ภาวะเศรษฐกิจการคลังภูมิภาคเดือนมีนาคม 2567

ข่าวเศรษฐกิจ Tuesday April 30, 2024 14:59 —กระทรวงการคลัง

ฉบับที่ 15/2567 วันที่ 29 เมษายน 2567

ภาวะเศรษฐกิจการคลังภูมิภาคเดือนมีนาคม 2567

เศรษฐกิจภูมิภาคในเดือนมีนาคม 2567 มีปัจจัยสนับสนุนจากการท่องเที่ยวที่ยังขยายตัวได้

ในทุกภูมิภาค และการจับจ่ายใช้สอยเพื่อการบริโภคของภาคเอกชนในบางภูมิภาค เช่น ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และภาคใต้ ในขณะที่การลงทุนชะลอตัวในหลายภูมิภาค

เช่น ภาคตะวันออก และ กทม. และปริมณฑล

นายพรชัย ฐีระเวช ผู้อานวยการสานักงานเศรษฐกิจการคลัง เปิดเผยภาวะเศรษฐกิจภูมิภาคประจาเดือนกุมภาพันธ์ 2567 ว่า ?เศรษฐกิจภูมิภาคในเดือนมีนาคม 2567 มีปัจจัยสนับสนุนจากการท่องเที่ยวที่ยังขยายตัวได้ ในทุกภูมิภาค และการจับจ่ายใช้สอยเพื่อการบริโภคของภาคเอกชนในบางภูมิภาค เช่น ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และภาคใต้ ในขณะที่การลงทุนชะลอตัวในหลายภูมิภาค เช่น ภาคตะวันออก และ กทม. และปริมณฑล? โดยมีรายละเอียดดังนี้

เศรษฐกิจภาคตะวันออกเฉียงเหนือในเดือนมีนาคม 2567 มีปัจจัยสนับสนุนจากการจับจ่ายใช้สอย เพื่อการบริโภคของภาคเอกชน อีกทั้งรายได้เกษตรกร เงินทุนของโรงงานที่เริ่มประกอบกิจการ และการท่องเที่ยว ที่ขยายตัวได้ โดยเครื่องชี้เศรษฐกิจด้านการบริโภคภาคเอกชน สะท้อนจากการจัดเก็บภาษีมูลค่าเพิ่ม ณ ราคาคงที่ และรายได้เกษตรกรขยายตัวร้อยละ 14.2 และ 3.6 ต่อปี ตามลาดับ ขณะที่จานวนรถยนต์นั่งจดทะเบียนใหม่ และจานวนรถจักรยานยนต์จดทะเบียนใหม่หดตัว ทั้งนี้ ดัชนีความเชื่อมั่นผู้บริโภคอยู่ที่ระดับ 65.4 ลดลง จากเดือนก่อนหน้าซึ่งอยู่ที่ระดับ 66.1 เครื่องชี้ด้านการลงทุนภาคเอกชน สะท้อนจากจานวนรถยนต์บรรทุกส่วนบุคคล จดทะเบียนใหม่ และจานวนรถบรรทุกจดทะเบียนใหม่หดตัว อย่างไรก็ตาม เงินทุนของโรงงานที่เริ่มประกอบกิจการขยายตัวร้อยละ 28.2 ต่อปี โดยเป็นการลงทุนในโรงงานสีข้าวชนิดแยกแกลบแยกรา ในจังหวัดศรีสะเกษ เป็นสาคัญ ด้านอุปทาน เครื่องชี้ภาคอุตสาหกรรม สะท้อนจากดัชนีความเชื่อมั่นภาคอุตสาหกรรมอยู่ที่ระดับ 77.6 ลดลง จากเดือนก่อนหน้าซึ่งอยู่ที่ระดับ 78.8 ขณะที่ เครื่องชี้ด้านการบริการ สะท้อนจากจานวนผู้เยี่ยมเยือน และรายได้ จากผู้เยี่ยมเยือนขยายตัวร้อยละ 16.5 และ 24.2 ต่อปี ตามลาดับ

เศรษฐกิจภาคใต้ในเดือนมีนาคม 2567 มีปัจจัยสนับสนุนจากการจับจ่ายใช้สอยเพื่อการบริโภค ของภาคเอกชนอีกทั้งรายได้เกษตรกร เงินทุนของโรงงานที่เริ่มประกอบกิจการ และการท่องเที่ยวที่ขยายตัวได้ โดยเครื่องชี้เศรษฐกิจด้านการบริโภคภาคเอกชน สะท้อนจากการจัดเก็บภาษีมูลค่าเพิ่ม ณ ราคาคงที่ และรายได้เกษตรกรขยายตัวร้อยละ 10.2 และ 24.2 ต่อปี ตามลาดับ ขณะที่จานวนรถยนต์นั่งจดทะเบียนใหม่ และจานวนรถจักรยานยนต์จดทะเบียนใหม่หดตัว ทั้งนี้ ดัชนีความเชื่อมั่นผู้บริโภคอยู่ที่ระดับ 60.1 ลดลงจากเดือนก่อนหน้า ซึ่งอยู่ที่ระดับ 60.8 เครื่องชี้ด้านการลงทุนภาคเอกชน สะท้อนจากจานวนรถยนต์บรรทุกส่วนบุคคลจดทะเบียนใหม่ จานวนรถบรรทุกจดทะเบียนใหม่ และเงินทุนของโรงงานที่เริ่มประกอบกิจการหดตัว ด้านอุปทาน เครื่องชี้ภาคอุตสาหกรรม สะท้อนจากดัชนีความเชื่อมั่นภาคอุตสาหกรรมอยู่ที่ระดับ 93.0 เพิ่มขึ้นจากเดือนก่อนหน้า

2

ซึ่งอยู่ที่ระดับ 91.3 เครื่องชี้ด้านการบริการ สะท้อนจากจานวนผู้เยี่ยมเยือน และรายได้จากผู้เยี่ยมเยือนขยายตัว ร้อยละ 38.4 และ 34.7 ต่อปี ตามลาดับ

เศรษฐกิจภาคกลางในเดือนมีนาคม 2567 มีปัจจัยสนับสนุนจากการจับจ่ายใช้สอยเพื่อการบริโภค ของภาคเอกชนอีกทั้งเงินทุนของโรงงานที่เริ่มประกอบกิจการ และการท่องเที่ยวที่ขยายตัวได้ โดยเครื่องชี้เศรษฐกิจด้านการบริโภคภาคเอกชน สะท้อนจากการจัดเก็บภาษีมูลค่าเพิ่ม ณ ราคาคงที่ขยายตัวร้อยละ 4.4 ต่อปี ขณะที่จานวนรถยนต์นั่งจดทะเบียนใหม่ จานวนรถจักรยานยนต์จดทะเบียนใหม่ และรายได้เกษตรกรหดตัว ทั้งนี้ ดัชนีความเชื่อมั่นผู้บริโภคอยู่ที่ระดับ 61.3 ลดลงจากเดือนก่อนหน้าซึ่งอยู่ที่ระดับ 62.1 เครื่องชี้ด้านการลงทุนภาคเอกชน สะท้อนจากจานวนรถยนต์บรรทุกส่วนบุคคลจดทะเบียนใหม่หดตัวร้อยละ -29.1 ต่อปี แต่ขยายตัวร้อยละ 11.2 เมื่อเทียบกับเดือนก่อนหน้าหลังขจัดผลทางฤดูกาล เช่นเดียวกับจานวนรถบรรทุกจดทะเบียนใหม่หดตัวร้อยละ -15.1 ต่อปี แต่ขยายตัวร้อยละ 3.7 เมื่อเทียบกับเดือนก่อนหน้าหลังขจัดผลทางฤดูกาล ทั้งนี้ เงินทุนของโรงงาน ที่เริ่มประกอบกิจการขยายตัวร้อยละ 338.3 ต่อปี โดยเป็นการลงทุนในโรงงานผลิตพลังงานไฟฟ้าจากพลังงานแสงอาทิตย์แบบติดตั้งบนพื้นดิน ในจังหวัดสระบุรี เป็นสาคัญ ด้านอุปทาน เครื่องชี้ภาคอุตสาหกรรม สะท้อนจาก ดัชนีความเชื่อมั่นภาคอุตสาหกรรมอยู่ที่ระดับ 98.4 เพิ่มขึ้นจากเดือนก่อนหน้าซึ่งอยู่ที่ระดับ 93.4 เครื่องชี้ ด้านการบริการ สะท้อนจากจานวนผู้เยี่ยมเยือน และรายได้จากผู้เยี่ยมเยือนขยายตัวร้อยละ 21.8 และ 33.8 ต่อปี ตามลาดับ

เศรษฐกิจภาคเหนือในเดือนมีนาคม 2567 มีปัจจัยสนับสนุนจากการจับจ่ายใช้สอยเพื่อการบริโภค ของภาคเอกชน และการท่องเที่ยวที่ขยายตัวได้ โดยเครื่องชี้เศรษฐกิจด้านการบริโภคภาคเอกชน สะท้อนจาก การจัดเก็บภาษีมูลค่าเพิ่ม ณ ราคาคงที่ขยายตัวร้อยละ 3.7 ต่อปี ขณะที่จานวนรถยนต์นั่งจดทะเบียนใหม่หดตัว ร้อยละ -24.4 ต่อปี แต่ขยายตัวร้อยละ 0.6 เมื่อเทียบกับเดือนก่อนหน้าหลังขจัดผลทางฤดูกาล อย่างไรก็ตาม จานวนรถจักรยานยนต์จดทะเบียนใหม่ และรายได้เกษตรหดตัว ทั้งนี้ ดัชนีความเชื่อมั่นผู้บริโภคอยู่ที่ระดับ 63.4 ลดลง จากเดือนก่อนหน้าซึ่งอยู่ที่ระดับ 64.1 เครื่องชี้ด้านการลงทุนภาคเอกชน สะท้อนจากจานวนรถยนต์บรรทุกส่วนบุคคลจดทะเบียนใหม่ จานวนรถบรรทุกจดทะเบียนใหม่ และเงินทุนของโรงงานที่เริ่มประกอบกิจการหดตัว ด้านอุปทาน เครื่องชี้ภาคอุตสาหกรรม สะท้อนจากดัชนีความเชื่อมั่นภาคอุตสาหกรรมอยู่ที่ระดับ 91.9 ลดลงจากเดือนก่อนหน้า ซึ่งอยู่ที่ระดับ 94.2 เครื่องชี้ด้านการบริการ สะท้อนจากจานวนผู้เยี่ยมเยือน และรายได้จากผู้เยี่ยมเยือนขยายตัว ร้อยละ 3.3 และ 12.3 ต่อปี ตามลาดับ

เศรษฐกิจภาคตะวันตกในเดือนมีนาคม 2567 มีปัจจัยสนับสนุนจากเกษตรกร เงินทุนของโรงงาน ที่เริ่มประกอบกิจการ และการท่องเที่ยวที่ขยายตัวได้ โดยเครื่องชี้เศรษฐกิจด้านการบริโภคภาคเอกชน สะท้อนจากรายได้เกษตรกรขยายตัวร้อยละ 3.8 ต่อปี ขณะที่การจัดเก็บภาษีมูลค่าเพิ่ม ณ ราคาคงที่ จานวนรถยนต์ นั่งจดทะเบียนใหม่ และจานวนรถจักรยานยนต์จดทะเบียนใหม่หดตัว ทั้งนี้ ดัชนีความเชื่อมั่นผู้บริโภคอยู่ที่ระดับ 61.3 ลดลงจากเดือนก่อนหน้าซึ่งอยู่ที่ระดับ 62.1 เครื่องชี้ด้านการลงทุนภาคเอกชน สะท้อนจากจานวนรถยนต์บรรทุก ส่วนบุคคลจดทะเบียนใหม่หดตัวร้อยละ -34.2 ต่อปี แต่ขยายตัวร้อยละ 9.0 เมื่อเทียบกับเดือนก่อนหน้า หลังขจัดผลทางฤดูกาล เช่นเดียวกับเงินทุนของโรงงานที่เริ่มประกอบกิจการขยายตัวในระดับสูงโดยเป็นการลงทุน ในโรงงานผลิตพลังงานไฟฟ้า ในจังหวัดราชบุรี เป็นสาคัญ ขณะที่จานวนรถบรรทุกจดทะเบียนใหม่หดตัว ด้านอุปทาน เครื่องชี้ภาคอุตสาหกรรม สะท้อนจากดัชนีความเชื่อมั่นภาคอุตสาหกรรมอยู่ที่ระดับ 98.4 เพิ่มขึ้นจากเดือนก่อนหน้าซึ่งอยู่ที่ระดับ 93.4 เครื่องชี้ด้านการบริการ สะท้อนจากจานวนผู้เยี่ยมเยือน และรายได้จากผู้เยี่ยมเยือนขยายตัว ร้อยละ 7.2 และ 19.1 ต่อปี ตามลาดับ

3

เศรษฐกิจ กทม. และปริมณฑลในเดือนมีนาคม 2567 การบริโภคภาคเอกชน และการลงทุนภาคเอกชนหดตัว อย่างไรก็ตามการท่องเที่ยวยังขยายตัวได้ โดยเครื่องชี้เศรษฐกิจด้านการบริโภคภาคเอกชน สะท้อนจาก การจัดเก็บภาษีมูลค่าเพิ่ม ณ ราคาคงที่ จานวนรถยนต์นั่งจดทะเบียนใหม่ จานวนรถจักรยานยนต์จดทะเบียนใหม่ และรายได้เกษตรกรหดตัว ทั้งนี้ ดัชนีความเชื่อมั่นผู้บริโภคอยู่ที่ระดับ 62.7 ลดลงจากเดือนก่อนหน้าซึ่งอยู่ที่ระดับ 63.7 เครื่องชี้ด้านการลงทุนภาคเอกชน สะท้อนจากจานวนรถยนต์บรรทุกส่วนบุคคลจดทะเบียนใหม่ จานวนรถบรรทุกจดทะเบียนใหม่ และเงินทุนของโรงงานที่เริ่มประกอบกิจการหดตัว ด้านอุปทาน เครื่องชี้ภาคอุตสาหกรรม สะท้อนจากดัชนีความเชื่อมั่นภาคอุตสาหกรรมอยู่ที่ระดับ 98.4 เพิ่มขึ้นจากเดือนก่อนหน้าซึ่งอยู่ที่ระดับ 93.4 อย่างไรก็ตาม เครื่องชี้ด้านการบริการ สะท้อนจากจานวนผู้เยี่ยมเยือน และรายได้จากผู้เยี่ยมเยือนขยายตัวร้อยละ 4.6 และ 16.4 ต่อปี ตามลาดับ

เศรษฐกิจภาคตะวันออกในเดือนมีนาคม 2567 การบริโภคภาคเอกชน และการลงทุนภาคเอกชนหดตัว อย่างไรก็ตามการท่องเที่ยวยังขยายตัวได้ โดยเครื่องชี้เศรษฐกิจด้านการบริโภคภาคเอกชน สะท้อนจาก การจัดเก็บภาษีมูลค่าเพิ่ม ณ ราคาคงที่ จานวนรถยนต์นั่งจดทะเบียนใหม่ จานวนรถจักรยานยนต์จดทะเบียนใหม่ และรายได้เกษตรกรหดตัว ทั้งนี้ ดัชนีความเชื่อมั่นผู้บริโภคอยู่ที่ระดับ 65.7 ลดลงจากเดือนก่อนหน้าซึ่งอยู่ที่ระดับ 66.5 เครื่องชี้ด้านการลงทุนภาคเอกชน สะท้อนจากจานวนรถยนต์บรรทุกส่วนบุคคลจดทะเบียนใหม่ จานวนรถบรรทุกจดทะเบียนใหม่ และเงินทุนของโรงงานที่เริ่มประกอบกิจการหดตัว ด้านอุปทาน เครื่องชี้ภาคอุตสาหกรรม สะท้อนจากดัชนีความเชื่อมั่นภาคอุตสาหกรรมอยู่ที่ระดับ 90.9 เพิ่มขึ้นจากเดือนก่อนหน้าซึ่งอยู่ที่ระดับ 88.4 อย่างไรก็ตาม เครื่องชี้ด้านการบริการ สะท้อนจากจานวนผู้เยี่ยมเยือน และรายได้จากผู้เยี่ยมเยือนขยายตัวร้อยละ 3.8 และ 16.6 ต่อปี ตามลาดับ

โดยมีรายละเอียดเพิ่มเติมปรากฏตามเอกสารแนบ

4

ภาวะเศรษฐกิจการคลังภูมิภาคประจาเดือนมีนาคม 2567

ตารางที่ 1 เครื่องชี้เศรษฐกิจภาคตะวันออกเฉียงเหนือ

เครื่องชี้เศรษฐกิจ 2566 Q4/66 Q1/67 ก.พ.67 มี.ค.67 YTD

เครื่องชี้ด้านการบริโภคภาคเอกชน

ภาษีมูลค่าเพิ่ม ณ ราคาคงที่ (%yoy)

4.8

10.8

8.5

4.2

14.2

8.5

จานวนรถยนต์นั่งจดทะเบียนใหม่ (%yoy)

-8.1

-11.1

-22.1

-27.8

-31.0

-22.1

จานวนรถจักรยานยนต์จดทะเบียนใหม่ (%yoy)

-4.3

-7.0

-12.6

-12.4

-20.8

-12.6

ดัชนีความเชื่อมั่นผู้บริโภค (ม.หอการค้า) (ระดับ)

59.5

63.6

65.6

66.1

65.4

65.6

รายได้เกษตรกร (%yoy)

6.9

4.4

3.2

0.1

3.6

3.2

เครื่องชี้ด้านการลงทุนภาคเอกชน

จานวนรถยนต์บรรทุกส่วนบุคคลจดทะเบียนใหม่ (%yoy)

-34.3

-26.4

-35.6

-33.4

-41.6

-35.6

จานวนรถบรรทุกจดทะเบียนใหม่ (%yoy)

-10.5

-8.3

-24.7

-15.2

-30.7

-24.7

เงินทุนของโรงงานที่เริ่มประกอบกิจการ (พันล้านบาท)

12.6

4.4

3.8

0.7

0.9

3.8

เงินทุนของโรงงานที่เริ่มประกอบกิจการ (%yoy)

-38.2

94.8

-31.2

-75.7

28.2

-31.2

เครื่องชี้ภาคอุตสาหกรรม

ดัชนีผลผลิตสินค้าอุตสาหกรรม (%yoy)

-5.8

-6.4

-4.8

0.3

-

-0.7

ดัชนีความเชื่อมั่นภาคอุตสาหกรรม (ระดับ)

94.0

85.4

79.3

78.8

77.6

79.3

เครื่องชี้ภาคการบริการ

จานวนผู้เยี่ยมเยือนทั้งหมด (%yoy)

27.8

21.0

16.5

17.0

16.5

16.5

จานวนผู้เยี่ยมเยือนคนไทย (%yoy)

23.4

18.5

16.0

16.0

16.9

16.0

จานวนผู้เยี่ยมเยือนชาวต่างชาติ (%yoy)

193.7

79.4

26.1

37.5

9.7

26.1

รายได้จากผู้เยี่ยมเยือน (%yoy)

44.7

37.5

20.3

18.4

24.2

20.3

รายได้จากผู้เยี่ยมเยือนคนไทย (%yoy)

37.7

33.8

19.6

16.8

25.4

19.6

รายได้จากผู้เยี่ยมเยือนชาวต่างชาติ (%yoy)

214.0

94.9

29.2

43.5

11.3

29.2

เครื่องชี้ด้านเสถียรภาพเศรษฐกิจ

อัตราเงินเฟ้อทั่วไป (%yoy)

1.3

-0.5

-0.4

-0.3

0.0

-0.4

อัตราการว่างงาน (คานวณจากข้อมูล 3 เดือนล่าสุด) (%ต่อกาลังแรงงาน)

0.7

-

-

-

-

-

ผู้รับประโยชน์ทดแทนกรณีว่างงานรายใหม่ (%ต่อจานวนผู้ประกันตน ม. 33)

0.9

0.9

0.8

0.8

0.8

0.8

ที่มา: กรมสรรพากร กรมการขนส่งทางบก มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย สานักงานเศรษฐกิจการเกษตร กรมโรงงานอุตสาหกรรม สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย กระทรวงการท่องเที่ยว และกีฬา สานักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม สานักดัชนีการค้า สานักงานสถิติแห่งชาติ กรมพัฒนาธุรกิจการค้า และสานักงานประกันสังคม คานวณและรวบรวม: สศค.

5

ตารางที่ 2 เครื่องชี้เศรษฐกิจภาคใต้

เครื่องชี้เศรษฐกิจ 2566 Q4/66 Q1/67 ก.พ.67 มี.ค.67 YTD

เครื่องชี้ด้านการบริโภคภาคเอกชน

ภาษีมูลค่าเพิ่ม ณ ราคาคงที่ (%yoy)

10.5

6.9

13.3

15.8

10.2

13.3

จานวนรถยนต์นั่งจดทะเบียนใหม่ (%yoy)

7.5

2.6

-24.6

-31.8

-38.3

-24.6

จานวนรถจักรยานยนต์จดทะเบียนใหม่ (%yoy)

10.2

6.2

-2.7

-5.8

-8.2

-2.7

ดัชนีความเชื่อมั่นผู้บริโภค (ม.หอการค้า) (ระดับ)

53.1

57.9

60.3

60.8

60.1

60.3

รายได้เกษตรกร (%yoy)

-19.5

-4.3

9.8

9.5

24.2

9.8

เครื่องชี้ด้านการลงทุนภาคเอกชน

จานวนรถยนต์บรรทุกส่วนบุคคลจดทะเบียนใหม่ (%yoy)

-26.2

-24.4

-41.6

-40.8

-45.7

-41.6

จานวนรถบรรทุกจดทะเบียนใหม่ (%yoy)

-14.8

-18.4

-29.7

-25.3

-31.0

-29.7

เงินทุนของโรงงานที่เริ่มประกอบกิจการ (พันล้านบาท)

6.0

3.0

1.5

0.3

0.5

1.5

เงินทุนของโรงงานที่เริ่มประกอบกิจการ (%yoy)

-12.4

301.8

9.1

54.6

-17.3

9.1

เครื่องชี้ภาคอุตสาหกรรม

ดัชนีผลผลิตสินค้าอุตสาหกรรม (%yoy)

-2.7

-1.9

-2.1

2.0

-

2.5

ดัชนีความเชื่อมั่นภาคอุตสาหกรรม (ระดับ)

89.2

92.5

92.5

91.3

93.0

92.5

เครื่องชี้ภาคการบริการ

จานวนผู้เยี่ยมเยือนทั้งหมด (%yoy)

89.2

64.0

42.2

40.7

38.4

42.2

จานวนผู้เยี่ยมเยือนคนไทย (%yoy)

47.4

39.1

27.4

19.6

36.3

27.4

จานวนผู้เยี่ยมเยือนชาวต่างชาติ (%yoy)

208.6

112.4

62.8

69.4

40.9

62.8

รายได้จากผู้เยี่ยมเยือน (%yoy)

101.9

72.7

46.4

51.8

34.7

46.4

รายได้จากผู้เยี่ยมเยือนคนไทย (%yoy)

42.9

54.2

22.7

17.0

29.3

22.7

รายได้จากผู้เยี่ยมเยือนชาวต่างชาติ (%yoy)

127.0

78.2

52.6

60.8

36.0

52.6

เครื่องชี้ด้านเสถียรภาพเศรษฐกิจ

อัตราเงินเฟ้อทั่วไป (%yoy)

0.9

-0.7

-0.9

-1.0

-0.5

-0.9

อัตราการว่างงาน (คานวณจากข้อมูล 3 เดือนล่าสุด) (%ต่อกาลังแรงงาน)

1.5

-

-

-

-

-

ผู้รับประโยชน์ทดแทนกรณีว่างงานรายใหม่ (%ต่อจานวนผู้ประกันตน ม. 33)

0.7

0.6

0.6

0.6

0.6

0.6

ที่มา: กรมสรรพากร กรมการขนส่งทางบก มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย สานักงานเศรษฐกิจการเกษตร กรมโรงงานอุตสาหกรรม สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย กระทรวงการท่องเที่ยว และกีฬา สานักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม สานักดัชนีการค้า สานักงานสถิติแห่งชาติ กรมพัฒนาธุรกิจการค้า และสานักงานประกันสังคม คานวณและรวบรวม: สศค.

6

ตารางที่ 3 เครื่องชี้เศรษฐกิจภาคกลาง

เครื่องชี้เศรษฐกิจ 2566 Q4/66 Q1/67 ก.พ.67 มี.ค.67 YTD

เครื่องชี้ด้านการบริโภคภาคเอกชน

ภาษีมูลค่าเพิ่ม ณ ราคาคงที่ (%yoy)

-2.7

13.7

8.3

20.1

4.4

8.3

จานวนรถยนต์นั่งจดทะเบียนใหม่ (%yoy)

-10.0

-17.8

-33.1

-33.1

-42.5

-33.1

จานวนรถจักรยานยนต์จดทะเบียนใหม่ (%yoy)

10.0

1.7

-7.5

-6.1

-17.4

-7.5

ดัชนีความเชื่อมั่นผู้บริโภค (ม.หอการค้า) (ระดับ)

54.9

59.2

61.5

62.1

61.3

61.5

รายได้เกษตรกร (%yoy)

3.6

-3.3

-8.2

-9.4

-6.8

-8.2

เครื่องชี้ด้านการลงทุนภาคเอกชน

จานวนรถยนต์บรรทุกส่วนบุคคลจดทะเบียนใหม่ (%yoy)

-29.4

-21.1

-31.8

-28.9

-29.1

-31.8

จานวนรถบรรทุกจดทะเบียนใหม่ (%yoy)

-3.9

9.7

-15.4

-15.1

-15.1

-15.4

เงินทุนของโรงงานที่เริ่มประกอบกิจการ (พันล้านบาท)

87.3

79.8

3.8

1.0

1.6

3.8

เงินทุนของโรงงานที่เริ่มประกอบกิจการ (%yoy)

784.2

2,364.0

126.4

330.1

338.3

126.4

เครื่องชี้ภาคอุตสาหกรรม

ดัชนีผลผลิตสินค้าอุตสาหกรรม (%yoy)

-5.4

-5.3

-7.8

-4.1

-

-4.1

ดัชนีความเชื่อมั่นภาคอุตสาหกรรม (ระดับ)

95.4

89.5

94.2

93.4

98.4

94.2

เครื่องชี้ภาคการบริการ

จานวนผู้เยี่ยมเยือนทั้งหมด (%yoy)

19.9

20.1

16.1

19.6

21.8

16.1

จานวนผู้เยี่ยมเยือนคนไทย (%yoy)

14.0

18.6

12.8

14.9

19.2

12.8

จานวนผู้เยี่ยมเยือนชาวต่างชาติ (%yoy)

324.9

53.5

60.2

85.2

53.1

60.2

รายได้จากผู้เยี่ยมเยือน (%yoy)

40.9

46.2

28.5

32.2

33.8

28.5

รายได้จากผู้เยี่ยมเยือนคนไทย (%yoy)

31.7

43.3

22.4

24.4

29.2

22.4

รายได้จากผู้เยี่ยมเยือนชาวต่างชาติ (%yoy)

357.4

91.3

91.9

118.2

76.4

91.9

เครื่องชี้ด้านเสถียรภาพเศรษฐกิจ

อัตราเงินเฟ้อทั่วไป (%yoy)

1.1

-0.3

-0.6

-0.7

-0.1

-0.6

อัตราการว่างงาน (คานวณจากข้อมูล 3 เดือนล่าสุด) (%ต่อกาลังแรงงาน)

2.1

-

-

-

-

-

ผู้รับประโยชน์ทดแทนกรณีว่างงานรายใหม่ (%ต่อจานวนผู้ประกันตน ม. 33)

0.7

0.6

0.6

0.6

0.6

0.6

ที่มา: กรมสรรพากร กรมการขนส่งทางบก มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย สานักงานเศรษฐกิจการเกษตร กรมโรงงานอุตสาหกรรม สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย กระทรวงการท่องเที่ยว และกีฬา สานักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม สานักดัชนีการค้า สานักงานสถิติแห่งชาติ กรมพัฒนาธุรกิจการค้า และสานักงานประกันสังคม คานวณและรวบรวม: สศค.

7

ตารางที่ 4 เครื่องชี้เศรษฐกิจภาคเหนือ

เครื่องชี้เศรษฐกิจ 2566 Q4/66 Q1/67 ก.พ.67 มี.ค.67 YTD

เครื่องชี้ด้านการบริโภคภาคเอกชน

ภาษีมูลค่าเพิ่ม ณ ราคาคงที่ (%yoy)

7.3

5.6

5.8

6.2

3.7

5.8

จานวนรถยนต์นั่งจดทะเบียนใหม่ (%yoy)

11.0

7.2

-18.3

-24.4

-24.4

-18.3

จานวนรถจักรยานยนต์จดทะเบียนใหม่ (%yoy)

0.4

-6.9

-12.9

-13.4

-20.1

-12.9

ดัชนีความเชื่อมั่นผู้บริโภค (ม.หอการค้า) (ระดับ)

57.6

61.6

63.6

64.1

63.4

63.6

รายได้เกษตรกร (%yoy)

10.1

6.4

0.1

-4.2

-0.9

0.1

เครื่องชี้ด้านการลงทุนภาคเอกชน

จานวนรถยนต์บรรทุกส่วนบุคคลจดทะเบียนใหม่ (%yoy)

-20.2

-18.7

-27.5

-29.7

-29.3

-27.5

จานวนรถบรรทุกจดทะเบียนใหม่ (%yoy)

-1.4

0.2

-23.0

-24.6

-19.9

-23.0

เงินทุนของโรงงานที่เริ่มประกอบกิจการ (พันล้านบาท)

7.5

1.7

0.8

0.4

0.2

0.8

เงินทุนของโรงงานที่เริ่มประกอบกิจการ (%yoy)

55.1

68.0

-2.9

70.1

-55.0

-2.9

เครื่องชี้ภาคอุตสาหกรรม

ดัชนีผลผลิตสินค้าอุตสาหกรรม (%yoy)

-7.6

-11.3

-9.1

-6.2

-

-6.1

ดัชนีความเชื่อมั่นภาคอุตสาหกรรม (ระดับ)

93.5

96.2

94.3

94.2

91.9

94.3

เครื่องชี้ภาคการบริการ

จานวนผู้เยี่ยมเยือนทั้งหมด (%yoy)

17.8

7.0

4.1

5.3

3.3

4.1

จานวนผู้เยี่ยมเยือนคนไทย (%yoy)

9.9

4.6

1.1

1.9

0.2

1.1

จานวนผู้เยี่ยมเยือนชาวต่างชาติ (%yoy)

159.6

26.8

28.1

31.6

27.1

28.1

รายได้จากผู้เยี่ยมเยือน (%yoy)

40.0

23.8

14.8

15.9

12.3

14.8

รายได้จากผู้เยี่ยมเยือนคนไทย (%yoy)

21.2

17.0

6.8

7.4

4.0

6.8

รายได้จากผู้เยี่ยมเยือนชาวต่างชาติ (%yoy)

208.0

51.5

44.7

48.0

40.8

44.7

เครื่องชี้ด้านเสถียรภาพเศรษฐกิจ

อัตราเงินเฟ้อทั่วไป (%yoy)

1.2

-0.7

-0.8

-0.8

-0.5

-0.8

อัตราการว่างงาน (คานวณจากข้อมูล 3 เดือนล่าสุด) (%ต่อกาลังแรงงาน)

1.0

-

-

-

-

-

ผู้รับประโยชน์ทดแทนกรณีว่างงานรายใหม่ (%ต่อจานวนผู้ประกันตน ม. 33)

0.7

0.8

0.6

0.6

0.6

0.6

ที่มา: กรมสรรพากร กรมการขนส่งทางบก มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย สานักงานเศรษฐกิจการเกษตร กรมโรงงานอุตสาหกรรม สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย กระทรวงการท่องเที่ยว และกีฬา สานักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม สานักดัชนีการค้า สานักงานสถิติแห่งชาติ กรมพัฒนาธุรกิจการค้า และสานักงานประกันสังคม คานวณและรวบรวม: สศค.

8

ตารางที่ 5 เครื่องชี้เศรษฐกิจภาคตะวันตก

เครื่องชี้เศรษฐกิจ 2566 Q4/66 Q1/67 ก.พ.67 มี.ค.67 YTD

เครื่องชี้ด้านการบริโภคภาคเอกชน

ภาษีมูลค่าเพิ่ม ณ ราคาคงที่ (%yoy)

-1.9

-8.5

2.1

10.4

-1.1

2.1

จานวนรถยนต์นั่งจดทะเบียนใหม่ (%yoy)

-3.2

1.3

-18.6

-28.1

-25.9

-18.6

จานวนรถจักรยานยนต์จดทะเบียนใหม่ (%yoy)

7.4

-5.6

-15.9

-13.3

-26.5

-15.9

ดัชนีความเชื่อมั่นผู้บริโภค (ม.หอการค้า) (ระดับ)

54.9

59.2

61.5

62.1

61.3

61.5

รายได้เกษตรกร (%yoy)

4.3

3.9

4.9

1.5

3.8

4.9

เครื่องชี้ด้านการลงทุนภาคเอกชน

จานวนรถยนต์บรรทุกส่วนบุคคลจดทะเบียนใหม่ (%yoy)

-23.6

-18.3

-37.5

-41.0

-34.2

-37.5

จานวนรถบรรทุกจดทะเบียนใหม่ (%yoy)

-0.5

-3.2

-3.7

12.9

-1.9

-3.7

เงินทุนของโรงงานที่เริ่มประกอบกิจการ (พันล้านบาท)

7.3

1.1

34.0

0.3

33.6

34.0

เงินทุนของโรงงานที่เริ่มประกอบกิจการ (%yoy)

64.9

-38.3

9,370.0

437.4

-

9,370.0

เครื่องชี้ภาคอุตสาหกรรม

ดัชนีผลผลิตสินค้าอุตสาหกรรม (%yoy)

-4.4

-7.6

-7.9

-4.3

-

-4.3

ดัชนีความเชื่อมั่นภาคอุตสาหกรรม (ระดับ)

95.4

89.5

94.2

93.4

98.4

94.2

เครื่องชี้ภาคการบริการ

จานวนผู้เยี่ยมเยือนทั้งหมด (%yoy)

30.0

16.2

6.0

9.2

7.2

6.0

จานวนผู้เยี่ยมเยือนคนไทย (%yoy)

28.0

15.5

5.3

8.5

6.4

5.3

จานวนผู้เยี่ยมเยือนชาวต่างชาติ (%yoy)

254.7

62.4

37.5

35.0

39.3

37.5

รายได้จากผู้เยี่ยมเยือน (%yoy)

37.2

30.8

21.2

23.8

19.1

21.2

รายได้จากผู้เยี่ยมเยือนคนไทย (%yoy)

31.7

28.7

18.8

21.6

16.0

18.8

รายได้จากผู้เยี่ยมเยือนชาวต่างชาติ (%yoy)

263.3

77.5

57.8

54.3

63.1

57.8

เครื่องชี้ด้านเสถียรภาพเศรษฐกิจ

อัตราเงินเฟ้อทั่วไป (%yoy)

1.2

-0.6

-0.9

-0.9

-0.5

-0.9

อัตราการว่างงาน (คานวณจากข้อมูล 3 เดือนล่าสุด) (%ต่อกาลังแรงงาน)

0.9

-

-

-

-

-

ผู้รับประโยชน์ทดแทนกรณีว่างงานรายใหม่ (%ต่อจานวนผู้ประกันตน ม. 33)

0.7

0.8

0.6

0.5

0.6

0.6

ที่มา: กรมสรรพากร กรมการขนส่งทางบก มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย สานักงานเศรษฐกิจการเกษตร กรมโรงงานอุตสาหกรรม สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย กระทรวงการท่องเที่ยว และกีฬา สานักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม สานักดัชนีการค้า สานักงานสถิติแห่งชาติ กรมพัฒนาธุรกิจการค้า และสานักงานประกันสังคม คานวณและรวบรวม: สศค.

9

ตารางที่ 6 เครื่องชี้เศรษฐกิจ กทม. และปริมณฑล

เครื่องชี้เศรษฐกิจ 2566 Q4/66 Q1/67 ก.พ.67 มี.ค.67 YTD

เครื่องชี้ด้านการบริโภคภาคเอกชน

ภาษีมูลค่าเพิ่ม ณ ราคาคงที่ (%yoy)

-0.5

1.3

0.6

7.2

-1.0

0.6

จานวนรถยนต์นั่งจดทะเบียนใหม่ (%yoy)

6.0

4.1

-13.4

-25.5

-28.6

-13.4

จานวนรถจักรยานยนต์จดทะเบียนใหม่ (%yoy)

9.7

3.9

-7.8

-6.0

-14.1

-7.8

ดัชนีความเชื่อมั่นผู้บริโภค (ม.หอการค้า) (ระดับ)

56.2

60.9

63.0

63.7

62.7

63.0

รายได้เกษตรกร (%yoy)

0.7

-10.2

-14.7

-16.3

-14.0

-14.7

เครื่องชี้ด้านการลงทุนภาคเอกชน

จานวนรถยนต์บรรทุกส่วนบุคคลจดทะเบียนใหม่ (%yoy)

-27.7

-35.8

-34.1

-38.0

-32.4

-34.1

จานวนรถบรรทุกจดทะเบียนใหม่ (%yoy)

2.1

2.7

-14.5

-5.2

-20.5

-14.5

เงินทุนของโรงงานที่เริ่มประกอบกิจการ (พันล้านบาท)

31.4

7.7

6.2

3.3

1.2

6.2

เงินทุนของโรงงานที่เริ่มประกอบกิจการ (%yoy)

10.1

-2.5

-39.5

143.9

-26.9

-39.5

เครื่องชี้ภาคอุตสาหกรรม

ดัชนีผลผลิตสินค้าอุตสาหกรรม (%yoy)

-6.0

-6.7

-7.8

-5.3

-

-4.4

ดัชนีความเชื่อมั่นภาคอุตสาหกรรม (ระดับ)

95.4

89.5

94.2

93.4

98.4

94.2

เครื่องชี้ภาคการบริการ

จานวนผู้เยี่ยมเยือนทั้งหมด (%yoy)

46.4

19.4

8.9

11.6

4.6

8.9

จานวนผู้เยี่ยมเยือนคนไทย (%yoy)

15.3

11.6

5.3

4.8

5.7

5.3

จานวนผู้เยี่ยมเยือนชาวต่างชาติ (%yoy)

160.7

35.7

14.5

22.3

2.9

14.5

รายได้จากผู้เยี่ยมเยือน (%yoy)

111.0

46.5

27.9

34.1

16.4

27.9

รายได้จากผู้เยี่ยมเยือนคนไทย (%yoy)

14.2

12.3

-1.8

-3.0

0.1

-1.8

รายได้จากผู้เยี่ยมเยือนชาวต่างชาติ (%yoy)

185.9

60.8

38.3

46.7

21.8

38.3

เครื่องชี้ด้านเสถียรภาพเศรษฐกิจ

อัตราเงินเฟ้อทั่วไป (%yoy)

1.6

-0.1

-0.3

-0.2

-0.1

-0.3

อัตราการว่างงาน (คานวณจากข้อมูล 3 เดือนล่าสุด) (%ต่อกาลังแรงงาน)

1.1

-

-

-

-

-

ผู้รับประโยชน์ทดแทนกรณีว่างงานรายใหม่ (%ต่อจานวนผู้ประกันตน ม. 33)

0.5

0.4

0.5

0.5

0.6

0.5

ที่มา: กรมสรรพากร กรมการขนส่งทางบก มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย สานักงานเศรษฐกิจการเกษตร กรมโรงงานอุตสาหกรรม สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย กระทรวงการท่องเที่ยว และกีฬา สานักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม สานักดัชนีการค้า สานักงานสถิติแห่งชาติ กรมพัฒนาธุรกิจการค้า และสานักงานประกันสังคม คานวณและรวบรวม: สศค.

10

ตารางที่ 7 เครื่องชี้เศรษฐกิจภาคตะวันออก

เครื่องชี้เศรษฐกิจ 2566 Q4/66 Q1/67 ก.พ.67 มี.ค.67 YTD

เครื่องชี้ด้านการบริโภคภาคเอกชน

ภาษีมูลค่าเพิ่ม ณ ราคาคงที่ (%yoy)

-11.4

-1.2

-3.9

-1.2

-2.3

-3.9

จานวนรถยนต์นั่งจดทะเบียนใหม่ (%yoy)

2.6

-5.3

-27.8

-32.6

-40.9

-27.8

จานวนรถจักรยานยนต์จดทะเบียนใหม่ (%yoy)

7.5

-9.6

-14.7

-15.1

-23.2

-14.7

ดัชนีความเชื่อมั่นผู้บริโภค (ม.หอการค้า) (ระดับ)

59.1

63.6

65.9

66.5

65.7

65.9

รายได้เกษตรกร (%yoy)

4.4

-21.1

-28.4

-24.7

-38.0

-28.4

เครื่องชี้ด้านการลงทุนภาคเอกชน

จานวนรถยนต์บรรทุกส่วนบุคคลจดทะเบียนใหม่ (%yoy)

-25.4

-30.1

-39.3

-43.9

-45.9

-39.3

จานวนรถบรรทุกจดทะเบียนใหม่ (%yoy)

-4.5

0.4

-14.9

-9.1

-18.2

-14.9

เงินทุนของโรงงานที่เริ่มประกอบกิจการ (พันล้านบาท)

48.9

7.0

6.8

2.4

1.6

6.8

เงินทุนของโรงงานที่เริ่มประกอบกิจการ (%yoy)

43.2

4.9

-66.0

-60.2

-80.5

-66.0

เครื่องชี้ภาคอุตสาหกรรม

ดัชนีผลผลิตสินค้าอุตสาหกรรม (%yoy)

1.0

3.7

-6.0

-1.8

-

-3.4

ดัชนีความเชื่อมั่นภาคอุตสาหกรรม (ระดับ)

88.3

85.9

90.1

88.4

90.9

90.1

เครื่องชี้ภาคการบริการ

จานวนผู้เยี่ยมเยือนทั้งหมด (%yoy)

57.0

20.9

10.5

13.9

3.8

10.5

จานวนผู้เยี่ยมเยือนคนไทย (%yoy)

29.0

3.7

2.3

4.5

-0.6

2.3

จานวนผู้เยี่ยมเยือนชาวต่างชาติ (%yoy)

419.4

137.7

40.9

46.3

18.9

40.9

รายได้จากผู้เยี่ยมเยือน (%yoy)

105.4

52.6

28.6

37.5

16.6

28.6

รายได้จากผู้เยี่ยมเยือนคนไทย (%yoy)

29.0

3.0

2.2

6.8

1.1

2.2

รายได้จากผู้เยี่ยมเยือนชาวต่างชาติ (%yoy)

433.5

167.9

59.8

71.8

33.0

59.8

เครื่องชี้ด้านเสถียรภาพเศรษฐกิจ

อัตราเงินเฟ้อทั่วไป (%yoy)

1.0

-0.2

-0.5

-0.7

0.2

-0.5

อัตราการว่างงาน (คานวณจากข้อมูล 3 เดือนล่าสุด) (%ต่อกาลังแรงงาน)

0.9

-

-

-

-

-

ผู้รับประโยชน์ทดแทนกรณีว่างงานรายใหม่ (%ต่อจานวนผู้ประกันตน ม. 33)

0.6

0.5

0.6

0.5

0.7

0.6

ที่มา: กรมสรรพากร กรมการขนส่งทางบก มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย สานักงานเศรษฐกิจการเกษตร กรมโรงงานอุตสาหกรรม สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย กระทรวงการท่องเที่ยว และกีฬา สานักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม สานักดัชนีการค้า สานักงานสถิติแห่งชาติ กรมพัฒนาธุรกิจการค้า และสานักงานประกันสังคม คานวณและรวบรวม: สศค.

11

ตารางที่ 8 เครื่องชี้เศรษฐกิจรายภาคในเดือนมีนาคม 2567 ปรับผลทางฤดูกาล (MoM_SA) เครื่องชี้เศรษฐกิจ อีสาน ใต้ กลาง เหนือ ตะวัน ตก กทม. ปริฯ ตะวัน ออก

เครื่องชี้ด้านการบริโภคภาคเอกชน

ภาษีมูลค่าเพิ่ม ณ ราคาคงที่_SA (%mom)

-0.7

-5.3

-15.0

-2.9

-4.3

-5.8

-1.3

จานวนรถยนต์นั่งจดทะเบียนใหม่_SA (%mom)

-6.6

-11.0

-4.8

0.6

-0.8

-9.3

-12.0

จานวนรถจักรยานยนต์จดทะเบียนใหม่_SA (%mom)

-4.9

-6.6

-9.9

-7.2

-8.5

-6.6

-8.4

รายได้เกษตรกร_SA (%mom)

0.5

6.2

-1.3

0.0

-4.4

-2.7

-10.0

เครื่องชี้ด้านการลงทุนภาคเอกชน

จานวนรถยนต์บรรทุกส่วนบุคคลจดทะเบียนใหม่_SA (%mom)

-14.3

-11.5

11.2

-10.8

9.0

0.1

-4.5

จานวนรถบรรทุกจดทะเบียนใหม่_SA (%mom)

-13.7

-17.0

3.7

-3.0

-17.6

-22.7

5.6

เงินทุนของโรงงานที่เริ่มประกอบกิจการ_SA (พันล้านบาท)

1.0

0.5

2.1

0.2

9.0

1.7

1.4

เงินทุนของโรงงานที่เริ่มประกอบกิจการ_SA (%mom)

70.7

18.9

-17.1

-79.0

1,288.4

-54.2

-31.6

เครื่องชี้ภาคอุตสาหกรรม

ดัชนีผลผลิตสินค้าอุตสาหกรรม_SA (%mom)

-

-

-

-

-

-

-

เครื่องชี้ภาคการบริการ

จานวนผู้เยี่ยมเยือนทั้งหมด_SA (%mom)

5.4

8.7

-7.7

-2.9

1.7

2.4

6.8

รายได้จากผู้เยี่ยมเยือน_SA (%mom)

9.8

4.2

-7.5

-2.2

4.8

-0.2

3.9

ที่มา: กรมสรรพากร กรมการขนส่งทางบก มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย สานักงานเศรษฐกิจการเกษตร กรมโรงงานอุตสาหกรรม สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา สานักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม สานักดัชนีการค้า และสานักงานสถิติแห่งชาติ คานวณและรวบรวม: สศค.

*_SA หมายถึง ข้อมูลที่ปรับผลทางฤดูกาลแล้ว

ที่มา: กระทรวงการคลัง


เว็บไซต์นี้มีการใช้งานคุกกี้ ศึกษารายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และ ข้อตกลงการใช้บริการ รับทราบ