รายงานภาวะเศรษฐกิจรายสัปดาห์ (Weekly) ณ 8 ธ.ค. 66

ข่าวเศรษฐกิจ Thursday December 14, 2023 10:43 —กระทรวงการคลัง

เศรษฐกิจไทย

อัตราเงินเฟ้อทั่วไปในเดือน พ.ย. 66 ลดลงที่ร้อยละ -0.4 ต่อปีและอัตราเงินเฟ้อพื้นฐาน

ขยายตัวร้อยละ 0.6 ต่อปี

? ดัชนีราคาวัสดุก่อสร้างในเดือน พ.ย. 66 ลดลงร้อยละ -0.3 ต่อปี

? ปริมาณรถจักรยานยนต์จดทะเบียนใหม่ในเดือน พ.ย. 66 หดตัวที่ร้อยละ -3.6 ต่อปี

เศรษฐกิจไทย

เศรษฐกิจต่างประเทศ

? GDP ยูโรโซน ไตรมาส 3 ปี 66 ขยายตัวร้อยละ 0.0 จากช่วงเดียวกันปีก่อน

? GDP ญี่ปุ่น ไตรมาส 3 ปี 66 ขยายตัวร้อยละ 1.5 จากช่วงเดียวกันปีก่อน

? GDP เกาหลีใต้ ไตรมาส 3 ปี 66 ขยายตัวร้อยละ 1.4 จากช่วงเดียวกันปีก่อน

? GDP ออสเตรเลีย ไตรมาส 3 ปี 66 ขยายตัวร้อยละ 2.1 จากช่วงเดียวกันปีก่อน

ภาคการเงิน

? ระดับสินทรัพย์สภาพคล่องของธนาคารพาณิชย์ในเดือน ต.ค. 66 คิดเป็น 2.06 เท่าของ

สินทรัพย์สภาพคล่องที่ดารงตามกฎหม

เงินเฟ้อทั่วไปไทย เดือน พ.ย. 66 ลดลงร้อยละ -0.4 (YoY) เท่ากับที่ สศค. คาดการณ์ ณ เดือน พ.ย. 66ที่ร้อยละ -0.4 (YoY)

หากเทียบกับเดือนก่อนหน้าลดลงร้อยละ -0.3 (MoM) จากการลดลงของราคาสินค้าหมวดพลังงานเป็นหลัก (จากมาตรการช่วยเหลือค่าครองชีพของภาครัฐ อาทิ ลดค่ากระแสไฟฟ้า ควบคุมราคาน้ามันขายปลีกดีเซล น้ามันเบนซิน และแก๊สโซฮอล์มาตรการลดค่าโดยสารไฟฟ้า) รวมถึงราคาเนื้อสุกร ไก่สด และน้ามันพืช ที่ราคาลดลงจากช่วงปีก่อน สาหรับราคาสินค้าและบริการอื่น ๆ ยังคงเคลื่อนไหวในทิศทางปกติ อย่างไรก็ตาม มีสินค้าที่ราคาปรับขึ้น ได้แก่ ข้าว แป้งและผลิตภัณฑ์จากแป้ง นมข้นหวาน นมเปรี้ยว นมถั่วเหลือง กาแฟสาเร็จรูป กับข้าวสาเร็จรูป ปลาหมึก ซีอิ้ว และซอสหอยนางรม ผักและผลไม้สด เป็นต้น เมื่อดูองค์ประกอบของการเปลี่ยนแปลง (Contribution to Growth YoY) พบว่า หมวดยานพาหนะและน้ามันเชื้อเพลิง หมวดอาหารสด และหมวดเคหสถาน(ค่าไฟฟ้า) เป็นปัจจัยหลักที่ทาให้เงินเฟ้อลดลงที่ร้อยละ -0.5 , -0.2 และ -0.2 ขณะที่หมวดอาหารสาเร็จยังเป็นปัจจัยบวกที่ทาให้เงินเฟ้อเพิ่มขึ้นร้อยละ +0.2 เมื่อหักอาหารสดและพลังงานออกแล้วอัตราเงินเฟ้อพื้นฐานยังคงขยายตัว +0.58 (YoY)

และทรงตัวที่ +0.06 (MoM) เมื่อเทียบกับเดือนก่อนหน้า

Inflation Rate

Indicators

(%yoy)

2022

2023

ทั้งปี

Q1

Q

Q3

Oct

Nov

YTD

อัตราเงินเฟ้อทั่วไป

6.1

1.1

0.5

-

0.3 -0.4

1.4

อัตราเงินเฟ้อพื้นฐาน

2.5

1.5

0.8

0.7

0.6

1.3

ที่มา : กระทรวงพาณิชย์

ดัชนีราคาวัสดุก่อสร้างในเดือน พ.ย. 66 ลดลงร้อยละ 0.3 เทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน

ดัชนีราคาวัสดุก่อสร้างในเดือน พ.ย. 66 ลดลงร้อยละ 0.30.3เมื่อเทียบกับปีที่ผ่านมา โดยสาเหตุมาจากหมวดเหล็กและผลิตเหล็ก ลดลงร้อยละ 3.03.0จากปัญหาวิกฤตอสังหาริมทรัพย์ของจีน ทาให้มีอุปทานเหล็กส่วนเกินสูง และหมวดวัสดุก่อสร้างอื่นๆ ลดลงร้อยละ 2.12.1จากการลดลงของยางมะตอยที่ลดลงตามราคาปิโตรเลียม ขณะที่ดัชนีราคาหมวดอื่น ๆ สูงขึ้นเกือบทุกหมวด โดยเฉพาะหมวดไม้และผลิตภัณฑ์ไม้ สูงขึ้นร้อยละ 7.97.9เนื่องจากต้นทุนการผลิตที่สูงขึ้น นอกจากนี้ได้รับปัจจัยสนับสนุนจากการก่อสร้างโครงการของภาครัฐและโครงการอสังหาริมทรัพย์ของภาคเอกชน

Construction Materials Price Index : CMI

ปริมาณรถจักรยานยนต์จดทะเบียนใหม่ในเดือน พ.ย. 66 หดตัวที่ร้อยละ 3.63.6เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน และเมื่อเทียบกับเดือนก่อนหน้าหลังขจัดผลทางฤดูกาล หดตัวที่ร้อยละ 5.6

โดยยังคงได้รับปัจจัยหนุนจากการท่องเที่ยวยังเป็นสาคัญ ประกอบกับราคาสินค้าเกษตรหลายรายการปรับตัวดีขึ้น และอัตราเงินเฟ้อทรงตัวในระดับต่า ส่งผลให้แนวโน้มการบริโภคสินค้าคงทนยังคงมีแนวโน้มที่ดี แต่อย่างไรก็ดี ความเข้มงวดของสถาบันการเงินในการปล่อยสินเชื่อเช่าซื้อรถ และการปรับเพิ่มขึ้นของอัตราดอกเบี้ย ยังเป็นปัจจัยกดดันการบริโภคของประชาชนต่อไป

ระดับสินทรัพย์สภาพคล่องของธนาคารพาณิชย์ในเดือน ต.ค.666คิดเป็น 2.062.06เท่าของสินทรัพย์สภาพคล่องที่ดารงตามกฎหมาย

โดยยอดคงค้างสินทรัพย์สภาพคล่องของธนาคารพาณิชย์ทั้งระบบในเดือน ต.ค. 666อยู่ที่ 5.425.42ล้านล้านบาท ลดลงจากเดือนก่อนหน้า ทั้งนี้ ธปท. ได้ปรับเกณฑ์การดารงสินทรัพย์สภาพคล่องของธนาคารพาณิชย์จากเกณฑ์เดิมที่ต้องดารงสินทรัพย์สภาพคล่องไม่ต่ากว่าร้อยละ 6 ของเงินรับฝากเป็นไม่ต่ากว่าร้อยละ 100 (หรือ 1.0 เท่า) ของประมาณการกระแสเงินสดไหลออกสุทธิในสภาวะวิกฤต (Liquidity Coverage Ratio: LCR)

ตั้งแต่เดือน ม.ค. 59

ดัชนีฯ PMIPMIภาคบริการ (ISM) เดือน พ.ย. 66 อยู่ที่ระดับ 52.7 จุด เพิ่มขึ้นจากเดือนก่อนหน้าที่ 51.8 จุด ซึ่งสูงกว่าการคาดการณ์ของตลาดที่ 52 จุด เป็นผลจากการเติบโตที่แข็งแกร่งในภาคบริการ และกิจกรรมทางธุรกิจ/การผลิตที่เพิ่มขึ้นเร็วขึ้น และการจ้างงาน และมีการหดตัวของสินค้าคงคลัง และคาสั่งซื้อส่งออกใหม่ อย่างไรก็ดี คาสั่งซื้อใหม่ยังคงแข็งแกร่ง

จานวนผู้ขอรับสวัสดิการว่างงานครั้งแรกรายสัปดาห์ (26 พ.ย. 2 ธ.ค. 66) อยู่ที่ 2.20 แสนราย เพิ่มขึ้นจากสัปดาห์ก่อนหน้าเล็กน้อยที่ระดับ 2.19 แสนราย และต่ากว่าที่ตลาดคาดการณ์ไว้ที่ 2.25 แสนราย ทั้งนี้ จานวนผู้ขอรับสวัสดิการว่างงานเฉลี่ย 4 สัปดาห์ (four

week moving average) ซึ่งขจัดความผันผวนรายสัปดาห์แล้ว ลดลงจากสัปดาห์ก่อนหน้ามาเล็กน้อยอยู่ที่ 2.27แสนราย

ดัชนี PMIPMIภาคบริการ เดือน พ.ย. 66 อยู่ที่ระดับ 51.5 จุด เพิ่มขึ้นจากเดือนก่อนหน้าที่ระดับ 50.4จุด สูงกว่าระดับ 50.0จุด บ่งชี้การขยายตัวต่อเนื่องของภาคบริการเป็นเดือนที่ 11ติดต่อกัน

มูลค่าการส่งออก เดือน พ.ย. 66 ขยายตัวร้อยละ 0.5 จากช่วงเดียวกันปีก่อน กลับมาขยายตัวอีกครั้งหลังจากเดือนก่อนหน้าหดตัวที่ร้อยละ -6.4จากช่วงเดียวกันปีก่อน และสูงกว่าที่ตลาดคาดการณ์ว่าจะหดตัวที่ร้อยละ -1.1

มูลค่าการนาเข้า เดือน พ.ย. 66 หดตัวร้อยละ -0.6 จากช่วงเดียวกันปีก่อน จากเดือนก่อนหน้าที่ขยายตัวร้อยละ 3.0จากช่วงเดียวกันปีก่อน และต่ากว่าที่ตลาดคาดการณ์ว่าจะขยายตัวร้อยละ 3.3

ดุลการค้า เดือน พ.ย. 66 อยู่ที่ระดับ 68.29 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ เพิ่มขึ้นจากเดือนก่อนหน้าที่อยู่ที่ระดับ 56.53พันล้านดอลลาร์สหรัฐ

จีน

GDP

GDPไตรมาสที่ 3 ปี 66 (ปรับปรุงครั้งที่ 3) อยู่ที่ร้อยละ 0.0 จากช่วงเดียวกันปีก่อน และเมื่อขจัดผลของฤดูกาลแล้ว หดตัวร้อยละ -0.1

ยอดค้าปลีก เดือน ต.ค. 66 หดตัวร้อยละ 1.2 จากช่วงเดียวกันปีก่อน จากเดือนก่อนหน้าที่หดตัวร้อยละ -2.9จากช่วงเดียวกันปีก่อน

GDPไตรมาส 3 (final) ขยายตัวร้อยละ 1.5ต่อปี หรือร้อยละ 0.5เมื่อเทียบกับเดือนก่อนหน้า ส่งผลให้ 3ไตรมาสแรกของปี 66ขยายตัวร้อยละ 2.1ต่อปี

ดัชนีราคาผู้บริโภคพื้นฐานของโตเกียว (Tokyo Core CPI) เดือน พ.ย. 66 ขยายตัวร้อยละ 2.3 ต่อปี ชะลอลงจากเดือนก่อนหน้าที่ขยายตัวร้อยละ 2.7 ต่อปี อย่างไรก็ตาม Tokyo Core

CPI ซึ่งเป็นตัวบ่งชี้วัดสาคัญสาหรับแนวโน้มราคาทั่วประเทศ ยังคงเกินเป้าหมายร้อยละ 2.0 ของ BOJ เป็นเดือนที่ 18 ติดต่อกัน เนื่องจากแรงกดดันด้านเงินเฟ้อยังคงมีอยู่ ขณะที่BOJ ยังคงย้าถึงความจาเป็นที่จะต้องคงนโยบายการเงินที่ผ่อนคลายเป็นพิเศษ

ดัชนีผู้จัดการฝ่ายจัดซื้อ (Jibun Bank PMI) (final) ภาคบริการ เดือน พ.ย. 66 อยู่ที่ 50.8ลดลงจากเดือนก่อนหน้าที่อยู่ที่ 51.6บ่งชี้การเติบโตของภาคบริการที่อ่อนแอสุดนับจาก ธ.ค. 65เป็นต้นมา

GDPไตรมาสที่ 3 ปี 66 (Final) ขยายตัวร้อยละ 1.4 ต่อปี (หรือขยายตัวร้อยละ 1.0จากไตรมาสก่อนหน้า) ทั้งนี้ จากอัตราการขยายตัวดังกล่าว ส่งผลให้สามไตรมาสแรกของปี 66 GDP เกาหลีใต้ ขยายตัวร้อยละ 1.1ต่อปี

อัตราเงินเฟ้อ เดือน พ.ย. 66 อยู่ที่ร้อยละ 3.3 ต่อปี (หรือหดตัวร้อยละ -0.6จากเดือนก่อนหน้า) ต่าสุดนับจาก ก.ค. 66เป็นต้นมา จากการชะลอตัวของราคาอาหารสดและน้ามัน

ดุลบัญชีเดินสะพัด เดือน ต.ค.66 เกินดุล 6.8 พันล้านดอลลาร์สหรัฐใน ซึ่งยังคงเป็นบวกเป็นเดือนที่ 6ติดต่อกัน เนื่องจากการเกินดุลการค้า การขาดดุลการบริการที่ลดลง และรายได้เงินปันผลที่เพิ่มขึ้นจากในต่างประเทศ ขณะที่ บัญชีสินค้า เกินดุล 5.35พันล้านดอลลาร์ เนื่องจากการส่งออกเพิ่มขึ้นร้อยละ 7.6ต่อปี และการนาเข้าลดลงร้อยละ -4.3ต่อปี

เกาหลีใต้

ดัชนีผู้จัดการฝ่ายจัดซื้อ (S&P Global PMI) ภาคบริการ เดือน พ.ย. 66 อยู่ที่ 56.9สะท้อนการเติบโตที่อ่อนแอที่สุดในภาคธุรกิจนับตั้งแต่เดือน พ.ย. 65

อินเดีย

ดัชนีผู้จัดการฝ่ายจัดซื้อ (S&P Global) ของภาคเอกชน เดือน พ.ย. 66 อยู่ที่ระดับ 55.8สะท้อนการขยายตัวต่อเนื่องเป็นเดือนที่ 9ของกิจกรรมภาคเอกชน

ยอดค้าปลีก เดือน ต.ค. 66 หดตัวร้อยละ -0.1 ต่อปี (หรือหดตัวร้อยละ -0.8จากเดือนก่อนหน้า) ซึ่งเป็นการหดตัวครั้งแรกนับตั้งแต่ ม.ค. 66เป็นต้นมา

เครื่องชี้เศรษฐกิจต่างประเทศ

ที่มา: ฐานข้อมูล CEIC และ TradingeconomicsTradingeconomicsรวมรวบโดย สศค.

อัตราการว่างงาน เดือน ต.ค. 66 อยู่ที่ร้อยละ 3.4 ของกาลังแรงงานรวม ไม่เปลี่ยนแปลงจากเดือนก่อนหน้า ตัวเลขดังกล่าวเป็นตัวเลขที่ต่าที่สุดนับตั้งแต่ มี.ค. 6

มาเลเซีย

ยอดค้าปลีก เดือน พ.ย. 66 ขยายตัวร้อยละ 2.6 ต่อปี เท่ากับเดือนก่อหน้า เนื่องจากครัวเรือนยังคงชะลอการซื้อในช่วงก่อนถึงคริสต์มาส

ยอดจดทะเบียนรถยนต์ใหม่ เดือน พ.ย. 66 ขยายตัวร้อยละ 9.5 ต่อปี ที่ 156,525คัน ทั้งนี้ ยอดจดทะเบียนดังกล่าวเกือบจะกลับสู่ระดับก่อนการแพร่ระบาด

ดัชนีผู้จัดการฝ่ายจัดซื้อ (S&P Global/CIPS PMI) ภาคบริการ (final) เดือน พ.ย. 66อยู่ที่ 50.9 เพิ่มขึ้นระดับ 49.5ในเดือนก่อนหน้า บ่งชี้ถึงการขยายตัวของกิจกรรมภาคบริการเป็นครั้งแรกนับตั้งแต่เดือน ก.ค.66

สหราชอาณาจักร

อัตราเงินเฟ้อ เดือน พ.ย. 66 อยู่ที่ร้อยละ 2.90 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน ลดลงจากเดือนก่อนหน้าที่อยู่ที่ร้อยละ 3.05 อย่างไรก็ตาม ตัวเลขดังกล่าวสูงกว่าคาดการณ์ของตลาดที่อยู่ที่ร้อยละ 2.80ทั้งนี้ อัตราเงินเฟ้อลดลงอันเนื่องจากการลดลงของอัตราเงินเฟ้อในหมวดการคมนาคมและการสื่อสาร และหมวดเครื่องแต่งกาย เป็นสาคัญ

ไต้หวัน

GDP

GDPไตรมาสที่ 33ปี 6666ขยายตัวที่ร้อยละ 2.12.1ต่อปี หรือคิดเป็นการขยายตัวที่ร้อยละ 0.20.2จากไตรมาสก่อนหน้า (หลังขจัดผลทางฤดูกาลแล้ว) ซึ่งสูงกว่าที่ตลาดคาดการณ์ไว้ว่าจะขยายตัวที่ร้อยละ 1.7 ต่อปี และเป็นการขยายตัวในอัตราเดียวกับไตรมาส 2 แต่สาเหตุที่ทาให้ตัวเลข GDP ไตรมาส 3ขยายตัวรวดเร็วขึ้นเมื่อเทียบเป็นรายปีนั้น มาจากฐานการเปรียบเทียบที่ต่าในปี 2565

ธนาคารกลางออสเตรเลียมีมติคงอัตราดอกเบี้ยนโยบายไว้ที่ร้อยละ 4.35 ต่อปี

ดัชนีฯ PMIPMIภาคบริการ เดือน พ.ย. 6666อยู่ที่ระดับ 46.046.0จุด ลดลงจากเดือนก่อนหน้าที่อยู่ที่ระดับ 47.947.9จุด

ยอดค้าปลีก เดือน ต.ค. 6666ขยายตัวที่ร้อยละ 1.21.2จากช่วงเดียวกันของปีก่อน ขยายตัวชะลอลงที่ร้อยละ 2.02.0จากช่วงเดียวกันของปีก่อน

มูลค่าส่งออก เดือน ต.ค. 6666หดตัวที่ร้อยละ 11.411.4จากช่วงเดียวกันของปีก่อน หดตัวชะลอลงจากเดือนก่อนหน้าที่หดตัวที่ร้อยละ 15.415.4จากช่วงเดียวกันของปีก่อน

มูลค่านาเข้า เดือน ต.ค.66 ขยายตัวที่ร้อยละ 3.93.9จากช่วงเดียวกันของปีก่อน เร่งขึ้นจากเดือนก่อนหน้าที่หดตัวที่ร้อยละ 1.51.5จากช่วงเดียวกันของปีก่อน

เครื่องชี้ตลาดเงิน ตลาดอัตราแลกเปลี่ยน

ดัชนี SETSETปรับตัวลดลงจากสัปดาห์ก่อน สอดคล้องกับตลาดหลักทรัพย์อื่นๆ ในภูมิภาคที่ปรับตัวลดลงจากสัปดาห์ก่อน เช่นNikkei 225225(ญี่ปุ่น) TWSETWSE(ไต้หวัน) และ Heng SengSeng(ฮ่องกง) เป็นต้น เมื่อวันที่ 77ธ.ค. 666ดัชนีปิดที่ระดับ 1,378.731,378.73จุด ด้วยมูลค่าซื้อขายเฉลี่ยระหว่างวันที่44-77ธ.ค. 6666อยู่ที่38,610.9738,610.97ล้านบาทต่อวันโดยนักลงทุนทั่วไปในประเทศ และนักลงทุนสถาบันในประเทศเป็นผู้ซื้อสุทธิ ขณะที่นักลงทุนต่างชาติ และนักลงทุนบัญชีบริษัทหลักทรัพย์ เป็นผู้ขายสุทธิ ทั้งนี้ระหว่างวันที่ 44-77ธ.ค. 66 นักลงทุนต่างชาติ ขายหลักทรัพย์สุทธิ 3,459.183,459.18ล้านบาท

อัตราผลตอบแทนพันธบัตรรัฐบาลอายุ 11เดือน ถึง 20 ปี ส่วนใหญ่ปรับตัวลดลงในช่วง 1 ถึง 10 bpsbpsโดยในสัปดาห์นี้นักลงทุนมีการประมูลพันธบัตรรัฐบาลอายุ 66ปี และ 2626ปี ซึ่งมีนักลงทุนสนใจ 3.113.11และ 2.172.17เท่าของวงเงินประมูล ทั้งนี้ ระหว่างวันที่4 77ธ.ค. 66 กระแสเงินทุนของนักลงทุนต่างชาติ ไหลออกจากตลาดพันธบัตรสุทธิ

3,314.533,314.53ล้านบาท และหากนับจากต้นปีจนถึงวันที่77ธ.ค.6666กระแสเงินทุนของนักลงทุนต่างชาติ ไหลออกจากตลาดพันธบัตรสุทธิ

139,539.42139,539.42ล้านบาท

เงินบาทอ่อนค่าจากสัปดาห์ก่อน โดย ณ วันที่77ธ.ค.666เงินบาทปิดที่ 35.2835.28บาทต่อดอลลาร์สหรัฐ อ่อนค่าลงร้อยละ 0.920.92จากสัปดาห์ก่อนหน้า สอดคล้องกับเงินสกุลอื่น ๆ ในภูมิภาค อาทิ เงินสกุลยูโร ริงกิตวอน ดอลลาร์ไต้หวัน ดอลลาร์สิงคโปร์ และหยวนที่ปรับตัวอ่อนค่าจากสัปดาห์ก่อนหน้า เมื่อเทียบกับดอลลาร์สหรัฐ ขณะที่เงินสกุลเยน และเปโซปรับตัวแข็งค่าขึ้นจากสัปดาห์ก่อนหน้า เมื่อเทียบกับดอลลาร์สหรัฐ ทั้งนี้ เงินบาทอ่อนค่ามากกว่าเงินสกุลอื่น ๆ ส่วนใหญ่ในภูมิภาคส่งผลให้ดัชนีค่าเงินบาท (NEERNEER) อยู่ที่ร้อยละ 0.54

ที่มา: สำนักงานเศรษฐกิจการคลัง กระทรวงการคลัง


เว็บไซต์นี้มีการใช้งานคุกกี้ ศึกษารายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และ ข้อตกลงการใช้บริการ รับทราบ