค. 66หดตัวที่ร้อยละ -10.4จากช่วงเดียวกันของปีก่อน หดตัวชะลอลงจากเดือนก่อนหน้าที่หดตัวที่ร้อยละ -16.33จากช่วงเดียวกันของปีก่อน

มูลค่าการนาเข้า เดือน ต.ค. 66 หดตัวที่ร้อยละ -2.4 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน หดตัวชะลอลงจากเดือนก่อนหน้าที่หดตัวที่ร้อยละ -12.55จากช่วงเดียวกันของปีก่อน

ดุลการค้า เดือน ต.ค. 66 เกินดุลที่ระดับ 3.55พันล้านดอลลาร์สหรัฐ เพิ่มขึ้นจากเดือนก่อนหน้าที่ระดับ 3.4พันล้านดอลลาร์สหรัฐ

อัตราการว่างงาน เดือน ต.ค. 66 อยู่ที่ร้อยละ 3.7 ของกาลังแรงงานรวม เพิ่มขึ้นจากเดือนก่อนหน้าที่อยู่ที่ร้อยละ 3.6ของกาลังแรงงานรวม

เครื่องชี้ตลาดเงิน ตลาดอัตราแลกเปลี่ยน

ดัชนี SETSETปรับตัวลดลงจากสัปดาห์ก่อน สอดคล้องกับตลาดหลักทรัพย์อื่นๆ ในภูมิภาคที่ปรับตัวลดลงจากสัปดาห์ก่อน เช่นSTISTI(สิงคโปร์) และ ShanghaiShanghai(จีน) เป็นต้น เมื่อวันที่ 16พ.ย. 666ดัชนีปิดที่ระดับ 1,41,415 34จุด ด้วยมูลค่าซื้อขายเฉลี่ยระหว่างวันที่13 -16พ.ย. 6666อยู่ที่50 135.86ล้านบาทต่อวันโดยนักลงทุนทั่วไปในประเทศ และนักลงทุนสถาบันในประเทศ เป็นผู้ขายสุทธิ ขณะที่นักลงทุนต่างชาติ และนักลงทุนบัญชีบริษัทหลักทรัพย์ เป็นผู้ซื้อสุทธิ ทั้งนี้ระหว่างวันที่ 13 -16 พ.ย. 66 นักลงทุนต่างชาติ ซื้อหลักทรัพย์สุทธิ 1 887.46 ล้านบาท

อัตราผลตอบแทนพันธบัตรรัฐบาลอายุ 11เดือน ถึง 20 ปี ปรับตัวลดลงในช่วง 1 ถึง 11 bpsbpsโดยในสัปดาห์นี้นักลงทุนมีการประมูลพันธบัตรรัฐบาลอายุ 15ปี ซึ่งมีนักลงทุนสนใจ 3.3เท่าของวงเงินประมูล ทั้งนี้ ระหว่างวันที่13 -16 พ.ย. 66 กระแสเงินทุนของนักลงทุนต่างชาติ ไหลออกจากตลาดพันธบัตรสุทธิ -1 385.95ล้านบาท และหากนับจากต้นปีจนถึงวันที่16 พ.ย.6666กระแสเงินทุนของนักลงทุนต่างชาติ ไหลออกจากตลาดพันธบัตรสุทธิ 1127 007.12 ล้านบาท

เงินบาทอ่อนค่าลงจากสัปดาห์ก่อน โดย ณ วันที่16 พ.ย. 666เงินบาทปิดที่ 35.35.59บาทต่อดอลลาร์สหรัฐ อ่อนค่าลงร้อยละ -0.30จากสัปดาห์ก่อนหน้า สอดคล้องกับเงินสกุลอื่น ๆ ในภูมิภาค อาทิ เงินสกุลเยน และริงกิตที่ปรับตัวอ่อนค่าลงจากสัปดาห์ก่อนหน้า เมื่อเทียบกับดอลลาร์สหรัฐ ขณะที่เงินสกุลยูโร เปโซ วอน ดอลลาร์ไต้หวัน ดอลลาร์สิงคโปร์ และหยวนที่ปรับตัวแข็งค่าขึ้นจากสัปดาห์ก่อนหน้า เมื่อเทียบกับดอลลาร์สหรัฐทั้งนี้ เงินบาทอ่อนค่าน้อยกว่าเงินสกุลอื่น ๆ ในภูมิภาคส่งผลให้ดัชนีค่าเงินบาท (NEERNEER) อยู่ที่ร้อยละ -0.55

ที่มา: สำนักงานเศรษฐกิจการคลัง กระทรวงการคลัง


เว็บไซต์นี้มีการใช้งานคุกกี้ ศึกษารายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และ ข้อตกลงการใช้บริการ รับทราบ