สรุปภาวะเศรษฐกิจอุตสาหกรรมไทยไตรมาสที่ 2/2564

ข่าวเศรษฐกิจ Tuesday October 19, 2021 13:50 —สำนักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม

บทสรุปผู้บริหาร สรุปภาวะเศรษฐกิจอุตสาหกรรมไทยไตรมาสที่ 2/2564

          ภาวะเศรษฐกิจอุตสาหกรรมในไตรมาสที่ 2/2564  เมื่อพิจารณาจากดัชนีผลผลิตอุตสาหกรรม (MPI)      ขยายตัวร้อยละ 20.41 ปรับตัวดีขึ้นเมื่อเทียบกับในไตรมาสที่ 1/2564 ที่ขยายตัวร้อยละ 0.85 ส่วนหนึ่งได้รับอานิสงส์จากผลของฐานต่ำในไตรมาสที่ 2/2563 ซึ่งเป็นช่วงที่ได้รับผลกระทบจากการแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโควิด-19     ระลอกแรก รวมถึงในปีนี้การส่งออกมีการขยายตัวดี อุตสาหกรรมสำคัญที่ขยายตัวในไตรมาสที่ 2/2564 อาทิ การผลิตรถยนต์ ปัจจัยหลักมาจากฐานต่ำในปีก่อน ที่การระบาดของเชือไวรัสโควิด-19 รอบแรกทำให้เศรษฐกิจทั่วโลกหดตัว  ความต้องการสินค้าหายไป แต่ในปีนีสภาพเศรษฐกิจโดยเฉพาะประเทศคู่ค้าเติบโตได้มากขึน ทำให้การผลิตเพิ่มขึน     เพื่อตอบสนองตลาดส่งออกเป็นหลัก ชิ้นส่วนอิเล็กทรอนิกส์ ภาวะการผลิตเพิ่มขึน เนื่องจากความต้องการชินส่วนอิเล็กทรอนิกส์ในตลาดโลกที่ขยายตัวต่อเนื่อง การเริ่มฟื้นตัวของประเทศที่พัฒนาแล้ว หลังการเร่งฉีดวัคซีนและสามารถควบคุมยอดผู้ติดเชือได้ ประกอบกับการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยี ทำให้มีคำสั่งซือล่วงหน้าเข้ามาสูง        ในทุกรายการสินค้า เหล็กและเหล็กกล้า ภาวะการผลิตเพิ่มขึนทังในกลุ่มสินค้าเหล็กทรงแบนและเหล็กทรงยาว โดยเฉพาะเหล็กทรงแบนที่ใช้ในอุตสาหกรรมยานยนต์และเครื่องใช้ไฟฟ้าที่เติบโตได้ดีจากปีก่อนและการเร่งก่อสร้างสาธารณูปโภคของรัฐที่ทำให้ความต้องการใช้สินค้าในกลุ่มเหล็กทรงยาวเติบโตมากขึน เครื่องปรับอากาศ จากฐานต่ำในปีก่อนที่มีการระบาดของเชือไวรัสโควิด-19 ในระลอกแรกที่ส่งผลกระทบทั่วโลก และส่งผลต่อให้ผู้ผลิตขาดแคลนชินส่วนสำหรับการผลิตสินค้าจากการล็อกดาวน์ในหลายประเทศรวมทังประเทศไทย การผลิตยางล้อ เนื่องจากปีก่อนมีการล็อกดาวน์ทั่วโลก ทำให้ความต้องการหดหายไปจากการหยุดผลิตรถยนต์ชั่วคราวและกำลังซือหดตัว แต่ในปีนีบริษัทสามารถทำการผลิตได้ตามปกติ ประกอบกับความต้องการของยางรถยนต์เติบโตตามอุตสาหกรรมต่อเนื่อง เช่น อุตสาหกรรมยานยนต์ แนวโน้มอุตสาหกรรมรายสาขาที่สำคัญ ไตรมาสที่ 3/2564
          เหล็กและเหล็กกล้า คาดการณ์ว่าจะขยายตัวเมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน เนื่องจากการฟื้นตัวของอุตสาหกรรมต่อเนื่อง ประกอบกับราคาเหล็กในตลาดโลกยังอยู่ในระดับสูง อย่างไรก็ตามจากสถานการณ์              การแพร่ระบาดของเชือไวรัสโควิด-19 จึงยังมีความเสี่ยงจากการหยุดชะงักของอุตสาหกรรมต่อเนื่องในประเทศ

อุตสาหกรรมไฟฟ้า คาดว่าดัชนีผลผลิตและมูลค่าการส่งออกจะยังคงมีการขยายตัวได้เพิ่มขึน โดยจะสะท้อนภาวะการผลิตและการส่งออกที่แท้จริงของประเทศได้มากขึน เนื่องจากมีฐานการคำนวณดัชนีและการส่งออกที่เริ่มกลับสู่ภาวะปกติจากสถานการณ์โควิด-19 โดยคาดว่าจะขยายตัวประมาณ ร้อยละ 10.0 และ 7.0 ตามลำดับ

อิเล็กทรอนิกส์ คาดว่าดัชนีผลผลิตและมูลค่าการส่งออกจะยังขยายตัวได้ต่อเนื่องประมาณร้อยละ 8.0 และ 7.0 ตามลำดับ ตามการขยายตัวของตลาดโลกและตลาดผู้บริโภคหลักของอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ที่มีเศรษฐกิจที่เริ่มฟื้นตัว เช่น ประเทศจีน สหรัฐอเมริกา และยุโรป เป็นต้น ดังนัน ประเทศไทยน่าจะมีการผลิตและการส่งออกอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์เพิ่มขึนได้ตามการขยายตัวของตลาดโลก อย่างไรก็ตามต้องจับตา ได้แก่ สถานการณ์ขาดแคลนซิปทั่วโลก ซึ่งอาจส่งผลต่อการผลิตและส่งออกสินค้าอิเล็กทรอนิกส์ของประเทศในระยะสันได้

รถยนต์ ประมาณการในไตรมาสที่ 3 ปี 2564 จะมีการผลิตรถยนต์กว่า 380,000 คัน โดยแบ่งเป็น การผลิต เพื่อจำหน่ายในประเทศร้อยละ 45-50 และการผลิตเพื่อส่งออกร้อยละ 50-55

          รถจักรยานยนต์ ประมาณการในไตรมาสที่ 3 ปี 2564 จะมีการผลิตรถจักรยานยนต์กว่า 480,000 คัน         โดยแบ่งเป็นการผลิตเพื่อจำหน่ายในประเทศร้อยละ 80-85  และการผลิตเพื่อการส่งออกประมาณร้อยละ 15-20

เยื่อกระดาษ กระดาษ และสิ่งพิมพ์ คาดว่า ผลิตภัณฑ์กระดาษที่ใช้ผลิตกล่องบรรจุภัณฑ์ จะขยายตัวเพิ่มขึนตามการบริโภคในประเทศ ขณะเดียวกันในยุค New Normal บรรจุภัณฑ์กระดาษจะขยายตัวได้ค่อนข้างมาก และได้อานิสงส์ตามการใช้งานสำหรับการสั่งสินค้าออนไลน์ ประกอบกับเกิดการแพร่ระบาดของเชือไวรัสโควิด-19 ระลอกใหม่ ในขณะที่การส่งออกจะขยายตัวต่อเนื่องในกลุ่มเยื่อกระดาษ

ปูนซีเมนต์ เมื่อเปรียบเทียบกับไตรมาสเดียวกันของปีก่อน ปริมาณการผลิตและการจำหน่ายคาดว่า จะเริ่มเห็นการปรับตัวลดลง เนื่องจากการระบาดของเชือไวรัสโควิด-19 มีความรุนแรงและขยายวงกว้างกว่าปีที่แล้ว เนื่องจากการระบาดในปีนีมีเชือกลายพันธุ์เข้ามาระบาดด้วย ทังนีการระบาดได้แผ่ขยายเข้าไปในโครงการก่อสร้างต่าง ๆ โดยเฉพาะงานโครงการขนาดใหญ่ของภาครัฐหลายแห่ง จนรัฐบาลต้องประกาศหยุดการก่อสร้างในพืนที่เสี่ยงเพิ่มขึน ส่วนการส่งออก คาดว่ายังสามารถขยายตัวได้จากตลาดส่งออกที่อยู่นอกอาเซียน

            สิ่งทอและเครื่องนุ่งห่ม  ภาวะอุตสาหกรรมสิ่งทอจะขยายตัวต่อเนื่องด้วยฐานที่ต่ำในปีก่อน ประกอบกับ      คำสั่งซือจากต่างประเทศที่มีอย่างต่อเนื่องตลอดโซ่อุปทาน ในขณะที่อุตสาหกรรมเครื่องนุ่งห่มน่าจะชะลอตัว        ตามกำลังซือในประเทศที่ลดลง จากการระบาดของเชือไวรัสโควิด-19 ที่รุนแรงขึน และได้รับผลกระทบจากปัญหา    การระบาดของคลัสเตอร์โรงงาน แต่มีสัดส่วนไม่มากนักเมื่อเทียบกับตลาดรวม อย่างไรก็ตาม ความต้องการเครื่องนุ่งห่มในต่างประเทศเพิ่มขึนอย่างต่อเนื่อง โดยเฉพาะประเทศคู่ค้าสำคัญที่เศรษฐกิจฟื้นตัว เช่น จีน สหรัฐอเมริกา และยุโรป

ไม้และเครื่องเรือน คาดการณ์ว่า ปริมาณการผลิตเครื่องเรือนทำด้วยไม้จะขยายตัวเพิ่มขึนอย่างต่อเนื่อง จากการผลิตเพื่อตอบสนองความต้องการของตลาดต่างประเทศเป็นหลัก ในขณะที่ปริมาณการจำหน่ายเครื่องเรือน ทำด้วยไม้ในประเทศ คาดการณ์ว่าจะยังคงชะลอตัวจากผลกระทบการระบาดระลอกล่าสุดที่เกิดขึน

ยา คาดว่าจะชะลอตัวลงจากไตรมาสเดียวกันของปีก่อนร้อยละ 3.48 ตามแนวโน้มการหดตัวต่อเนื่องของตลาดในประเทศ สำหรับการส่งออกคาดว่าจะยังขยายตัวได้ในตลาดอาเซียน โดยเฉพาะเมียนมา กัมพูชา และลาว

          ยาง และผลิตภัณฑ์ยาง การผลิตยางรถยนต์ คาดว่าจะขยายตัวร้อยละ 6.23 ตามแนวโน้มการขยายตัว       ของอุตสาหกรรมเกี่ยวเนื่องและตลาดส่งออก ในส่วนของการผลิตถุงมือยางคาดว่าจะขยายตัวร้อยละ 1.67           ตามความต้องการใช้ที่สูงขึนทั่วโลก สำหรับการผลิตยางแปรรูปขันปฐมคาดว่าจะขยายตัวร้อยละ 5.00 จากการปรับตัวสูงขึนของราคายางทำให้มีแนวโน้มปริมาณยางเข้าสู่ตลาดเพิ่มขึน

อาหาร คาดว่าดัชนีผลผลิตในภาพรวมและมูลค่าการส่งออกจะขยายตัวเมื่อเทียบกับไตรมาสเดียวกันของปีก่อน เนื่องจากตลาดคู่ค้าหลักยังคงมีความต้องการบริโภคอย่างต่อเนื่องจากการคลายมาตรการล็อกดาวน์ ประกอบกับ มีปัจจัยบวกจากเงินบาทอ่อนค่า อย่างไรก็ตาม สถานการณ์การผลิตและการส่งออกยังมีความเสี่ยงจากการระบาดของโควิดรอบใหม่ที่เกิดขึนในประเทศและประเทศคู่ค้า ซึ่งอาจส่งผลต่อกำลังซือของผู้บริโภคลดลง ภาพรวมเศรษฐกิจและอุตสาหกรรมไทย ไตรมาสที่ 2 ปี 2564

GDP GDP ภาคอุตสาหกรรม ขยายตัวร้อยละ 7.5 (%YoY) ขยายตัวร้อยละ 16.8 (%YoY) ทีมา : สำนักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ทีมา : สำนักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศ หรือ GDP

ผลผลิตมวลรวมของภาคอุตสาหกรรมในไตรมาสที่ 2 ในไตรมาสที่ 2 ของปี 2564 ขยายตัวร้อยละ 7.5

ของปี 2564 ปรับตัวดีขึนจากไตรมาสก่อนหน้า โดยขยายตัวเร่งขึนอย่างมีนัยสำคัญจากช่วงเดียวกันของปีก่อนที่หดตัวร้อยละ 12.1 และปรับตัวดีขึนจาก

การขยายตัวของการส่งออกที่มีความต้องการ ไตรมาสที่ผ่านมาที่หดตัวร้อยละ 2.6

          ของตลาดต่างประเทศเพิ่มสูงขึนโดยเฉพาะตลาดประเทศสหรัฐอเมริกา สหภาพยุโรป อาเซียน (5) และ CLMV ในกลุ่มอุตสาหกรรมยานยนต์        เครื่องคอมพิวเตอร์ อุปกรณ์  เครื่องใช้ไฟฟ้า และผลิตภัณฑ์ยาง ที่ขยายตัวอย่างมีนัยสำคัญและต่อเนื่อง อย่างไรก็ตาม ไทยยังคงต้องเฝ้าระวัง      การแพร่ระบาดของเชือไวรัสโควิด-19 กลายพันธุ์ (สายพันธุ์เดลต้า) ที่กำลังระบาดในประเทศและ     ทั่วโลกขณะนี     GDP ภาคอุตสาหกรรมในไตรมาสที่ 2 ของปี 2564 ขยายตัวร้อยละ 16.8 ปรับตัวดีขึนจากไตรมาสที่ผ่านมา     ที่ขยายตัวร้อยละ 1.0 และจากช่วงเดียวกันของปีก่อน      ที่หดตัวร้อยละ 14.7 โดยปรับตัวดีขึนตามการผลิตสินค้าเพื่อการส่งออกเป็นหลัก เช่น อุตสาหกรรมยานยนต์     เครื่องคอมพิวเตอร์อุปกรณ์ เครื่องใช้ไฟฟ้า และผลิตภัณฑ์ยาง เป็นต้น
          6      ในไตรมาสที่ 2 ปี 2564 ดัชนีผลผลิตอุตสาหกรรมอยู่ที่ระดับ 96.54 ลดลงจากไตรมาสที่ผ่านมา (103.87) ร้อยละ 7.1 และเพิ่มขึนจากไตรมาสเดียวกัน            ของปี 2563 (80.17) ร้อยละ 20.41       อุตสาหกรรมที่ส่งผลให้ดัชนีผลผลิตอุตสาหกรรมลดลงจากไตรมาสที่ผ่านมา ได้แก่ การผลิตนำตาล     การผลิตยานยนต์ และการผลิตผลิตภัณฑ์ยางอื่น ๆ เป็นต้น      สำหรับอุตสาหกรรมที่ส่งผลให้ดัชนีผลผลิตอุตสาหกรรมเพิ่มขึนจากไตรมาสเดียวกันของปี 2563 ได้แก่ การผลิตยานยนต์ การผลิตชินส่วนและแผ่นวงจรอิเล็กทรอนิกส์ และการผลิตเหล็กและเหล็กกล้า         ขันมูลฐาน เป็นต้น      ในไตรมาสที่ 2 ปี 2564 ดัชนีการส่งสินค้าอยู่ที่ระดับ 97.90 ลดลงจากไตรมาสที่ผ่านมา (100.35) ร้อยละ 2.44 แต่เพิ่มขึนจากไตรมาสเดียวกันของปี 2563 (82.35) ร้อยละ 18.88      อุตสาหกรรมที่ส่งผลให้ดัชนีการส่งสินค้าลดลง    จากไตรมาสที่ผ่านมา ได้แก่ การผลิตยานยนต์ การผลิตผลิตภัณฑ์ยางอื่น ๆ และการผลิตคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ต่อพ่วง เป็นต้น      สำหรับอุตสาหกรรมที่ส่งผลให้ดัชนีการส่งสินค้าเพิ่มขึนจากไตรมาสเดียวกันของปี 2563 ได้แก่ การผลิตยานยนต์ การผลิตชินส่วนและแผ่นวงจรอิเล็กทรอนิกส์ และการผลิตเครื่องปรับอากาศ เป็นต้น      ในไตรมาสที่ 2 ปี 2564 ดัชนีสินค้าสำเร็จรูป      คงคลังอยู่ที่ระดับ 140.82 เพิ่มขึนจากไตรมาสที่ผ่านมา (139.24) ร้อยละ 1.1 และเพิ่มขึนจากไตรมาสเดียวกันของปี 2563 (128.11) ร้อยละ 9.9      อุตสาหกรรมที่ส่งผลให้ดัชนีสินค้าสำเร็จรูปคงคลังเพิ่มขึนจากไตรมาสที่ผ่านมา ได้แก่ การผลิตยานยนต์ การผลิตนำมันปาล์ม และการผลิตเหล็กและเหล็กกล้าขันมูลฐาน เป็นต้น      สำหรับอุตสาหกรรมที่ส่งผลให้ดัชนีสินค้าสำเร็จรูปคงคลังเพิ่มขึนจากไตรมาสเดียวกันของปี 2563 ได้แก่ การผลิตยานยนต์ การผลิตคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์  ต่อพ่วง และการผลิตเครื่องใช้ในครัวเรือน เป็นต้น      ในไตรมาสที่ 2 ปี 2564 อัตราการใช้กำลังการผลิตอยู่ที่ระดับร้อยละ 63.21 ลดลงจากไตรมาสที่ผ่านมา (ร้อยละ 67.44) แต่เพิ่มขึนจากไตรมาสเดียวกัน        ของปี 2563 (ร้อยละ 52.81)      อุตสาหกรรมที่ส่งผลให้อัตราการใช้กำลังการผลิตลดลงจากไตรมาสที่ผ่านมา ได้แก่ การผลิตยานยนต์   การผลิตนำตาล  และการผลิตผลิตภัณฑ์ยางอื่น ๆ     เป็นต้น      สำหรับอุตสาหกรรมที่ส่งผลให้อัตราการใช้กำลังการผลิตเพิ่มขึนจากไตรมาสเดียวกันของปี 2563 ได้แก่ การผลิตยานยนต์ การผลิตชินส่วนและแผ่นวงจรอิเล็กทรอนิกส์ และการผลิตเครื่องปรับอากาศ เป็นต้น

ดัชนีความเชื่อมั่นภาคอุตสาหกรรม

          ไตรมาส 2 อยู่ที่ระดับ 82.43 ที่มา : สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย        ในไตรมาสที่ 2 ของปี 2564 ดัชนีความเชื่อมั่นภาคอุตสาหกรรมมีค่า 82.43 ลดลงจากไตรมาส         ที่ผ่านมา (85.30) แต่เพิ่มขึนจากไตรมาสเดียวกัน      ของปี 2563 (78.10) ส่วนดัชนีความเชื่อมั่นคาดการณ์ล่วงหน้า 3 เดือน อยู่ที่ระดับ 91.80 ลดลงจากไตรมาสเดียวกันของปี 2563 (92.37)       ปัจจัยลบที่ส่งผลต่อการลดลงของความเชื่อมั่นภาคอุตสาหกรรมในช่วงไตรมาส 2 ปี 2564 ยังเป็นผลจากการระบาดของเชือไวรัสโควิด-19 ที่รุนแรงขึน       ในไทย จากการกลายพันธุ์ของไวรัสโควิด-19 มีจำนวน  ผู้ติดเชือในไตรมาสนีเพิ่มขึนประมาณ 2,000-5,000 คนต่อวัน ส่งผลต่อกิจกรรมทางเศรษฐกิจในประเทศ       ฟื้นตัวช้าจากการล็อกดาวน์ในพืนที่เสี่ยงสีแดงเข้ม (ก.ท.ม และปริมณฑล) นอกจากนีการฉีดวัคซีนยังทำได้จำกัดในกลุ่มบุคลากรทางการแพทย์และผู้ที่มีโรคเรือรัง 7 โรค เนื่องจากหลายปัจจัย เช่น ความเชื่อมั่นของประชาชนในการลงทะเบียนฉีดวัคซีนไม่เป็นไป         ตามเป้าหมาย แต่ก็ยังมีปัจจัยที่พยุงเศรษฐกิจ          ภาคการผลิตให้ดำเนินกิจการอย่างต่อเนื่อง              และไม่หยุดชะงัก โดยมีมาตรการ Good Factory Practice (GFP) ให้สถานประกอบการพิจารณาประเมินตนเองด้วยโปรแกรม Thai Stop Covid Plus และให้สถานประกอบกิจการพิจารณาคัดกรองพนักงานก่อนเข้าสถานประกอบกิจการอย่างเข้มงวดและมาตรการ Bubble and seal เป็นการสกัดเชือ        โควิด-19 และป้องกันผู้มีความเสี่ยงในพืนที่ที่มี          การแพร่ระบาดสูงขยายวงกว้างลุกลามสู่ภาคการผลิต   ในโรงงานโดยเฉพาะโรงงานขนาดใหญ่ แคมป์คนงาน และชุมชนในพืนที่เสี่ยงสีแดงเข้ม เป็นต้น

การค้าต่างประเทศของไทย "มูลค่าการค้าต่างประเทศในไตรมาสที่ 2 ปี 2564 ขยายตัวเพิ่มขึ้นเมื่อเทียบกับช่วงเดียวกัน ของปีก่อน ตามภาวะเศรษฐกิจโลกที่ยังคงฟื้นตัวต่อเนื่อง เป็นอานิสงส์ให้บรรยากาศการค้าในประเทศคู่ค้าหลักของไทยปรับตัวเพิ่มขึ้น อีกทั้งมาตรการฟื้นฟูเศรษฐกิจในแต่ละประเทศและความคืบหน้าในการเร่งกระจายวัคซีนโควิด-19 ให้เข้าถึงประชาชนทุกภาคส่วน เป็นปัจจัยหนุนให้การค้าระหว่างประเทศของไทยขยายตัวดีขึ้นตามลำดับ"

การค้าระหว่างประเทศของไทยไตรมาสที่ 2 ปี 2564 มีมูลค่าทังสิน 134,449.74 ล้านเหรียญสหรัฐฯ คิดเป็นมูลค่าการส่งออก 68,186.62 ล้านเหรียญสหรัฐฯ โดยขยายตัวเพิ่มขึนร้อยละ 31.84 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน และมูลค่าการนำเข้า 66,263.12 ล้านเหรียญสหรัฐฯ ขยายตัวเพิ่มขึนร้อยละ 47.95 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน โดยดุลการค้าไตรมาสที่ 2 ปี 2564 เกินดุล 1,923.50 ล้านเหรียญสหรัฐฯ โครงสร้างการส่งออกสินค้า

          การส่งออกสินค้าของไทยในไตรมาสที่ 2 ปี 2564 มีมูลค่า 68,186.62 ล้านเหรียญสหรัฐฯ            ซึ่งขยายตัวสูงถึงร้อยละ 31.84 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน โดยหมวดสินค้าหลักมีการเปลี่ยนแปลง ดังนี  สินค้าเกษตรกรรม มีมูลค่าการส่งออก 7,302.94 ล้านเหรียญสหรัฐฯ ขยายตัวร้อยละ 26.77 สินค้าอุตสาหกรรมการเกษตร มีมูลค่าการส่งออก 4,904.73 ล้านเหรียญสหรัฐฯ ขยายตัวร้อยละ 6.74 สินค้าอุตสาหกรรม มีมูลค่า     การส่งออก 53,514.95 ล้านเหรียญสหรัฐฯ ขยายตัวร้อยละ 33.76 สินค้าแร่และเชือเพลิงมีมูลค่าการส่งออก 2,463.95 ล้านเหรียญสหรัฐฯ ขยายตัวร้อยละ 82.04
          สินค้าอุตสาหกรรมที่มีการส่งออกขยายตัว อาทิ รถยนต์ อุปกรณ์และส่วนประกอบ (มูลค่าการส่งออก 6,928.35 ล้านเหรียญสหรัฐฯ ขยายตัวร้อยละ 120.41) เครื่องคอมพิวเตอร์ อุปกรณ์และส่วนประกอบ (มูลค่า          การส่งออก 5,483.91 ล้านเหรียญสหรัฐฯ ขยายตัวร้อยละ 30.79) ผลิตภัณฑ์ยาง (มูลค่าการส่งออก 3,671.97    ล้านเหรียญสหรัฐฯ ขยายตัวร้อยละ 48.57) เม็ดพลาสติก (มูลค่าการส่งออก 2,801.18 ล้านเหรียญสหรัฐฯ ขยายตัวร้อยละ 49.86) เคมีภัณฑ์ (มูลค่าการส่งออก 2,515.03 ล้านเหรียญสหรัฐฯ ขยายตัวร้อยละ 66.11) เป็นต้น
ไตรมาสที่ 2 ปี 2564 การส่งออกสินค้าไปยังตลาด คู่ค้าหลักของไทยมีอัตราการขยายตัวเพิ่มขึนทุกตลาด                  ทังสหภาพยุโรป (27 ประเทศ) อาเซียน (9 ประเทศ) สหรัฐอเมริกา จีน และญี่ปุ่น ซึ่งสัดส่วนการส่งออกทัง 5 ตลาด ได้แก่ อาเซียน   (9 ประเทศ) สหรัฐอเมริกา จีน ญี่ปุ่น และสหภาพยุโรป            (27 ประเทศ) รวมคิดเป็นร้อยละ 70.8 และการส่งออกไปยังตลาดอื่น ๆ คิดเป็นร้อยละ 29.2 ของการส่งออกทังหมด โดยมีรายละเอียด ดังนี

ไทยมีสัดส่วนมูลค่าการส่งออกไปอาเซียน (9 ประเทศ) สหรัฐอเมริกา จีน ญี่ปุ่น และสหภาพยุโรป (27 ประเทศ) คิดเป็น ร้อยละ 23.9, 15.0, 15.1, 9.0 และ 7.8 ตามลำดับ

อัตราการขยายตัวของมูลค่าการส่งออกเมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน พบว่า สหภาพยุโรป (27 ประเทศ) ขยายตัวเพิ่มขึนสูงที่สุด ร้อยละ 49.85 ถัดมา คือ อาเซียน (9 ประเทศ) สหรัฐอเมริกา จีน และญี่ปุ่น คิดเป็นร้อยละ 33.44, 30.41, 29.22 และ 19.97 ตามลำดับ

30.41, 29.22 และ 19.97 ตามลำดับ โครงสร้างการนำเข้าสินค้า

การนำเข้าสินค้าของไทยในไตรมาสที่ 2 ปี 2564 มีมูลค่า 66,263.12 ล้านเหรียญสหรัฐฯ ขยายตัวร้อยละ 47.95 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน โดยหมวดสินค้าหลักมีการเปลี่ยนแปลง ดังนี สินค้าเชือเพลิง มีมูลค่า การนำเข้า 9,830.89 ล้านเหรียญสหรัฐฯ ขยายตัวร้อยละ 92.89 สินค้าทุน มีมูลค่าการนำเข้า 15,931.92 ล้านเหรียญสหรัฐฯ ขยายตัวร้อยละ 27.31 สินค้าวัตถุดิบและกึ่งสำเร็จรูป มีมูลค่าการนำเข้า 29,180.45 ล้านเหรียญสหรัฐฯ ขยายตัวร้อยละ 53.12 สินค้าอุปโภคบริโภคมีมูลค่าการนำเข้า 7,460.53 ล้านเหรียญสหรัฐฯ ขยายตัวร้อยละ 30.31 ยานพาหนะและอุปกรณ์การขนส่ง มีมูลค่าการนำเข้า 3,709.89 ล้านเหรียญสหรัฐฯ ขยายตัวร้อยละ 61.51 และสินค้าหมวดอาวุธ ยุทธปัจจัยและสินค้าอื่น ๆ มีมูลค่าการนำเข้า 149.44 ล้านเหรียญสหรัฐฯ ขยายตัวร้อยละ 51.08 เศรษฐกิจโลก ไตรมาสที่ 2 ปี 2564

"ภาพรวมภาวะเศรษฐกิจโลก บรรยากาศการค้า และภาคการผลิตปรับตัวเพิ่มขึ้น เนื่องจากมาตรการฟื้นฟูและกระตุ้นเศรษฐกิจในแต่ละประเทศ รวมทั้งการเร่งฉีดวัคซีนเพื่อสร้างภูมิคุ้นกันหมู่ที่มีอย่างต่อเนื่อง ส่งผลให้ ความเชื่อมั่นในการดำเนินกิจกรรมทางเศรษฐกิจขับเคลื่อนต่อไปได้"

สรุปเครื่องชี้ภาวะเศรษฐกิจของประเทศที่สำคัญ ไตรมาสที่ 2 ปี 2564

(%YoY) Unemp. Policy GDP Inflation MPI Export Import

          Rate Rate สหรัฐฯ  12.2  4.8   0.2 a 49.9  38.1 At 5.8 At 0.00-0.25 จีน  7.9  1.4  14.1 a 49.0 a 28.2 aAt 3.9 aAt 4.35 ญี่ปุ่น  1.6 a 0.1  1.1 a 42.5  21.9 At 2.9 At -0.10 เกาหลีใต้  5.9  2.5  4.4 a 42.1  37.5 At 3.9 At 0.50 สิงคโปร์  14.7    2.2  11.4 a 11.6 a 7.2 aAt 2.6 aAt 0.15 ไทย  7.5  2.4  20.4  31.8  47.9 At 2.0 At 0.50 ที่มา : https://www.ceicdata.com, https://data.imf.org, https://www.nesdc.go.th, https://www.trademap.org, http://tradereport.moc.go.th,  หมายเหตุ : a เป็นตัวเลขคาดการณ์ไตรมาสที่ 1 ปี 2564 ภาวะเศรษฐกิจโลกฟื้นตัวต่อเนื่อง ตามอุปสงค์การค้าระหว่างประเทศ โดยเฉพาะการส่งออกและนำเข้า        ที่ขยายตัวเพิ่มขึนอย่างชัดเจน ซึ่งส่งผลต่อเนื่องมายังภาคการผลิตที่หลายประเทศปรับตัวอยู่ในเกณฑ์ดี ด้านอัตรา     การว่างงาน อัตราเงินเฟ้อ และอัตราดอกเบียนโยบายยังคงอยู่ในภาวะทรงตัว

ธนาคารกลางสหรัฐฯ คงระดับอัตราดอกเบียนโยบายที่ 0.00-0.25% เพื่อสนับสนุนการฟื้นฟูเศรษฐกิจและ การลงทุนภายในประเทศ ก่อให้เกิดสภาพคล่องในระบบการเงินและผลักดันให้ภาคธุรกิจเติบโตได้ต่อเนื่อง

สำหรับราคานำมันดิบมีแนวโน้มปรับตัวสูงขึน เนื่องจากเศรษฐกิจในกลุ่มประเทศขนาดใหญ่ฟื้นตัว ส่งผลให้ มีความต้องการใช้นำมันเพิ่มขึนตามการขยายตัวของภาคเศรษฐกิจ โดยราคานำมันดิบดูไบไตรมาส 2 ปี 2564 เฉลี่ยอยู่ที่ 67.5 ดอลลาร์สหรัฐฯ ต่อบาร์เรล ขยายตัวเพิ่มขึนเมื่อเทียบกับไตรมาส 2 ปี 2563 เฉลี่ยอยู่ที่ 30.9 ดอลลาร์สหรัฐฯ ต่อบาร์เรล ส่วนราคานำมันดิบ NYMEX ส่งมอบช่วงเดือนกรกฎาคมเฉลี่ยอยู่ที่ 72.6 ดอลลาร์สหรัฐฯต่อบาร์เรล

          อย่างไรก็ตาม ภาวะเศรษฐกิจโลกยังคงมีประเด็นที่ต้องจับตามอง อาทิ การแพร่ระบาดของเชือไวรัส       โควิด-19 ที่ยังคงยืดเยือและการกลายพันธุ์ ซึ่งอาจส่งผลให้ภาวะเศรษฐกิจโลกเติบโตได้ในกรอบที่จำกัด รวมถึง ต้นทุนด้านโลจิสติกส์ที่ปรับสูงขึนทังค่าระวางเรือขนส่งสินค้าที่เกิดจากการขาดแคลนตู้คอนเทนเนอร์และราคานำมันที่มีทิศทางปรับตัวสูงขึน และความผันผวนของอัตราแลกเปลี่ยน เป็นต้น ทังนี ในภาพรวมเศรษฐกิจโลกยังคงได้รับอานิสงส์จากการขยายตัวของปริมาณการค้าในกลุ่มประเทศเศรษฐกิจหลัก ประกอบกับการฉีดวัคซีนโควิด-19       ในอัตราเร่ง เป็นปัจจัยสำคัญที่ช่วยสร้างความเชื่อมั่นให้การดำเนินกิจกรรมทางเศรษฐกิจในระยะข้างหน้าดำเนินต่อไปได้ อุตสาหกรรมเหล็กและเหล็กกล้า
          ดัชนีผลผลิตอุตสาหกรรมเหล็กไตรมาสที่ 2 ปี 2564 ขยายตัวเมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปี 2563           จากการผลิตผลิตภัณฑ์ในกลุ่มเหล็กทรงยาวและเหล็กทรงแบนขยายตัว เช่น  ลวดเหล็กแรงดึงสูง เหล็กโครงสร้างรูปพรรณชนิดรีดร้อน เหล็กแผ่นรีดเย็น เหล็กแผ่นเคลือบดีบุก และเหล็กแผ่นเคลือบสังกะสี

ดัชนีผลผลิตอุตสาหกรรม ที่มา : สำนักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม

          ปริมาณการบริโภคในประเทศและมูลค่าการนำเข้า ที่มา : สำนักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรมและสถาบันเหล็กและเหล็กกล้า               แห่งประเทศไทย
            การผลิตไตรมาสที่ 2 ปี 2564 ดัชนีผลผลิตอุตสาหกรรม มีค่า 109.3 ขยายตัวจากไตรมาสเดียวกันของปีก่อน ร้อยละ 33.3 (%YoY) และขยายตัวจากไตรมาสที่ผ่านมาร้อยละ 1.0 (%QoQ) เนื่องจาก การฟื้นตัวของอุตสาหกรรมต่อเนื่อง รวมถึงราคาเหล็ก        ในตลาดโลกที่สูงขึนเมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีที่ผ่านมา โดยเมื่อเทียบกับไตรมาสเดียวกันของปีก่อน การผลิตเหล็กทรงยาวขยายตัว   ร้อยละ 24.7 ผลิตภัณฑ์ที่มีการผลิตขยายตัวมากที่สุด คือ ลวดเหล็ก   แรงดึงสูง ขยายตัวร้อยละ 56.5 รองลงมา คือ เหล็กโครงสร้างรูปพรรณชนิดรีดร้อน ขยายตัวร้อยละ 33.1 และ ลวดเหล็ก ขยายตัวร้อยละ 27.2 ด้านการผลิตเหล็กทรงแบน ขยายตัวร้อยละ 61.8 ผลิตภัณฑ์ที่การผลิตขยายตัวมากที่สุด คือ เหล็กแผ่นรีดเย็น ขยายตัวร้อยละ 100.4 รองลงมา คือ เหล็กแผ่นเคลือบดีบุก และเหล็กแผ่นเคลือบสังกะสี ขยายตัวร้อยละ 82.0 และ 70.2 ตามลำดับ

การบริโภคในประเทศ ไตรมาสที่ 2 ปี 2564 มีปริมาณ 5.2 ล้านตัน ขยายตัวจากไตรมาสเดียวกันของปีก่อนร้อยละ 37.3 (%YoY) และขยายตัวจากไตรมาสที่ผ่านมา ร้อยละ 6.5 (%QoQ) โดยเมื่อเทียบกับไตรมาสเดียวกันของปีก่อน การบริโภคเหล็กทรงยาวขยายตัวร้อยละ 34.6 จากการบริโภคเหล็กเส้นและเหล็กโครงสร้างรีดร้อน ขยายตัวร้อยละ 48.5 และเหล็กลวด ขยายตัวร้อยละ 28.6 สำหรับการบริโภคเหล็กทรงแบน ขยายตัวร้อยละ 38.7 จากการบริโภคเหล็กแผ่นบางรีดเย็น ขยายตัวร้อยละ 70.3 รองลงมาคือ เหล็กแผ่นบางรีดร้อน ขยายตัวร้อยละ 60.8 และเหล็กแผ่นรีดร้อน ขยายตัวร้อยละ 33.1

การนำเข้าไตรมาสที่ 2 ปี 2564 มีมูลค่า 3.4 พันล้านเหรียญสหรัฐฯ ขยายตัวจากไตรมาสเดียวกันของปีก่อน ร้อยละ 67.2 (%YoY) และ ขยายตัวจากไตรมาสที่แล้วร้อยละ 29.4 (%QoQ) โดยเมื่อเทียบกับไตรมาสเดียวกันของปีก่อน การนำเข้าเหล็กทรงยาวขยายตัวร้อยละ 42.1 ผลิตภัณฑ์ที่มีการนำเข้าขยายตัวมากที่สุด คือ เหล็กลวด ประเภท Carbon steel ขยายตัวร้อยละ 90.9 รองลงมาคือ เหล็กเส้น ประเภท Carbon Steel ขยายตัวร้อยละ 72.4 และเหล็กลวด ประเภท Alloy steel ขยายตัวร้อยละ 70.7 สำหรับการนำเข้าเหล็กทรงแบน ขยายตัวร้อยละ 76.4 ผลิตภัณฑ์ที่มีการนำเข้าขยายตัวมากที่สุด คือเหล็กแผ่นรีดร้อน ประเภท Alloy steel ขยายตัวร้อยละ 223.2 รองลงมาคือ เหล็กแผ่นบางรีดร้อน ประเภท Alloy steel ขยายตัวร้อยละ 180.9 และเหล็กแผ่นบางรีดร้อน ประเภท Carbon steel ขยายตัวร้อยละ151.1 แนวโน้มอุตสาหกรรมเหล็กและเหล็กกล้าไตรมาสที่ 3 ของปี 2564

          แนวโน้มอุตสาหกรรมเหล็กและเหล็กกล้าไตรมาสที่ 3 ปี 2564 คาดการณ์ว่าจะขยายตัวเมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน เนื่องจากการฟื้นตัวของอุตสาหกรรมต่อเนื่อง ประกอบกับ         ราคาเหล็กในตลาดโลกยังอยู่ในระดับสูง อย่างไรก็ตามจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของเชือไวรัสโควิด-19 จึงยังมีความเสี่ยงจากการหยุดชะงักของอุตสาหกรรมต่อเนื่องในประเทศ

อุตสาหกรรมไฟฟ้า

          การผลิตสินค้าเครื่องใช้ไฟฟ้าในไตรมาสที่ 2 ปี 2564 เพิ่มขึนร้อยละ 42.6 เมื่อเปรียบเทียบกับไตรมาสเดียวกันกับปีก่อน เนื่องจากเศรษฐกิจโลกเริ่มฟื้นตัว ทำให้ประเทศไทยมีปริมาณคำสั่งซือสินค้าเครื่องใช้ไฟฟ้าเพิ่มมากขึน โดยสินค้าที่มีการปรับตัวเพิ่มขึน ได้แก่ ตู้เย็น สายไฟฟ้าและสายเคเบิล หม้อแปลงไฟฟ้า และพัดลม และมีมูลค่าการส่งออกเพิ่มขึนในตลาดสหรัฐอเมริกา จีน และญี่ปุ่น ดัชนีผลผลิต มูลค่าการนำเข้า และมูลค่าการส่งออก                  การจำหน่ายในประเทศ ของเครื่องใช้ไฟฟ้า

140 111.0 อุตสาหกรรมไฟฟ้า120 84.6 88.5

79.0 90.2 94.4 100

80 40 20 0Q3-2562Q4-2562Q1-2563Q2-2563Q3-2563Q4-2563Q1-2564Q2-2564 4000.0 3442.9 3500.0

2878.1 2893.8 3000.0 2394.6 2500.0 1967.2 2000.0 1697.0

1405.2 1500.0 1586.0 1038.0 964.4 1252.8

1224.7 1137.0 1554.4 965.3 1059.5 1233.7 1000.0 764.0 883.3 752.8 735.4 922.1 834.1 509.6 513.3 588.5 468.1 500.0 458.5 629.0 237.2 450.1 444.2 190.0 261.3 274.6 243.5 178.6 0.0 32.9 9.1 29.0 22.2 25.3 11.0 Q1-2563 Q2-2563 Q3-2563 Q4-2563 Q1-2564 Q2-2564 เครื่องปรับอากาศคอมเพรสเซอร์พัดลม เครื่องซักผ้า 7,500 7,000 5,976.65,853.6 6,028.0 6,159.3 6,500 6,000 5,500 5,085.5 5,000 4,221.8 4,446.2 4,518.9 4,198.64,004.6 3,821.7 4,500 3,427.3 3,698.5 4,000 3,500 3,000 2,500 2,000 1,500 1,000

500

0Q3-2562Q4-2562Q1-2563Q2-2563Q3-2563Q4-2563Q1-2564Q2-2564

          มูลค่าการนำเข้ามูลค่าการส่งออกที่มา : สำนักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม กระทรวงพาณิชย์ และสถาบันไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์       การผลิตเครื่องใช้ไฟฟ้า ไตรมาส 2 ปี 2564 ดัชนีผลผลิตอยู่ที่ 112.6 โดยเพิ่มขึนจากไตรมาสที่แล้วร้อยละ 0.57 (%QoQ) และเพิ่มขึนเมื่อเทียบกับไตรมาสเดียวกันของปีก่อน ร้อยละ 42.6 (%YoY)  เนื่องจากตลาดภายในประเทศและต่างประเทศมีคำสั่งซือที่เพิ่มขึน จากการฟื้นตัวของเศรษฐกิจโลกจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของเชือไวรัสโควิด-19 และความต้องการจากตลาดหลักของโลก โดยสินค้าที่ปรับตัวเพิ่มขึน ได้แก่ เครื่องซักผ้า เครื่องปรับอากาศ หม้อหุงข้าว   สายเคเบิล คอมเพรสเซอร์ เตาอบไมโครเวฟ  มอเตอร์ไฟฟ้า ตู้เย็น     พัดลม กระติกนำร้อน และสายไฟฟ้า เพิ่มขึนร้อยละ 59.8, 53.3, 45.6, 45.5, 44.9, 43.1, 40.6, 38.9, 34.3, 32.4 และ 22.2 ตามลำดับ        การจำหน่ายในประเทศ ไตรมาส 2 ปี 2564 สินค้าที่มีการปรับตัวเพิ่มขึนเมื่อเทียบกับไตรมาสเดียวกันของปีก่อน ได้แก่ เครื่องซักผ้า หม้อหุงข้าว คอมเพรสเซอร์ กระติกนำร้อน สายเคเบิล เตาอบไมโครเวฟ สายไฟฟ้า ตู้เย็น มอเตอร์ไฟฟ้า พัดลม และเครื่องปรับอากาศ เพิ่มขึนร้อยละ 60.3, 53.6, 38.5, 32.8, 21.7, 19.8, 14.9, 14.1, 9.2, 4.9 และ 3.2 ตามลำดับ     การนำเข้าเครื่องใช้ไฟฟ้าไตรมาสที่ 2 ปี 2564 มีมูลค่า 4,518.9 ล้านเหรียญสหรัฐฯ เพิ่มขึนจากไตรมาสที่แล้ว  ร้อยละ 1.6 (%QoQ) และเพิ่มขึนจากไตรมาสเดียวกันของ ปีก่อนร้อยละ 31.9 (%YoY) โดยสินค้าหลักที่มีการนำเข้าเพิ่มขึน ได้แก่ ตู้เย็น พัดลม เครื่องซักผ้า คอมเพรสเซอร์หม้อแปลงไฟฟ้า เตาอบไมโครเวฟ และมอเตอร์ไฟฟ้า เพิ่มขึนร้อยละ 71.1, 66.9, 63.9, 57.5, 54.1, 42.8 และ 42.29 ตามลำดับ    การส่งออกเครื่องใช้ไฟฟ้า ไตรมาส 2 ปี 2564 มีมูลค่า  การส่งออก 6,889.8 ล้านเหรียญสหรัฐฯ โดยลดลงจาก ไตรมาสที่แล้วร้อยละ 3.5 (%QoQ) แต่เพิ่มขึนจากไตรมาสเดียวกันของปีก่อนร้อยละ 35.5 (%YoY) จากตลาดสหรัฐอเมริกา จีน และญี่ปุ่น โดยตู้เย็น สายไฟฟ้าและ  สายเคเบิล หม้อแปลงไฟฟ้า และพัดลม ปรับตัวเพิ่มขึนร้อยละ 10.4, 6.4, 2.4 และ 4.3 ตามลำดับ ในขณะที่เครื่องปรับอากาศ เตาอบไมโครเวฟ มอเตอร์ไฟฟ้า เครื่องซักผ้า ปรับตัวลดลงร้อยละ 9.7, 7.7, 6.9 และ 4.5 ตามลำดับ แนวโน้มอุตสาหกรรมเครื่องใช้ไฟฟ้า ไตรมาสที่ 3         ของปี 2564

คาดว่าดัชนีผลผลิตและมูลค่าการส่งออกจะยังคงมีการขยายตัวได้เพิ่มขึน โดยจะสะท้อนภาวะการผลิตและการส่งออกที่แท้จริงของประเทศได้มากขึน เนื่องจากมีฐานการคำนวณดัชนีและการส่งออกที่เริ่มกลับสู่ภาวะปกติจากสถานการณ์โควิด-19 โดยคาดว่าจะขยายตัวประมาณ ร้อยละ 10.0 และ 7.0 ตามลำดับ อุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์

          การผลิตสินค้าอิเล็กทรอนิกส์ในไตรมาสที่ 2 ปี 2564 ปรับตัวเพิ่มขึนร้อยละ 18.0 เมื่อเปรียบเทียบกับไตรมาสเดียวกันของปีก่อน เนื่องจากตลาดส่งออกหลักของประเทศไทยเริ่มฟื้นตัวจากสถานการณ์แพร่ระบาดของเชือไวรัสโควิด-19 รวมทังการขยายโครงข่ายและพัฒนาอิเล็กทรอนิกส์ ระบบเทคโนโลยี 5G, Data Center, IoT และผลิตภัณฑ์สำหรับโครงสร้างพืนฐานทาง IT ทำให้มีการผลิตและคำสั่งซือในต่างประเทศเพิ่มขึน โดยสินค้าที่มีการผลิตปรับตัวเพิ่มขึน ได้แก่ HDD และวงจรรวม (IC) มีมูลค่าการส่งออกเพิ่มขึนในตลาดสหรัฐอเมริกา จีน และเอเชีย ที่มา : สำนักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม กระทรวงพาณิชย์ และสถาบันไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์        การผลิตสินค้าอิเล็กทรอนิกส์ ในไตรมาสที่ 2 ปี 2564 มีดัชนีผลผลิตอยู่ที่ 99.0 โดยเพิ่มขึนจากไตรมาสที่แล้วร้อยละ 0.4 (%QoQ) และเพิ่มขึนเมื่อเทียบกับไตรมาสเดียวกันของปีก่อนร้อยละ 18.0 (%YoY) โดยสินค้าอิเล็กทรอนิกส์มีการปรับตัวเพิ่มขึน ได้แก่ วงจรพิมพ์ (PCBA), แผงวงจร (PWB), วงจรรวม (IC), Semiconductor devices transistor และ HDD โดยปรับตัวเพิ่มขึนร้อยละ 43.6, 28.0, 21.5, 14.0 และ 12.5 ตามลำดับ ในขณะที่สินค้าอิเล็กทรอนิกส์ปรับตัวลดลง ได้แก่ Printer โดยปรับตัวลดลงร้อยละ 14.3 เนื่องจากสถานการณ์การแพร่ระบาด ของเชือไวรัสโควิด-19 ที่ ส่งผลกระทบต่ออุตสาหกรรมการผลิต อย่างไรก็ตาม ชินส่วนอิเล็กทรอนิกส์ยังจำเป็นต่อการพัฒนาระบบเทคโนโลยี 5G, Data Center และผลิตภัณฑ์สำหรับโครงสร้างพืนฐานทาง IT ทำให้ยังคงมีความต้องการสินค้าอิเล็กทรอนิกส์เพิ่มขึน      การนำเข้าสินค้าอิเล็กทรอนิกส์ ในไตรมาสที่ 2  ปี 2564 มีมูลค่าการนำเข้า 10,257.1 ล้านเหรียญสหรัฐฯ เพิ่มขึนจากไตรมาสที่แล้วร้อยละ 2.4 (%QoQ) และเพิ่มขึนร้อยละ 17.4 (%YoY) ในไตรมาสเดียวกันของปีก่อน  โดยสินค้าหลักที่มีการปรับตัวเพิ่มขึน ได้แก่ วงจรพิมพ์  วงจรรวม (IC) เครื่องพิมพ์ เครื่องทำสำเนา และ ไดโอด ทรานซิสเตอร์ อุปกรณ์กึ่งตัวนำและส่วนประกอบ ปรับตัวเพิ่มขึนร้อยละ 26.8, 23.1, 21.2 และ 11.0 ตามลำดับ      การส่งออกสินค้าอิเล็กทรอนิกส์ ไตรมาสที่ 2  ปี 2564 มีมูลค่าการส่งออก 10,050.3 ล้านเหรียญสหรัฐฯ เพิ่มขึนจากไตรมาสที่แล้วร้อยละ 1.3 (%QoQ) และเพิ่มขึนร้อยละ 23.0 (%YoY) จากไตรมาสเดียวกันของปีก่อน  จากการส่งออกไปตลาดหลักปรับตัวเพิ่มขึน ได้แก่ สหรัฐอเมริกา จีน และเอเชีย โดย HDD และวงจรรวม (IC) เพิ่มขึนร้อยละ 30.2 และ 8.1 ตามลำดับ ในขณะที่วงจรพิมพ์(PCBA) และไดโอด ทรานซิสเตอร์ อุปกรณ์กึ่งตัวนำและส่วนประกอบ ปรับตัวลดลงร้อยละ 3.9 และ 3.6 ตามลำดับ แนวโน้มอุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์ ไตรมาสที่ 3 ปี 2564

คาดว่าดัชนีผลผลิตและมูลค่าการส่งออกจะยังขยายตัวได้ต่อเนื่องประมาณร้อยละ 8.0 และ 7.0 ตามลำดับ ตามการขยายตัวของตลาดโลกและตลาดผู้บริโภคหลักของอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ที่มีเศรษฐกิจที่เริ่มฟื้นตัว เช่น ประเทศจีน สหรัฐอเมริกา และยุโรป เป็นต้น ดังนัน ประเทศไทยน่าจะมีการผลิตและการส่งออกอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์เพิ่มขึนได้ตามการขยายตัวของตลาดโลก อย่างไรก็ตามต้องจับตา ได้แก่ สถานการณ์ขาดแคลนซิป ทั่วโลก ซึ่งอาจส่งผลต่อการผลิตและส่งออกสินค้าอิเล็กทรอนิกส์ของประเทศในระยะสันได้

อุตสาหกรรมรถยนต์และชิ้นส่วนรถยนต์

          ปริมาณการผลิตรถยนต์ในไตรมาสที่ 2 ปี 2564 มีปริมาณการผลิตขยายตัว เมื่อเปรียบเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน เนื่องจากฐานปีที่ผ่านมาต่ำจากการหยุดการผลิตชั่วคราว จากการแพร่ระบาดของเชือไวรัสโควิด-19 ในระลอกแรก สำหรับการจำหน่ายในประเทศมีการขยายตัว เนื่องจากฐานปีที่ผ่านมาต่ำ รวมทังตลาดส่งออกมีการขยายตัวเนื่องจากเศรษฐกิจโลกเริ่มมีการฟื้นตัวจากความชัดเจนของมาตรการวัคซีนโควิด-19 และมาตรการกระตุ้นเศรษฐกิจ           ในหลายประเทศที่เริ่มทยอยออกมาแนวโน้มอุตสาหกรรมรถยนต์ ไตรมาสที่ 3 ของปี 2564
          จากการคาดการณ์โดยสำนักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม  ประมาณการในไตรมาสที่ 3 ปี 2564 จะมีการผลิตรถยนต์กว่า 380,000 คัน  โดยแบ่งเป็น การผลิตเพื่อจำหน่ายในประเทศร้อยละ 45-50 และการผลิตเพื่อส่งออกร้อยละ 50-55 การผลิตรถยนต์ในไตรมาสที่ 2 ปี 2564 มีจำนวน 378,768 คัน ลดลงจากไตรมาสที่ 1 ปี 2564 ร้อยละ18.69 (%QoQ)  แต่เพิ่มขึนจากไตรมาสเดียวกันกับปีก่อน ร้อยละ 148.45 (%YoY) โดยมีสัดส่วนแบ่งเป็น การผลิต รถยนต์นั่ง ร้อยละ 33 รถกระบะ 1 ตันและอนุพันธ์  ร้อยละ 64 และรถยนต์เพื่อการพาณิชย์อื่น ๆ ร้อยละ 3 การจำหน่ายรถยนต์ในประเทศในไตรมาสที่ 2 ปี 2564 มีจำนวน 175,832 คัน ลดลงจากไตรมาสที่ 1 ปี 2564 ร้อยละ 6.70 (%QoQ)     แต่เพิ่มขึนจากไตรมาสเดียวกันของปีก่อน ร้อยละ 36.79 (%YoY)  การส่งออกรถยนต์ในไตรมาสที่ 2 ปี 2564 มีจำนวน 215,381 คัน ลดลงจากไตรมาสที่ 1 ปี 2564 ร้อยละ 16.55 (%QoQ)  แต่เพิ่มขึนจากไตรมาสเดียวกันของปีก่อน ร้อยละ 114.80 (%YoY) โดยมีสัดส่วนแบ่งเป็นการส่งออกรถยนต์นั่ง ร้อยละ 29 รถกระบะ 1 ตัน ร้อยละ 62  และรถ PPV ร้อยละ 9 มูลค่าการส่งออกของส่วนประกอบและอุปกรณ์รถยนต์ในไตรมาสที่ 2 ปี 2564 มีมูลค่า 2,556.20 ล้านเหรียญสหรัฐฯ ลดลงจากไตรมาสที่ 1 ปี 2564 ร้อยละ 5.72  (%QoQ) แต่เพิ่มขึนจากไตรมาสเดียวกันของปีก่อนร้อยละ 118.22 (%YoY) โดยตลาดส่งออกที่สำคัญของส่วนประกอบและอุปกรณ์รถยนต์ ได้แก่ สหรัฐอเมริกา ญี่ปุ่น และอินโดนีเซียมูลค่าการนำเข้าของส่วนประกอบและอุปกรณ์ ยานยนต์ในไตรมาสที่ 2 ปี 2564 มีมูลค่า  2,898.30 ล้านเหรียญสหรัฐฯ ลดลงจากไตรมาสที่ 1 ปี 2564  ร้อยละ 0.51 (%QoQ) และเพิ่มขึนจากไตรมาสเดียวกันของปีก่อน ร้อยละ 58.68 (%YoY) โดยตลาดนำเข้า    ที่สำคัญของส่วนประกอบและอุปกรณ์รถยนต์ ได้แก่ ญี่ปุ่น จีน และสหรัฐอเมริกาอุตสาหกรรมรถจักรยานยนต์และชิ้นส่วนรถจักรยานยนต์
          ปริมาณการผลิตรถจักรยานยนต์ในไตรมาสที่ 2 ปี 2564 มีปริมาณการผลิตขยายตัว เมื่อเปรียบเทียบกับ ช่วงเดียวกันของปีก่อน โดยเป็นการขยายตัวของตลาดในประเทศและตลาดส่งออก เนื่องจากฐานปีที่ผ่านมาต่ำ           และเศรษฐกิจโลกเริ่มมีการฟื้นตัวจากความชัดเจนของมาตรการวัคซีนโควิด-19 แนวโน้มอุตสาหกรรมรถจักรยานยนต์ ไตรมาสที่ 3 ของปี 2564
          จากการคาดการณ์โดยสำนักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม    ประมาณการในไตรมาสที่ 3 ปี 2564 จะมีการผลิตรถจักรยานยนต์         กว่า 480,000 คัน โดยแบ่งเป็นการผลิตเพื่อจำหน่ายในประเทศร้อยละ 80-85  และการผลิตเพื่อการส่งออกประมาณร้อยละ 15-20 การผลิตรถจักรยานยนต์ในไตรมาสที่ 2 ปี 2564 มีจำนวน  488,908 คัน ลดลงจากไตรมาสที่ 1 ปี 2564 ร้อยละ 5.32 (%QoQ)  แต่เพิ่มขึนจากไตรมาสเดียวกันกับปีก่อน ร้อยละ 135.75 (%YoY)  การจำหน่ายรถจักรยานยนต์ในประเทศในไตรมาสที่ 2 ปี 2564 มีจำนวน  436,4836  คัน เพิ่มขึนจากไตรมาสที่ 1 ปี 2564 ร้อยละ 0.32 (%QoQ) และเพิ่มขึนจากไตรมาสเดียวกันกับปีก่อน ร้อยละ 45.01 (%YoY) การส่งออกรถจักรยานยนต์ในไตรมาสที่ 2 ปี 2564 มีจำนวน 194,643 คัน  (เป็นการส่งออก CBU  120,213 คัน และ CKD 74,430 ชุด) ลดลงจากไตรมาสที่ 1 ปี 2564 ร้อยละ 27.77 (%QoQ) แต่เพิ่มขึนจากไตรมาสเดียวกันของปีก่อน  ร้อยละ 92.79 (%YoY) มูลค่าการส่งออกของส่วนประกอบรถจักรยานยนต์ในไตรมาสที่ 2 ปี 2564 มีมูลค่า 222.96 ล้านเหรียญสหรัฐฯ ลดลงจากไตรมาสที่ 1 ปี 2564 ร้อยละ 24.59 (%QoQ) แต่เพิ่มขึนจากไตรมาสเดียวกันของปีก่อน  ร้อยละ 105.23 (%YoY) โดยตลาดส่งออกที่สำคัญของส่วนประกอบรถจักรยานยนต์ ได้แก่ กัมพูชา บราซิล และญี่ปุ่นมูลค่าการนำเข้าของส่วนประกอบและอุปกรณ์รถจักรยานยนต์และรถจักรยาน

ในไตรมาสที่ 2 ปี 2564 มีมูลค่า 263.49 ล้านเหรียญสหรัฐฯ ลดลงจากไตรมาสที่ 1 ปี 2564 ร้อยละ 0.90 (%QoQ) แต่เพิ่มขึนจากไตรมาสเดียวกันของปีก่อน ร้อยละ 96.84 (%YoY) โดยตลาดนำเข้าที่สำคัญของส่วนประกอบและอุปกรณ์รถจักรยานยนต์ ได้แก่ ญี่ปุ่นจีน และสหรัฐอเมริกา อุตสาหกรรมเคมีภัณฑ์

อุตสาหกรรมเคมีภัณฑ์ไตรมาสที่ 2 ปี 2564 มูลค่าการส่งออกและการนำเข้าขยายตัว เมื่อเทียบกับไตรมาสเดียวกันของปีก่อน การส่งออกและการนำเข้าขยายตัว เป็นผลมาจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของเชือไวรัสโควิด-19 ที่ส่งผลให้อุตสาหกรรมเคมีภัณฑ์บางประเภทขยายตัว เช่น เคมีภัณฑ์อินทรีย์ เคมีภัณฑ์เบ็ดเตล็ด และปุ๋ยเคมี การตลาดและการจำหน่าย

ดัชนีผลผลิตและดัชนีการส่งสินค้าที่มา : สำนักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม

มูลค่าการส่งออกและการนำเข้าเคมีภัณฑ์

          (ล้านเหรียญสหรัฐ)ที่มา : ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร สำนักงานปลัดกระทรวงดัชนีผลผลิต  ไตรมาสที่ 2 ปี 2564 ขยายตัวร้อยละ 5.49 เมื่อเทียบกับไตรมาสก่อนหน้า (%QoQ) แต่หดตัวร้อยละ 4.03 เมื่อเทียบกับไตรมาสเดียวกันของปีก่อน (%YoY)  ดัชนีผลผลิตที่หดตัว เช่น ปุ๋ยเคมี และนำยาล้างจาน  ดัชนีการส่งสินค้า  ไตรมาสที่ 2 ปี 2564 ขยายตัวร้อยละ 10.85 เมื่อเทียบกับไตรมาสก่อนหน้า (%QoQ) และขยายตัว           ร้อยละ 9.41 เมื่อเทียบกับไตรมาสเดียวกันของปีก่อน (%YoY) ดัชนีการส่งสินค้าที่ขยายตัว เช่น แป้งฝุ่น และสีอุตสาหกรรม การส่งออกเคมีภัณฑ์  ไตรมาสที่ 2 ปี 2564 มีมูลค่า 2,549 ล้านเหรียญสหรัฐฯ ขยายตัวร้อยละ 8.38 เมื่อเทียบกับ      ไตรมาสก่อนหน้า (%QoQ) และขยายตัวร้อยละ 28.19 เมื่อเทียบกับไตรมาสเดียวกันของปีก่อน (%YoY) โดยผลิตภัณฑ์หลักที่ส่งผลให้มูลค่าการส่งออกขยายตัว เช่น เคมีภัณฑ์อินทรีย์ เคมีภัณฑ์เบ็ดเตล็ด และปุ๋ยเคมี การส่งออกขยายตัวในตลาดหลัก เช่น จีน เวียดนาม ญี่ปุ่น และอินเดีย  การนำเข้าเคมีภัณฑ์ ไตรมาสที่ 2 ปี 2564 มีมูลค่ารวม  4,668.65 ล้านเหรียญสหรัฐ ขยายตัวร้อยละ7.95 เมื่อเทียบกับ    ไตรมาสก่อนหน้า (%QoQ) และขยายตัวร้อยละ 28.19           เมื่อเทียบกับไตรมาสเดียวกันของปีก่อน (%YoY)              โดยผลิตภัณฑ์หลักที่ส่งผลให้มูลค่าการนำเข้าขยายตัว       เช่น ปุ๋ยเคมี และเคมีภัณฑ์เบ็ดเตล็ด เป็นต้น แนวโน้มอุตสาหกรรมเคมีภัณฑ์ ไตรมาสที่ 3 ของปี 2564

แนวโน้มอุตสาหกรรมเคมีภัณฑ์ไตรมาสที่ 3 ปี 2564 คาดว่าการส่งออกและการนำเข้าเคมีภัณฑ์มีแนวโน้มขยายตัวเมื่อเทียบกับไตรมาสเดียวกันของปีก่อน เนื่องจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของไวรัสโควิด-19 ในต่างประเทศเริ่มผ่อนคลายมากขึน และการฟื้นตัวตามทิศทางการบริโภคในประเทศที่คาดว่าจะทยอยฟื้นตัว จากการช่วยเหลือตามมาตรการต่าง ๆ ของภาครัฐ อย่างไรก็ตาม ยังคงมีปัจจัยที่ส่งผลกระทบต่อการส่งออกของอุตสาหกรรมเคมีภัณฑ์ เช่น ราคานำมันดิบ ในตลาดโลก และสถานการณ์การแพร่ระบาดของเชือไวรัสโควิด-19 ระลอกใหม่ เป็นต้น อุตสาหกรรมพลาสติก

          อุตสาหกรรมพลาสติกไตรมาสที่ 2 ปี 2564 มีปริมาณการส่งออกขยายตัวเมื่อเทียบกับไตรมาสเดียวกัน  ของปีก่อน ขยายตัวตามความต้องการของตลาดประเทศคู่ค้าหลัก เช่น สหรัฐอเมริกา ญี่ปุ่น เวียดนาม และจีน นอกจากนี จากสถานการณ์การแพร่ระบาดของเชือไวรัสโควิด-19 ส่งผลให้การผลิตของผลิตภัณฑ์พลาสติก         บางประเภทเพิ่มขึน ผลิตภัณฑ์พลาสติกที่มีความต้องการใช้อย่างต่อเนื่อง เช่น พลาสติกที่ใช้ในอุตสาหกรรม
          การผลิต และการตลาด ยานยนต์ และพลาสติกห่อกันกระแทกสำหรับการขนส่งสินค้าต่าง ๆ เป็นต้น  ดัชนีผลผลิต ไตรมาสที่ 2 ปี 2564 หดตัวร้อยละ 0.91 เมื่อเทียบกับไตรมาสก่อนหน้า (%QoQ) แต่ขยายตัวร้อยละ 0.81 เมื่อเทียบกับไตรมาสเดียวกัน ของปีก่อน (%YoY) ซึ่งดัชนีผลผลิตที่ขยายตัวมากที่สุด ได้แก่ พลาสติกแผ่น ดัชนีการส่งสินค้า ไตรมาสที่ 2 ปี 2564 หดตัว           ร้อยละ 3.89 เมื่อเทียบกับไตรมาสก่อนหน้า  (%QoQ) และหดตัวร้อยละ 0.47 เมื่อเทียบกับไตรมาสเดียวกันของปีก่อน (%YoY) ซึ่งดัชนีการส่งสินค้าที่หดตัว     มากที่สุด ได้แก่ ท่อและข้อต่อพลาสติก มูลค่าการส่งออก ไตรมาสที่ 2 ปี 2563 มีมูลค่า 1,112.16 ล้านเหรียญสหรัฐฯ หดตัวตัวร้อยละ 0.74 เมื่อเทียบกับไตรมาสก่อนหน้า (%QoQ) แต่ขยายตัวร้อยละ 24.09 เมื่อเทียบกับไตรมาสเดียวกันของปีก่อน (%YoY) ซึ่งซึ่งกลุ่มผลิตภัณฑ์ที่มีการส่งออกขยายสูงสุด ได้แก่ กลุ่มผลิตภัณฑ์พลาสติกปูพืน (HS 3918) มูลค่าการนำเข้า ไตรมาสที่ 2 ปี 2564 ขยายตัว           ร้อยละ 3.66 เมื่อเทียบกับไตรมาสก่อนหน้า  (%QoQ) และขยายตัวร้อยละ 17.76 เมื่อเทียบกับไตรมาสเดียวกันของปีก่อน (%YoY) ซึ่งกลุ่มผลิตภัณฑ์           ที่มีการนำเข้าขยายสูงสุด ได้แก่ ได้แก่ กลุ่มผลิตภัณฑ์เครื่องสุขภัณฑ์ (HS 3922)แนวโน้มอุตสาหกรรมพลาสติก ไตรมาสที่ 3 ของปี 2564
          ในไตรมาสที่ 3 ปี 2564 คาดว่าการส่งออกและการนำเข้าจะขยายตัว เนื่องจากความต้องการผลิตภัณฑ์พลาสติกในประเทศคู่ค้าหลักยังคงขยายตัว อย่างไรก็ตาม ต้องคำนึงถึงปัจจัยที่ส่งผลกระทบต่ออุตสาหกรรม         ทังจากผลกระทบของสถานการณ์การแพร่ระบาดของเชือไวรัสโควิด-19 ระลอกใหม่ และสถานการณ์ความผันผวนของราคานำมันดิบในตลาดโลกอาจส่งผลกระทบต่อราคาต้นทุนวัตถุดิบ

อุตสาหกรรมปิโตรเคมี

อุตสาหกรรมปิโตรเคมีไตรมาสที่ 2 ปี 2564 ดัชนีผลผลิตและการส่งสินค้าปรับตัวเพิ่มขึนจากไตรมาสเดียวกันของปีก่อน ร้อยละ 6.98 และ 1.95 (%YoY) จากสถานการณ์ไวรัสโควิด-19 ที่มีการฉีดวัคซีนในหลายประเทศ ประกอบกับหลายประเทศได้ผ่อนคลายมาตรการ ล็อกดาวน์ ส่งผลให้การผลิตและการส่งออกปิโตรเคมีในไตรมาสนีปรับขยายตัวดีขึน

          ดัชนีผลผลิต  ไตรมาสที่ 2 ปี 2564 อยู่ที่ระดับ 117.22 เพิ่มขึนจากไตรมาสเดียวกันของปีก่อน ร้อยละ 6.98 โดยสินค้าที่ส่งผลให้ดัชนีผลผลิตเพิ่มขึนในไตรมาสนีของกลุ่มปิโตรเคมีขันพืนฐาน คือ Ethylene ส่วนกลุ่มปิโตรเคมีขันปลาย คือ  PP resin  ดัชนีการส่งสินค้า ไตรมาสที่ 2 ปี 2564 อยู่ที่ระดับ 112.86 เพิ่มขึนจากไตรมาสเดียวกันของปีก่อน ร้อยละ 1.95 โดยสินค้าที่ส่งผลให้ดัชนีส่งสินค้าเพิ่มขึนในไตรมาสนีของกลุ่มปิโตรเคมีขันพืนฐาน ได้แก่ Propylene ส่วนกลุ่มปิโตรเคมีขันปลาย ได้แก่ PP resin และ PE resin การส่งออกปิโตรเคมี  ไตรมาสที่ 2 ปี 2564 มีมูลค่า 3,559.76  ล้านเหรียญสหรัฐฯ เพิ่มขึนจากไตรมาสเดียวกันของปีก่อน ร้อยละ 57.93 โดยมีการส่งออกปิโตรเคมีไปยังประเทศที่สำคัญ เช่น จีน, เวียดนาม และญี่ปุ่น เป็นต้น ซึ่งสินค้าที่ส่งผลให้การส่งออก          ของกลุ่มปิโตรเคมีขันพืนฐานเพิ่มขึนร้อยละ 88.99 เช่น Ethylene, Toluene และกลุ่มปิโตรเคมีขันปลายเพิ่มขึนร้อยละ 50.71 เช่น PP resin และ PE resin เป็นต้น การนำเข้าปิโตรเคมี  ไตรมาสที่ 2 ปี 2564 มีมูลค่า 1,756.55 ล้านเหรียญสหรัฐฯ เพิ่มขึนจากไตรมาสเดียวกันของปีก่อน ร้อยละ  61.70 โดยมีการนำเข้าปิโตรเคมีจากประเทศที่สำคัญ เช่น ญี่ปุ่น, จีน และสหรัฐอเมริกา เป็นต้น ซึ่งสินค้าที่ส่งผลให้การนำเข้าเพิ่มขึนของกลุ่มปิโตรเคมีขันพืนฐาน ร้อยละ 79.21 เช่น Toluene และ Propylene  เป็นต้น และกลุ่มปิโตรเคมีขันปลายเพิ่มขึนร้อยละ 58.34 เช่น PE resin และ PP resin เป็นต้น  แนวโน้มอุตสาหกรรมปิโตรเคมีไตรมาสที่ 3 ปี 2564
          ภาวะอุตสาหกรรมปิโตรเคมีไตรมาสที่ 3 ปี 2564 คาดว่า ในภาพรวมของอุตสาหกรรมมีแนวโน้มขยายตัวได้จากเศรษฐกิจหลายประเทศ    เริ่มกลับมาหลังจากหยุดชะงักหลังจากสถานการณ์ไวรัสโควิด-19 ที่ส่งผลให้ความต้องการสินค้า หรือการดำเนินการในหลายภาคส่วนเพิ่มขึน       ในตลาดคู่ค้าต่างประเทศ และเมื่อเทียบกับไตรมาสที่ 2 ปี 2564 คาดว่าอุตสาหกรรมปิโตรเคมีในไตรมาสนีมีแนวโน้มขยายตัว ซึ่งการผลิต          การส่งสินค้า และการส่งออก อาจปรับตัวเพิ่มขึน ร้อยละ 5  จากการผ่อนคลายมาตรการล็อกดาวน์ และหลายภาคส่วนสามารถเริ่มกลับมาดำเนินงานได้ตามปกติ แต่มีปัจจัยลบ คือ การแพร่ระบาดของเชือไวรัสโควิด-19 สายพันธุ์เดลต้า ที่กระจายไปในหลายประเทศจะทำให้เกิดการประกาศล็อกดาวน์รอบใหม่ และส่งผลต่อการผันผวนของราคานำมันและอุตสาหกรรมปิโตรเคมีชะลอตัวลงได้     อุตสาหกรรมเยื่อกระดาษ กระดาษ และสิ่งพิมพ์

อุตสาหกรรมเยื่อกระดาษ กระดาษและสิ่งพิมพ์ ในไตรมาสที่ 2 ปี 2564 เมื่อเปรียบเทียบ (%QoQ) ขยายตัวทุกผลิตภัณฑ์ ยกเว้นกระดาษคราฟต์ และ (%YoY) พบว่า การผลิตเพิ่มขึนในกลุ่มกระดาษแข็ง กระดาษคราฟต์ และกระดาษลูกฟูก ซึ่งล้วนแล้วแต่นำมาผลิตกล่องบรรจุภัณฑ์ สำหรับการส่งออกและนำเข้ามีมูลค่าโดยรวมเพิ่มขึนเมื่อเปรียบเทียบ (%QoQ) และ (%YoY)

การผลิตดัชนีผลผลิตอุตสาหกรรมเยื่อกระดาษและกระดาษ

               ในไตรมาสที่ 2 ปี 2564 เมื่อเปรียบเทียบ (%QoQ) ขยายตัว       ในกลุ่มเยื่อกระดาษ ร้อยละ 14.43 แต่ปรับลดลงในกลุ่มกระดาษ  ได้แก่ กระดาษแข็ง กระดาษลูกฟูก กระดาษพิมพ์เขียน และ กล่องกระดาษ เนื่องจากมีการนำเข้าค่อนข้างมาก แต่เมื่อเปรียบเทียบ (%YOY) การผลิตเพิ่มขึนตลอดทัง supply chain ตังแต่กลุ่ม          เยื่อกระดาษ กระดาษแข็ง กระดาษคราฟต์ และกระดาษลูกฟูก เพื่อผลิตกล่องบรรจุภัณฑ์ ที่มีความต้องการใช้เพิ่มขึนมาก โดยเฉพาะ          การซือขายทางออนไลน์ในยุคสถานการณ์ปัจจุบันจากการแพร่ระบาดของเชือไวรัสโควิด 19  การส่งออก     เยื่อกระดาษและผลิตภัณฑ์กระดาษ ในไตรมาสที่ 2 ปี 2564      เมื่อเปรียบเทียบ (%QoQ) มีมูลค่าการส่งออกรวม 618.46 ล้านเหรียญที่มา : สำนักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม

สหรัฐฯ เพิ่มขึน ร้อยละ 14.61 จากกลุ่มเยื่อกระดาษ และกลุ่มสิ่งพิมพ์ โดยมีประเทศจีน และสหรัฐอเมริกา เป็นประเทศคู่ค้าหลัก ตามลำดับ การส่งออก-นำเข้าเยื่อกระดาษ กระดาษและสิ่งพิมพ์

และเมื่อเปรียบเทียบ (%YoY) มูลค่าการส่งออกรวมเพิ่มขึนร้อยละ 42.94 จากเยื่อกระดาษที่ส่งออกเพิ่มสูงถึงร้อยละ 221.51 ซึ่งกว่า ร้อยละ 90.00 ส่งออกไปยังประเทศจีน กลุ่มกระดาษและผลิตภัณฑ์กระดาษ และกลุ่มสิ่งพิมพ์ เพิ่มขึน ร้อยละ 19.02 และ 14.69 มีเวียดนาม และสหรัฐอเมริกา เป็นคู่ค้าหลักตามลำดับการนำเข้า

          เยื่อกระดาษและผลิตภัณฑ์กระดาษในไตรมาสที่ 2 ปี 2564      มีมูลค่าการนำเข้ารวม 880.47 ล้านเหรียญสหรัฐฯ เมื่อเปรียบเทียบ (%QoQ) และ (%YoY) เพิ่มขึนร้อยละ 11.78 และ 38.25 ตามลำดับจากการเพิ่มขึนของเยื่อกระดาษและเศษกระดาษ และสิ่งพิมพ์ หน่วย : ล้านเหรียญสหรัฐฯ เนื่องจากความต้องการใช้ผลิตภัณฑ์กระดาษในประเทศเพิ่มสูงขึนมาก โดยเฉพาะบรรจุภัณฑ์กระดาษ นำเข้าเพิ่มขึนต่อเนื่อง เนื่องจากวิถี    ที่มา   : ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร กระทรวงพาณิชย์
          การดำรงชีวิตปรับเปลี่ยนไปจากผลกระทบการแพร่ระบาดของ        เชือไวรัสโควิด-19 จำเป็นต้องมีการนำเข้าบางส่วน  แนวโน้มในไตรมาสที่ 3 ปี 2564       แนวโน้มในไตรมาสที่ 3 ปี 2564 คาดว่า ผลิตภัณฑ์กระดาษ (กระดาษแข็ง กระดาษลูกฟูก และกระดาษคราฟต์) ที่ใช้ผลิตกล่องบรรจุภัณฑ์  จะขยายตัวเพิ่มขึนตามการบริโภคในประเทศ  ขณะเดียวกันในยุค New Normal บรรจุภัณฑ์กระดาษจะขยายตัวได้ค่อนข้างมาก และได้อานิสงส์ตามการใช้งานสำหรับการสั่งสินค้าออนไลน์ ประกอบกับเกิดการแพร่ระบาดของเชือไวรัสโควิด-19 ระลอกใหม่  ในขณะที่การส่งออกจะขยายตัวต่อเนื่องในกลุ่มเยื่อกระดาษ

อุตสาหกรรมเซรามิก

ปริมาณการผลิต กระเบือง ปูพืน บุผนัง และเครื่องสุขภัณฑ์ ในไตรมาสที่ 2 ปี 2564 ขยายตัวจากยอดคำสั่งซือที่เพิ่มขึน ของประเทศคู่ค้า ส่วนปริมาณการจำหน่ายในประเทศและการส่งออกขยายตัวตามความต้องการของผู้บริโภค โดยตลาดหลักในการส่งออกยังคงเป็นประเทศสหรัฐอเมริกา จีน และญี่ปุ่น

          การผลิต จำหน่าย และส่งออกเซรามิก การผลิต ในไตรมาสที่ 2 ปี 2564 กระเบืองปูพืน บุผนัง มีปริมาณการผลิต 36.78 ล้านตารางเมตร เพิ่มขึนจากไตรมาสที่ 1 ปี 2564 ร้อยละ 4.81   (%QoQ) และเพิ่มขึนจากไตรมาสเดียวกันของปีก่อน ร้อยละ  38.87 (%YoY) เป็นผลจากการเพิ่มขึนของยอดคำสั่งซือจากตลาดส่งออกหลักที่สำคัญอย่างประเทศสหรัฐอเมริกา จีน และญี่ปุ่น สำหรับเครื่องสุขภัณฑ์               มีปริมาณการผลิต 1.98 ล้านชิน เพิ่มขึนจากไตรมาสที่ 1 ปี 2564  ร้อยละ 3.46 และเพิ่มขึนจากไตรมาสเดียวกันกับปีก่อน ร้อยละ 36.49  การจำหน่าย ในไตรมาสที่ 2 ปี 2564 กระเบืองบุพืน บุผนัง มีปริมาณ       การจำหน่าย 42.36 ล้านตารางเมตร ลดลงจากไตรมาสที่ 1 ปี 2564 ร้อยละ 3.85 (%QoQ) แต่เพิ่มขึนจากไตรมาสเดียวกันของปีก่อน ร้อยละ 2.14 (%YoY) ในขณะที่การจำหน่ายเครื่องสุขภัณฑ์ มีจำนวน 0.85 ล้านชิน ลดลงจากไตรมาสที่ 1 ปี 2564 ร้อยละ 2.66 แต่เพิ่มขึนจากไตรมาสเดียวกันของปีก่อน ร้อยละ 8.21 จากความต้องการของตลาดในประเทศที่ได้รับผลจากมาตรการกระตุ้นเศรษฐกิจของรัฐบาล และมาตรการส่งเสริมการจำหน่ายของผู้ประกอบการ    การส่งออก ในไตรมาสที่ 2 ปี 2564 การส่งออกกระเบืองปูพืน บุผนัง      ที่มา : 1. ปริมาณการผลิตและจำหน่ายภายในประเทศ : กองสารสนเทศและดัชนีมีมูลค่า 24.04 ล้านเหรียญสหรัฐฯ ลดลงจากไตรมาสที่ 1 ปี 2564     เศรษฐกิจอุตสาหกรรม สำนักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม ร้อยละ 12.71 แต่เพิ่มขึนจากไตรมาสเดียวกันของปีก่อน ร้อยละ 12.76 หมายเหตุ : จากการสำรวจโรงงานกระเบือง บุผนัง จำนวน 15 โรงงาน

ในขณะที่เครื่องสุขภัณฑ์มีมูลค่า 63.75 ล้านเหรียญสหรัฐฯ เพิ่มขึนจากและ เครื่องสุขภัณฑ์ จำนวน 38 โรงงาน 2. มูลค่าการส่งออก : ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร สำนักงานปลัด ไตรมาสที่ 1 ปี 2564 ร้อยละ 6.91 และเพิ่มขึนจากไตรมาสเดียวกัน กระทรวงพาณิชย์

ของปีก่อน ร้อยละ 46.69 โดยตลาดหลักในการส่งออก ได้แก่ ประเทศสหรัฐอเมริกา จีน ญี่ปุ่น และกลุ่มประเทศ CLMV แนวโน้มอุตสาหกรรมเซรามิก ไตรมาสที่ 3 ของปี 2564

การผลิตและการจำหน่ายเซรามิกภายในประเทศ ไตรมาส 3 ของปี 2564 คาดว่าจะมีแนวโน้มปรับตัวลดลง เนื่องจากผู้ประกอบการมีความกังวลกับสถานการณ์การแพร่ระบาดของเชือไวรัสโควิด-19 ที่เกิดขึนอย่างรุนแรงในเกือบทุกพืนที่ของประเทศ โดยเฉพาะจำนวนผู้ติดเชือที่เพิ่มขึนในโรงงานอุตสาหกรรม ทำให้ภาครัฐต้องยกระดับมาตรการควบคุมยาวนานขึนจนกว่าสถานการณ์ การแพร่ระบาดจะคลี่คลาย ประกอบผู้บริโภคระมัดระวังการใช้จ่ายจากความไม่มั่นใจในภาวะเศรษฐกิจ ส่วนการส่งออกมีสัญญาณที่ดีขึนเนื่องจากเศรษฐกิจของประเทศคู่ค้าเริ่มฟื้นตัว และสถานการณ์การแพร่ระบาดเริ่มคลี่คลาย อุตสาหกรรมปูนซีเมนต์

ปริมาณอุตสาหกรรการผลิต....ในไตรมาสที่ 3 ปี 2560......เมื่อเปรียบเทียบกับช่วงเดียวกันของปี 2559เป็นผลจาก. อุตสาหกรรมปูนซีเมนต์ ไตรมาสที่ 2 ปี 2564 เมื่อเทียบกับไตรมาสเดียวกันของปีก่อน การผลิตและการจำหน่าย ยังสามารถขยายตัวได้ แม้จะได้รับผลกระทบของการแพร่ระบาดของเชือไวรัสโควิด-19 ส่วนมูลค่าการส่งออกมีอัตรา ขยายตัวดีจากตลาดส่งออกที่อยู่นอกอาเซียน ส่วนมูลค่าการนำเข้ามีการขยายตัวเพิ่มขึนมากจากฐานที่ต่ำในช่วงเดียวกัน ของปีก่อน

          การผลิตปูนซีเมนต์ (ไม่รวมปูนเม็ด) ในไตรมาสที่ 2           ปี 2564 มีจำนวน 11.72 ล้านตัน เพิ่มขึนจากไตรมาสที่ 1 ปี 2564  ร้อยละ 0.49 (%QoQ) และเพิ่มขึนจากไตรมาสเดียวกันของปีก่อน ร้อยละ 5.43 (%YoY)   การจำหน่ายปูนซีเมนต์ในประเทศ (ไม่รวมปูนเม็ด)     ไตรมาสที่ 2 ปี 2564 มีจำนวน 10.58 ล้านตัน ลดลงจาก          ไตรมาสที่ 1 ปี 2564 ร้อยละ 1.85 แต่เพิ่มขึนจากไตรมาสเดียวกันของปีก่อน ร้อยละ 3.17 (%YoY)   การส่งออก - นำเข้าปูนซีเมนต์ (ไม่รวมปูนเม็ด)             ไตรมาสที่ 2 ปี 2564 มีมูลค่าจากการส่งออก 75.50          ล้านเหรียญสหรัฐฯ ลดลงร้อยละ 13.99 (%QoQ) เมื่อเทียบกับไตรมาสที่ 1 ปี 2564  แต่เพิ่มขึนจากไตรมาสเดียวกันที่มา : 1. ปริมาณการผลิตและจำหน่ายภายในประเทศ : กองสารสนเทศและดัชนีเศรษฐกิจของปีก่อน ร้อยละ 13.66  โดยเพิ่มขึนมากจากตลาด     อุตสาหกรรม  สำนักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม
          บังคลาเทศ   ส่วนการนำเข้าปูนซีเมนต์ (ไม่รวมปูนเม็ด)     2. มูลค่าการส่งออก-นำเข้า : ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร       สำนักงานปลัดกระทรวงพาณิชย์ มีมูลค่า 15.82  ล้านเหรียญสหรัฐฯ ลดลงจากไตรมาสที่ 1  ปี 2564  ร้อยละ 23.15  แต่เพิมขึนจากไตรมาสเดียวกันของปีก่อนมากถึง ร้อยละ 82.40  เนื่องจากฐานในช่วงเดียวกันของปีก่อนต่ำมาก  โดยเป็นการขยายตัวจาก สปป.ลาว  และจีน ร้อยละ 94.23  และ 62.91 ตามลำดับ   แนวโน้มอุตสาหกรรมปูนซีเมนต์ ไตรมาสที่ 3 ของปี 2564
          อุตสาหกรรมปูนซีเมนต์ (ไม่รวมปูนเม็ด) ไตรมาสที่ 3 ของปี 2564   เมื่อเปรียบเทียบกับไตรมาสเดียวกันของปีก่อน    ปริมาณการผลิตและการจำหน่ายคาดว่าจะเริ่มเห็นการปรับตัวลดลง  เนื่องจากการระบาดของเชือไวรัสโควิด-19   มีความรุนแรงและขยายวงกว้างกว่าปีที่แล้ว เนื่องจากการระบาดในปีนีมีเชือกลายพันธุ์เข้ามาระบาดด้วย  ทังนี การระบาดได้แผ่ขยายเข้าไปในโครงการก่อสร้างต่าง ๆ   โดยเฉพาะงานโครงการขนาดใหญ่ของภาครัฐหลายแห่ง จนรัฐบาลต้องประกาศหยุดการก่อสร้างในพืนที่เสี่ยงเพิ่มขึน  ส่วนการส่งออก    คาดว่ายังสามารถขยายตัวได้จากตลาดส่งออกที่อยู่นอกอาเซียน

อุตสาหกรรมสิ่งทอและเครื่องนุ่งห่ม ไตรมาสที่ 2 ปี 2564 ภาวะเศรษฐกิจอุตสาหกรรมกลุ่มสิ่งทอขยายตัว เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน จากฐานที่ต่ำในปีก่อน และตลาดสำคัญฟื้นตัว เช่น สหรัฐฯ ญี่ปุ่น และเวียดนาม ในขณะที่กลุ่มเครื่องนุ่งห่ม การผลิตชะลอตัวจากกำลังซือในประเทศ แม้ตลาดส่งออกฟื้นตัว

การผลิตและจำหน่ายในประเทศ

              เส้นใยสิ่งทอ  และผ้าผืน ดัชนีผลผลิตขยายตัว ร้อยละ 33.09  และ 6.77 (%YoY)  ปัจจัยหลักเนื่องจากฐานที่ต่ำในปีก่อนที่ได้รับผลกระทบจากสถานการณ์ระบาดของเชือไวรัสโควิด-19 รอบแรก ทังในและต่างประเทศ รวมทังการปิดกิจการชั่วคราวในบางส่วน ประกอบกับได้รับแรงส่งจากการส่งออกที่ประเทศคู่ค้าเริ่มฟื้นตัวอย่าง สหรัฐอเมริกา ญี่ปุ่น และเวียดนาม สำหรับเสือผ้าเครื่องแต่งกาย ดัชนีผลผลิตลดลง ร้อยละ 14.59 (%YoY) จากการบริโภคในประเทศชะลอตัว การปิดกิจการชั่วคราว    หรือถาวร เช่น โรงงานผลิตชุดชันในสตรี และเสือผ้า แม้การส่งออกเสือผ้าสำเร็จรูป ขยายตัวในตลาดสำคัญอย่างสหรัฐอเมริกา ญี่ปุ่น ฮ่องกง และสหราชอาณาจักร ทังนี หากเปรียบเทียบกับช่วงไตรมาสที่ 1 ปี 2564 พบว่า การผลิตเส้นใยสิ่งทอ ขยายตัว ร้อยละ 1.76 (%QoQ) โดยเฉพาะกลุ่มเส้นใยประดิษฐ์ ในขณะที่ผ้าผืนและเสือผ้าสำเร็จรูป หดตัว ร้อยละ 16.67 และ 12.70 (%QoQ) ผลกระทบจากการระบาดของโควิด-19 ระลอกล่าสุด       การจำหน่ายในประเทศของ เส้นใยสิ่งทอผ้าผืน และเสื้อผ้าเครื่องแต่งกาย ขยายตัว    ร้อยละ 41.63  26.92 และ 9.20 (%YoY) จากฐานที่ต่ำในปีก่อนที่ได้รับผลกระทบจากสถานการณ์ระบาดรอบแรก ประกอบกับความต้องการวัตถุดิบเพื่อการส่งออกกลับมา
          ขยายตัวในตลาด จีน สหรัฐอเมริกา อังกฤษ และยุโรป การส่งออก-นำเข้า     การส่งออกสิ่งทอและเครื่องนุ่งห่มภาพรวมเริ่มฟื้นตัวตลอดทังห่วงโซ่อุปทาน   โดยมีมูลค่า 1,92.58 ล้านเหรียญสหรัฐฯ ขยายตัวร้อยละ 32.57 % (%YoY) หากพิจารณากลุ่มสินค้า พบว่า กลุ่มสิ่งทอ มีมูลค่า 951.19 ล้านเหรียญสหรัฐฯ ขยายตัว ร้อยละ 29.26  กลุ่มเครื่องนุ่งห่ม มีมูลค่า 535.98  ล้านเหรียญสหรัฐฯ  ขยายตัว ร้อยละ 15.17  เนื่องจากฐานที่ต่ำในปีก่อนที่ได้รับผลกระทบจากการระบาดฯ ทำให้หลายประเทศชะลอคำสั่งซือ ประกอบกับปัญหาการขนส่งเนื่องจากมาตรการล็อกดาวน์ทั่วโลก แต่ด้วยปัจจุบัน ประเทศคู่ค้าสำคัญฟื้นตัวส่งผลให้การส่งออกขยายตัว ในตลาดสำคัญอย่างสหรัฐอเมริกา ญี่ปุ่น และเวียดนาม ทังนี หากเปรียบเทียบกับไตรมาสที่ 1 ปี 2564 (%QoQ) พบว่า การส่งออกกลุ่มสิ่งทอ และเสือผ้าสำเร็จรูปชะลอตัว    การนำเข้าสิ่งทอและเครื่องนุ่งห่มภาพรวม มีมูลค่า 1,263.04 ล้านเหรียญสหรัฐฯ ขยายตัว ร้อยละ 33.39 (%YoY) ในกลุ่มด้ายและเส้นใย และผ้าผืน ส่วนหนึ่งเพื่อนำไปใช้ในการผลิตสินค้าเพื่อส่งออกตามคำสั่งซือที่เริ่มกลับมาดีขึน ประกอบกับฐานที่ต่ำในปีก่อน สำหรับเสือผ้าสำเร็จรูป ชะลอตัวจากกำลังซือของผู้บริโภคในประเทศชะลอตัวจากผลกระทบจากการระบาด และมาตรการการล็อกดาวน์คาดการณ์แนวโน้มไตรมาสที่ 3 ปี 2564

ภาวะอุตสาหกรรมสิ่งทอจะขยายตัวต่อเนื่องด้วยฐานที่ต่ำในปีก่อน ประกอบกับคำสั่งซือจากต่างประเทศที่มีอย่างต่อเนื่องตลอดโซ่อุปทาน ในขณะที่อุตสาหกรรมเครื่องนุ่งห่มน่าจะชะลอตัวตามกำลังซือในประเทศลดลง จากการระบาดของเชือไวรัสโควิด-19 ที่รุนแรงขึน และได้รับผลกระทบจากปัญหาการระบาดของคลัสเตอร์โรงงาน แต่มีสัดส่วนไม่มากนักเมื่อเทียบกับตลาดรวม ในขณะที่ความต้องการเครื่องนุ่งห่มในต่างประเทศเพิ่มขึนอย่างต่อเนื่อง โดยเฉพาะประเทศคู่ค้าสำคัญที่เศรษฐกิจฟื้นตัว เช่น จีน สหรัฐอเมริกา และยุโรป

อุตสาหกรรมไม้และเครื่องเรือน

          เมื่อเปรียบเทียบกับไตรมาสเดียวกันของปีก่อน การผลิตเครื่องเรือนทำด้วยไม้ไตรมาสที่ 2 ปี 2564 มีปริมาณเพิ่มขึนจากการผลิตเพื่อตอบสนองความต้องการของตลาดต่างประเทศ ขณะที่การจำหน่ายเครื่องเรือนทำด้วยไม้ในประเทศมีปริมาณลดลงจากผลกระทบการแพร่ระบาดของเชือไวรัสโควิด-19 ระลอกล่าสุด ในส่วนของการส่งออกไม้และผลิตภัณฑ์แผ่นไม้        มีมูลค่าเพิ่มขึนจากการฟื้นตัวของภาวะเศรษฐกิจประเทศคู่ค้าสำคัญและฐานตัวเลขการส่งออกเมื่อปีที่ผ่านมาที่อยู่ในระดับต่ำ ปริมาณการผลิตและจำหน่ายเครื่องเรือนทำด้วยไม้ในการผลิตเครื่องเรือนทำด้วยไม้ ไตรมาส 2 ปี 2564 มีจำนวน 2.51 ประเทศ  (ล้านชิ้น)ล้านชิน ลดลงจากไตรมาสก่อนร้อยละ 8.73 แต่เมื่อเปรียบเทียบกับไตรมาสเดียวกันของปีก่อนขยายตัวร้อยละ 28.72 จากการ 4ผลิตเพื่อตอบสนองความต้องการของตลาดต่างประเทศ  32.61 2.75

2.51 การจำหน่ายเครื่องเรือนทำด้วยไม้ในประเทศ2.41 มีจำนวน 0.32 ล้านชิน ลดลงร้อยละ 8.57 และ 3.03 จากไตรมาส1.95 2ที่ผ่านมาและไตรมาสเดียวกันของปีก่อนตามลำดับ เป็นผลจาก 1การแพร่ระบาดของเชือไวรัสโควิด-19 ระลอกล่าสุด ที่ส่งผลให้0.33 0.33 0.30 0.35 0.32 0ภาวะเศรษฐกิจในประเทศเกิดการชะลอตัว Q2 2020 Q3 2020 Q4 2020 Q1 2021 Q2 2021

การส่งออกไม้และผลิตภัณฑ์ไม้ ไตรมาส 2 ปี 2564 มีมูลค่ารวม การผลิต การจำหน่ายในประเทศ

1,062.77 ล้านเหรียญสหรัฐฯ เพิ่มขึนร้อยละ 6.89 และ 50.50 ที่มา : สำนักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม

          จากไตรมาสที่ผ่านมาและไตรมาสเดียวกันของปีก่อน ตามลำดับ มูลค่าการส่งออกไม้และผลิตภัณฑ์ไม้            แบ่งเป็น เครื่องเรือนและชินส่วน ผลิตภัณฑ์ไม้ และไม้และ(ล้านเหรียญสหรัฐฯ) ผลิตภัณฑ์แผ่นไม้มีมูลค่า 317.80 37.93 และ 707.04             ล้านเหรียญสหรัฐฯ ตามลำดับ โดยหากเปรียบเทียบกับไตรมาส1,400 เดียวกันของปีก่อนพบว่า มูลค่าการส่งออกเครื่องเรือนและชินส่วน1,200 1,062.77 1,000
          839.95 937.28 ปรับเพิ่มขึนร้อยละ 75.06 มูลค่าการส่งออกผลิตภัณฑ์ไม้        706.18 800 ปรับเพิ่มขึนร้อยละ 43.89 และมูลค่าการส่งออกไม้และผลิตภัณฑ์600 400 แผ่นไม้ ปรับเพิ่มขึนร้อยละ 41.90 ทังนีในภาพรวมการส่งออกไม้200 และผลิตภัณฑ์ไม้มีมูลค่าเพิ่มขึนทุกกลุ่มผลิตภัณฑ์จากการฟื้นตัว0ของภาวะเศรษฐกิจประเทศคู่ค้าสำคัญและฐานตัวเลขการส่งออกQ2 2020 Q3 2020 Q4 2020 Q1 2021 Q2 2021  เครืองเรือนและชินส่วน  ผลิตภัณฑ์ไม้ เมื่อปีที่ผ่านมาที่อยู่ในระดับต่ำ  ไม้และผลิตภัณฑ์แผ่นไม้  มูลค่ารวม ที่มา : สำนักงานปลัดกระทรวงพาณิชย์

แนวโน้มอุตสาหกรรมไม้และเครื่องเรือน ไตรมาสที่ 3 ของปี 2564

ไตรมาสที่ 3 ปี 2564 คาดการณ์ได้ว่า ปริมาณการผลิตเครื่องเรือนทำด้วยไม้จะขยายตัวเพิ่มขึนอย่างต่อเนื่องจากการผลิต เพื่อตอบสนองความต้องการของตลาดต่างประเทศเป็นหลัก ในขณะที่ปริมาณการจำหน่ายเครื่องเรือนทำด้วยไม้ในประเทศ คาดการณ์ว่าจะยังคงชะลอตัวจากผลกระทบการระบาดระลอกล่าสุดที่เกิดขึน

อุตสาหกรรมยา

          ปริมาณการผลิตและจำหน่ายยาในประเทศไตรมาสที่ 2 ปี 2564 ลดลงจากไตรมาสเดียวกันของปีก่อนตามความต้องการใช้ยาที่ชะลอตัวลงของตลาดทังในและต่างประเทศ โดยตลาดในประเทศยังชะลอตัว          ถึงแม้จะปรับตัวดีขึนจากไตรมาสก่อน ในขณะที่ตลาดส่งออกโดยเฉพาะเวียดนามยังคงหดตัวลงอย่างต่อเนื่อง ปริมาณการผลิตและจำหน่ายยาในประเทศ (ตัน) การผลิตยา ไตรมาสที่ 2 ปี 2564 มีปริมาณ 12,729.97 ตัน ลดลงจากไตรมาสเดียวกันของปีก่อนร้อยละ 10.45 โดยเป็นการ15,000 ชะลอตัวของการผลิตยาเม็ด ยานำ ยาแคปซูล ยาฉีด และยาครีม 10,000 ซึ่งหดตัวลงร้อยละ 16.04 5.60 14.87 9.77 และ 17.39 ตามลำดับ ตามคำสั่งซือที่ปรับลดลง  5,000

การจำหน่ายยา ไตรมาสที่ 2 ปี 2564 มีจำนวน 10,598.15 ตัน 0ลดลงจากไตรมาสเดียวกันของปีก่อนร้อยละ 3.95 โดยเป็นการQ2 2020Q3 2020Q4 2020Q1 2021Q2 2021

ชะลอตัวของการจำหน่ายยาเม็ด ยาแคปซูล ยาฉีด และยาครีม ซึ่งการผลิตการจำหน่ายในประเทศปรับลดลงร้อยละ 7.71 26.52 4.45 และ 16.85 ตามลำดับ ที่มา: สำนักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรมในภาพรวมตลาดยาในประเทศยังชะลอตัวต่อเนื่องจากไตรมาสก่อน แต่การระบาดของเชือไวรัสโควิด-19 ระลอกเดือนเมษายน มูลค่าการส่งออก-นำเข้ายา (ล้านเหรียญสหรัฐฯ)

          2564 ทำให้ประชาชนหันไปซือยาบางชนิดเพื่อกักตุนไว้ใช้มากขึน 500 ตลาดยาในประเทศจึงขยายตัวเมื่อเทียบกับไตรมาสก่อน 400 การส่งออกยาไตรมาสที่ 2 ปี 2564 มีมูลค่า 102.94 ล้านเหรียญ300 สหรัฐฯ ลดลงจากไตรมาสเดียวกันของปีก่อนร้อยละ 6.67       200 โดยเป็นการชะลอตัวในตลาดเวียดนาม ญี่ปุ่น ฟิลิปปินส์ 100 อินโดนีเซีย และสิงคโปร์ สำหรับการนำเข้ายามีมูลค่า 461.19 0ล้านเหรียญสหรัฐฯ เพิ่มขึนจากไตรมาสเดียวกันของปีก่อน      Q2 2020Q3 2020Q4 2020Q1 2021Q2 2021

ร้อยละ 1.63 โดยเป็นการนำเข้ายาจากญี่ปุ่น เยอรมนี อิตาลี การส่งออกการนำเข้าฝรั่งเศส และอินเดีย เพิ่มขึน ที่มา: กระทรวงพาณิชย์

แนวโน้มอุตสาหกรรมยา ไตรมาสที่ 3 ของปี 2564

การผลิตยาในไตรมาสที่ 3 ของปี 2564 คาดว่าจะชะลอตัวลงจากไตรมาสเดียวกันของปีก่อนร้อยละ 3.48 ตามแนวโน้ม การหดตัวต่อเนื่องของตลาดในประเทศ สำหรับการส่งออกคาดว่าจะยังขยายตัวได้ในตลาดอาเซียน โดยเฉพาะเมียนมา กัมพูชา และลาว นโยบายภาครัฐที่เกี่ยวข้องกับอุตสาหกรรมยา

          รัฐบาลไทยได้ลงนามในสัญญาการจัดหาวัคซีนโควิด-19 โดยการจองล่วงหน้า และสัญญาการจัดซือวัคซีน กับบริษัท AstraZeneca จำกัด ซึ่งเป็นบริษัทผู้ผลิตยาชีววัตถุชันนำของโลก โดยบริษัท สยามไบโอไซเอนซ์ จำกัด ผู้ผลิตยาชีววัตถุรายใหญ่      ของไทยได้รับถ่ายทอดเทคโนโลยีในการผลิตวัคซีนป้องกันโรคโควิด-19 จากแอสตร้าเซนเนก้า และสามารถผลิตวัคซีนดังกล่าว        ออกสู่ตลาดได้ตังแต่เดือนมิถุนายน 2564 ตามกำหนด ทำให้ไทยเป็นฐานการผลิตวัคซีนป้องกันโรคโควิด-19 แห่งแรกของภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ สร้างความเข้มแข็งให้กับบุคลากรรวมถึงการวิจัยและพัฒนาในอุตสาหกรรมการผลิตยาของไทย ซึ่งจะเป็นส่วนสำคัญในการผลักดันประเทศไทยสู่การเป็นศูนย์กลางการแพทย์ครบวงจรของอาเซียนต่อไป

อุตสาหกรรมยางและผลิตภัณฑ์ยาง

          ปริมาณการผลิตและจำหน่ายยางรถยนต์ในไตรมาสที่ 2 ปี 2564 เพิ่มขึนตามการขยายตัวที่ดีของตลาดทังในและต่างประเทศ การผลิตถุงมือยางชะลอตัวลงจากการระบาดของเชือไวรัสโควิด-19 ในโรงงาน แต่การส่งออกยังขยายตัวได้ดี        การผลิตและส่งออกยางแปรรูปขันปฐมขยายตัวจากการส่งออกไปยังตลาดจีนและมาเลเซีย ปริมาณการผลิตยางแปรรูปขั้นปฐม ยางรถยนต์ การผลิตยางแปรรูปขั้นปฐม ยางรถยนต์ และถุงมือยางและถุงมือยาง  ไตรมาสที่ 2 ปี 2564 มีจำนวน 0.41 ล้านตัน 15.15 ล้านเส้น และ 7,329.05 ล้านชิน ตามลำดับ เมื่อเทียบกับไตรมาสเดียวกัน20 10,000 ของปีก่อน การผลิตยางแปรรูปขันปฐมและยางรถยนต์มีปริมาณ15 เพิ่มขึนร้อยละ 21.11 และ 112.74 ตามลำดับ เนื่องจาก          10 8,000 มีปริมาณยางเข้าสู่ตลาดเพิ่มขึน และตลาดทังในและต่างประเทศมีการขยายตัวที่ดี ในขณะที่การผลิตถุงมือยางมีปริมาณลดลง5ร้อยละ 9.43 จากการระบาดของเชือไวรัสโควิด-19 ในโรงงาน 06,000 ส่งผลให้มีการปิดโรงงานบางแห่งเป็นการชั่วคราว  Q2 2020Q3 2020Q4 2020Q1 2021Q2 2021
          ยางแปรรูปขันปฐม (ล้านตัน)ยางรถยนต์ (ล้านเส้น)การจำหน่ายยางแปรรูปขั้นปฐม ยางรถยนต์ และถุงมือยางถุงมือยาง (ล้านชิน)ไตรมาสที่ 2 ปี 2564 มีจำนวน 0.11 ล้านตัน 11.13 ล้านเส้น ที่มา: สำนักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรมและ 701.55 ล้านชิน ตามลำดับ เมื่อเทียบกับไตรมาสเดียวกันมูลค่าการส่งออกยางแปรรูปขั้นปฐม ยางรถยนต์       ของปีก่อน การจำหน่ายยางแปรรูปขันปฐมและยางรถยนต์        และถุงมือยาง (ล้านเหรียญสหรัฐฯ) มีปริมาณเพิ่มขึนร้อยละ 16.39 และ 88.90 ตามลำดับ           ตามความต้องการใช้ที่ปรับตัวสูงขึน ในขณะที่การจำหน่าย          2,000 81.79 100.00 ถุงมือยางมีปริมาณลดลงร้อยละ 33.61 จากการปรับลดการ80.00 1,500 47.06

60.00 จำหน่ายผ่านพ่อค้าคนกลางลงของผู้ผลิตในประเทศ 31.75

40.00 1,000 การส่งออกยางแปรรูปขั้นปฐม ยางรถยนต์ และถุงมือยาง1.13 20.00 500 0.00 -27.87

-20.00 ล้านเหรียญสหรัฐฯ ตามลำดับ เมื่อเทียบกับไตรมาสเดียวกัน 0-40.00

ของปีก่อน การส่งออกยางแปรรูปขันปฐม ยางรถยนต์ และ Q2 2020Q3 2020Q4 2020Q1 2021Q2 2021

ยางแปรรูปขันปฐมยางรถยนต์ถุงมือยาง เพิ่มขึนร้อยละ 97.33 64.28 และ 97.45 ตามลำดับ ถุงมือยางอัตราการขยายตัว (YOY)ตามการขยายตัวที่ดีของตลาดจีนและสหรัฐอเมริกาเป็นหลัก ที่มา: กระทรวงพาณิชย์

แนวโน้มอุตสาหกรรมยางและผลิตภัณฑ์ยาง ไตรมาสที่ 3 ของปี 2564 การผลิตยางรถยนต์ในไตรมาสที่ 3 ปี 2564 คาดว่าจะขยายตัวร้อยละ 6.23 ตามแนวโน้มการขยายตัวของอุตสาหกรรมเกี่ยวเนื่องและตลาดส่งออก ในส่วนของการผลิตถุงมือยางคาดว่าจะขยายตัวร้อยละ 1.67 ตามความต้องการใช้ที่สูงขึนทั่วโลก สำหรับ การผลิตยางแปรรูปขันปฐมคาดว่าจะขยายตัวร้อยละ 5.00 จากการปรับตัวสูงขึนของราคายางทำให้มีแนวโน้มปริมาณยางเข้าสู่ตลาดเพิ่มขึน

อุตสาหกรรมรองเท้าและเครื่องหนัง

ไตรมาส 2 ปี 2564 เมื่อเปรียบเทียบกับไตรมาสเดียวกันของปีก่อน การฟอกและตกแต่งหนังฟอก การผลิตกระเป๋าเดินทาง* และรองเท้า มีการผลิตเพิ่มขึน ตามความต้องการที่เพิ่มขึนทังการส่งออกและการจำหน่ายในประเทศ เนื่องจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของเชือไวรัสโควิด-19 ที่ทั่วโลกได้เร่งการฉีดวัคซีนให้กับประชาชน จึงทำให้ผู้บริโภคคลายความกังวลและมีการใช้จ่ายจึงส่งผลต่อภาพรวมทางเศรษฐกิจการผลิต การส่งออก การนำเข้า การผลิต(ล้านเหรียญสหรัฐฯ) ไตรมาส 2 ปี 2564 เมื่อเปรียบเทียบกับไตรมาสเดียวกัน ของปีก่อน การฟอกและตกแต่งหนังฟอก กระเป๋าเดินทาง* และรองเท้า มีดัชนีการผลิตเพิ่มขึนร้อยละ 49.72 8.83 และ 22.72 ตามลำดับ จากการจำหน่ายในประเทศ และการส่งออกเพิ่มขึน การส่งออก-นำเข้า

การส่งออก ไตรมาส 2 ปี 2564 เมื่อเปรียบเทียบกับ ไตรมาสเดียวกันของปีก่อน มูลค่าการส่งออกเพิ่มขึนในทุกผลิตภัณฑ์ หนังและผลิตภัณฑ์หนังฟอกและหนังอัด มูลค่าการส่งออก การนำเข้าเครื่องใช้สำหรับเดินทาง และรองเท้า เพิ่มขึน ร้อยละ 300.00 45.17 71.80 และ 41.47 ตามลำดับ เนื่องจากทุกประเทศ250.00 ได้เร่งการฉีดวัคซีนส่งผลให้ผู้บริโภคมั่นใจมีการใช้จ่ายเพิ่มขึน 200.00 โดยมีตลาดส่งออกสำคัญ ที่เพิ่มขึนได้แก่ สหรัฐอเมริกา 150.00

เดนมาร์ก ฮ่องกง และจีน100.00

การนำเข้า ไตรมาส 2 ปี 2564 เมื่อเปรียบเทียบกับ 50.00

0.00 ไตรมาสเดียวกันของปีก่อน เพิ่มขึนทุกผลิตภัณฑ์ หนังดิบQ2/2563 Q3/2563 Q4/2563 Q1/2564 Q2/2564 และหนังฟอก มีมูลค่า 277.09 เพิ่มขึนร้อยละ 90.59 การส่งออก เครืองใช้สำหรับเดินทางการนำเข้า กระเป๋ากระเป๋า มีมูลค่า 107.64 เพิ่มขึนร้อยละ 71.70 และ การส่งออก รองเท้าและชินส่วนการนำเข้า รองเท้าการส่งออก หนังและผลิตภัณฑ์หนังฟอกและหนังอัดการนำเข้า หนังดิบและหนังฟอกรองเท้ามีมูลค่า 136.09 เพิ่มขึนร้อยละ 47.37 ผลจากที่มา : 1. ดัชนีผลผลิต - สำนักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม มาตรการเยียวยาและกระตุ้นเศรษฐกิจของภาครัฐ ทำให้

          2. มูลค่าการส่งออก การนำเข้า - กระทรวงพาณิชย์ ผู้บริโภคหันมาใช้จ่ายเพิ่มขึน          * รวมถึงกระเป๋าถือและสิ่งที่คล้ายกัน อานม้าและเครื่องเทียมลาก

**ปี 2564 เพิ่มผลิตภัณฑ์และปรับค่าถ่วงนำหนัก

          แนวโน้มอุตสาหกรรมรองเท้าและเครื่องหนัง ไตรมาสที่ 3 ปี 2564 การผลิตเครื่องหนังและรองเท้า ไตรมาส 3 ปี 2564 เทียบกับปีก่อน คาดว่าการฟอกและตกแต่งหนังฟอก การผลิตกระเป๋าและรองเท้า มีแนวโน้มที่ลดลง เนื่องจากการจำหน่ายในประเทศลดลง หากเปรียบเทียบกับไตรมาสก่อนหน้า การผลิต       ในทุกผลิตภัณฑ์ยังมีแนวโน้มที่ลดลง เนื่องจากเกิดการแพร่ระบาดระรอกใหม่ภายในประเทศอย่างรุนแรงและกระจายวงกว้าง         ทั่วทังประเทศ  สำหรับการส่งออกไปตลาดต่างประเทศเทียบกับไตรมาสเดียวกันของปีก่อน ดีขึนจากการที่ทั่วโลกเร่งการฉีดวัคซีน    จึงส่งผลต่อความเชื่อมั่น ตลาดต่างประเทศจึงกระเตื่องขึนได้บ้าง

อุตสาหกรรมอัญมณีและเครื่องประดับ

          ไตรมาส 2 ปี 2564 เมื่อเปรียบเทียบกับไตรมาสเดียวกันของปีก่อน การผลิตและจำหน่ายอัญมณีและเครื่องประดับ      ในภาพรวมปรับตัวเพิ่มขึนจากการผลิตเพื่อการส่งออกและการจำหน่ายในประเทศเพิ่มขึน  เนื่องจากผลกระทบสถานการณ์    การแพร่ระบาดของเชือไวรัสโควิด-19 ที่มีแนวโน้มดีขึนจากการที่ทุกประเทศได้เร่งการฉีดวัคซีนให้ประชาชนและภาครัฐ       มีมาตรการส่งเสริมและเยียวยาประชาชนส่งผลให้ผู้บริโภคเริ่มมีการจับจ่ายใช้สอยเพิ่มขึนการผลิต การจำหน่าย และการส่งออก

การผลิต 120.00 100.00 78.22 79.64 การผลิตอัญมณีและเครื่องประดับในภาพรวม ไตรมาส 2 ปี 2564 70.93 70.22 เมื่อเปรียบเทียบ (%YOY) ขยายตัวเพิ่มขึน ร้อยละ 69.56 80.00 100.00

47.78 77.95

60.00

ในประเทศและการส่งออกที่เพิ่มขึน 80.00

76.29 60.00 79.76

78.21 40.00 การจำหน่าย 20.00 การจำหน่ายอัญมณีและเครื่องประดับในไตรมาส 2 ปี 2564 40.00 -เมื่อเปรียบเทียบ (%YOY) มีปริมาณที่ลดลงในผลิตภัณฑ์เพชร 46.13 Q2/63Q3/63Q4/63Q1/64Q2/64 ลดลงร้อยละ 42.43 แต่ผลิตภัณฑ์สำเร็จรูป เครื่องประดับแท้ ดัชนีการผลิตดัชนีการส่งสินค้าและเครื่องประดับเทียม เพิ่มขึนร้อยละ 40.61 และ 25.89 เนื่องจากภาครัฐมีมาตรการการเยียวยาที่ออกมาต่อเนื่อง อีกทังผู้จำหน่ายหันมาจำหน่ายสินค้าออนไลน์ทำให้ผู้บริโภคมูลค่าการส่งออกเข้าถึงและมีการใช้จ่ายเพิ่มขึน (หน่วย : ล้านเหรียญสหรัฐฯ) 8,000 การส่งออก6,053

อัญมณีและเครื่องประดับ (ไม่รวมทองคำ) ไตรมาส 2 ปี 2564 6,000 4,635

4,552 4,000

2,082 2,655 2,690 1,507 2,000

พลอย เครื่องประดับแท้ และเครื่องประดับเทียม เพิ่มขึน 1,399 -662 1,136

ร้อยละ 90.62 81.12 131.32 และ 27.02 โดยมีตลาดQ2/63 Q3/63 Q4/63 Q1/64 Q2/64

ส่งออกสำคัญ ได้แก่ สหรัฐอเมริกา ฮ่องกง เยอรมนี และ ไม่รวมทองคำรวมทองคำ

อินเดีย แต่หากพิจารณาการส่งออกอัญมณีและเครื่องประดับที่มา : 1. ดัชนีผลผลิต , ดัชนีการส่งสินค้า - สำนักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม ในภาพรวม มีมูลค่ารวม 2,690.38 ล้านเหรียญสหรัฐฯ ลดลง

          2. มูลค่าการส่งออก การนำเข้า - กระทรวงพาณิชย์ร้อยละ 41.96  จากมูลค่าการส่งออกทองคำยังไม่ขึนรูป        ที่ลดลงร้อยละ 67.51 แนวโน้มอุตสาหกรรมอัญมณีและเครื่องประดับ ไตรมาสที่ 3 ปี 2564
          การผลิตอัญมณีและเครื่องประดับในภาพรวม ไตรมาส 3 ปี 2564 คาดว่าจะมีทิศทางที่ปรับตัวลงลด เนื่องจากสถานการณ์ทางการแพร่ระบาดของเชือไวรัสโควิด-19 ระรอกใหม่ ที่มีการแพร่ระบาดรุนแรงและกระจายตัวเพิ่มขึนจำนวนมากต่อเนื่องยาวนาน อีกทังแนวทางการการเร่งฉีดวัคซีนก็มีแนวโน้มที่จะเพิ่มเข็มที่ 3  เพราะเชือรุนแรงขึนอาจจะส่งผลต่อความมั่นใจและการใช้จ่าย ทังนีเศรษฐกิจโดยรวมของโลกมีแนวโน้มดีขึนจากปีก่อนที่ฐานต่ำ และผลจากการที่ทั่วโลกเร่งการฉีดวัคซีน  แต่คงต้องติดตามสถานการณ์การแพร่ระบาดที่มีการกลายพันธุ์และแพร่ระบาดอย่างรวดเร็วและรุนแรง  อาจจะส่งผลกระทบต่อภาพรวมทางเศรษฐกิจทังในและต่างประเทศ          อุตสาหกรรมอาหาร
          ดัชนีผลผลิตอุตสาหกรรมอาหารไตรมาสที่ 2 ปี 2564 ขยายตัวเพิ่มขึนเมื่อเปรียบเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน เนื่องจากการทยอยฟื้นตัวของเศรษฐกิจโลก ส่งผลให้สินค้าบางรายการมีคำสั่งซืออย่างต่อเนื่อง ประกอบกับปริมาณวัตถุดิบผลผลิตทางการเกษตรที่ใช้แปรรูปในอุตสาหกรรมอาหารที่สำคัญ เช่น สับปะรด มันสำปะหลัง เพิ่มขึน โดยผลผลิตสินค้าอาหารที่ขยายตัว ได้แก่ แป้งมันสำปะหลัง อาหารสัตว์เลียงสำเร็จรูป สับปะรดกระป๋อง ผักผลไม้แช่แข็ง และข้าวโพดกระป๋อง สำหรับมูลค่าการส่งออกที่ขยายตัว ได้แก่ ผัก ผลไม้สด แช่เย็น แช่แข็ง กระป๋อง และแปรรูป ผลิตภัณฑ์มันสำปะหลัง อาหารสัตว์เลียง ไขมันและนำมันจากพืชและสัตว์แนวโน้มอุตสาหกรรมอาหาร ไตรมาสที่ 1 ของปี 2562 ที่มา : ดัชนีผลผลิตอุตสาหกรรมและปริมาณจำหน่าย รวบรวมจากสำนักงาน          เศรษฐกิจอุตสาหกรรม (สศอ.)          มูลค่าส่งออกและนำเข้า รวบรวมจากกระทรวงพาณิชย์ โดยการจัดกลุ่มของ สศอ.
            ดัชนีผลผลิตอาหาร ไตรมาสที่ 2 ปี 2564 อยู่ที่ระดับ 100.6 ขยายตัว   ร้อยละ 3.5 (%YoY) เมื่อเทียบกับไตรมาสเดียวกันของปีก่อน โดยผลผลิตสินค้าอาหารที่ขยายตัวได้ดี เช่น มันสำปะหลัง ขยายตัวร้อยละ 15.2 จากสินค้าสำคัญคือ แป้งมันสำปะหลัง ขยายตัวร้อยละ 15.8 เนื่องจากความต้องการบริโภคของตลาดในและต่างประเทศ โดยเฉพาะจีนซึ่งเป็นตลาดส่งออกหลักสำคัญของไทย ได้นำเข้าแป้งมันสำปะหลังเพื่อใช้เป็นสินค้าทดแทนข้าวโพดเลียงสัตว์ เนื่องจากราคาข้าวโพดเลียงสัตว์อยู่ในระดับที่สูง รองมาคือ อาหารสัตว์สำเร็จรูป ขยายตัวร้อยละ 10.1 จากสินค้าสำคัญคือ อาหารสัตว์เลียงสำเร็จรูป ขยายตัวร้อยละ 13.0 เนื่องจากมีคำสั่งซืออาหารแมวอย่างต่อเนื่องจากตลาดอเมริกา การขยายช่องทางจำหน่ายออนไลน์ของผู้ประกอบการ ประกอบกับความนิยมในการเลียงสัตว์เลียงที่เติบโตขึนทั่วโลกอย่างต่อเนื่อง      ผักและผลไม้แปรรูป ขยายตัวร้อยละ 9.6 จากสินค้าสำคัญคือ 1) สับปะรดกระป๋อง ขยายตัวร้อยละ 60.7 เนื่องจากวัตถุดิบสับปะรดมีปริมาณเพิ่มขึน ประกอบกับมีคำสั่งซือเพิ่มมากขึนจากตลาดส่งออกหลักอเมริกา 2) ผักผลไม้  แช่แข็ง ขยายตัวร้อยละ 22.9 และ 3) ข้าวโพดหวานกระป๋อง ขยายตัวร้อยละ 19.1      การจำหน่ายอาหารในประเทศ ไตรมาสที่ 2 ปี 2564  มีปริมาณ 53,281.06 พันตัน ปรับตัวลดลงร้อยละ 0.9 (%YoY) เมื่อเทียบกับไตรมาสเดียวกันของปีก่อน โดยสินค้าที่มีการบริโภคในประเทศลดลง ได้แก่ ผักผลไม้แปรรูป ปรับตัวลดลงร้อยละ 19.6   จากสับปะรดกระป๋อง ผลไม้กระป๋องอื่น ๆ และข้าวโพดกระป๋อง รองลงมาคือ นำตาล ปรับตัวลดลงร้อยละ 12.4 จากนำตาลทรายดิบ ประมง ปรับตัวลดลงร้อยละ 10.6 จากทูน่ากระป๋อง และนำมันปาล์ม ปรับตัวลดลงร้อยละ 7.3 จากนำมันปาล์มดิบและนำมันปาล์มบริสุทธิ์

การส่งออกไตรมาสที่ 2 ปี 2564 มีมูลค่า 9,099.1 ล้านเหรียญสหรัฐฯ ขยายตัวร้อยละ 11.2 (%YoY) เมื่อเทียบกับไตรมาสเดียวกันของปีก่อน จากสินค้าสำคัญ เช่น ผัก ผลไม้ สด แช่เย็น แช่แข็ง กระป๋องและแปรรูป เนื่องจากมีการใช้มาตรการบริหารจัดการผลไม้ เชิงรุก ประกอบกับสินค้ามีคุณภาพเป็นที่ยอมรับในมาตรฐานระดับโลก รองลงมาคือ ผลิตภัณฑ์มันสำปะหลัง เนื่องจากเป็นที่ต้องการในตลาดสำคัญอย่างจีน ญี่ปุ่น และไต้หวัน เพื่อใช้เป็นวัตถุดิบในอุตสาหกรรมอาหาร อาหารสัตว์ และเอทานอล อาหารสัตว์เลียง เนื่องจากแนวโน้มการเลียงสัตว์ที่เติบโตอย่างต่อเนื่อง ส่งผลบวกธุรกิจต่ออาหารสัตว์เลียงของไทยที่มีศักยภาพในการรับจ้างผลิต รวมถึงไขมันและนำมันจากพืชและสัตว์ เนื่องจากความต้องการบริโภคของตลาดสำคัญ เช่น อินเดีย มาเลเซีย

การนำเข้าไตรมาสที่ 2 ปี 2564 มีมูลค่า 4,715.1 ล้านเหรียญสหรัฐฯ ขยายตัวร้อยละ 30.2 (%YoY) เมื่อเทียบกับไตรมาสเดียวกันของปีก่อน จากการนำเข้าเมล็ดพืชนำมัน เพื่อรองรับอุตสาหกรรมนำมันพืช รองลงมาคือ กากพืชนำมัน เพื่อรองรับอุตสาหกรรมอาหารสัตว์ และผลิตภัณฑ์จากแป้ง เพื่อรองรับอุตสาหกรรมต่อเนื่อง โดยเฉพาะบะหมี่กึ่งสำเร็จรูป

          แนวโน้มอุตสาหกรรมอาหาร ไตรมาสที่ 3 ของปี 2564 คาดว่าดัชนีผลผลิตในภาพรวมและมูลค่าการส่งออกจะขยายตัวเล็กน้อย         เมื่อเทียบกับไตรมาสเดียวกันของปีก่อน เนื่องจากตลาดคู่ค้าหลักยังคงมีความต้องการบริโภคอย่างต่อเนื่องจากการคลายมาตรการล็อกดาวน์ ประกอบกับมีปัจจัยบวกจากเงินบาทอ่อนค่า อย่างไรก็ตาม สถานการณ์การผลิตและการส่งออกยังมีความเสี่ยงจากการระบาดของโควิด     รอบใหม่ที่เกิดขึ้นในประเทศและประเทศคู่ค้า ซึ่งอาจส่งผลต่อกำลังซื้อของผู้บริโภคลดลง

ที่มา: สำนักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม กระทรวงอุตสาหกรรม


เว็บไซต์นี้มีการใช้งานคุกกี้ ศึกษารายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และ ข้อตกลงการใช้บริการ รับทราบ