สถานการณ์การผลิตภาคอุตสาหกรรมเดือนตุลาคม 2566

ข่าวเศรษฐกิจ Monday December 25, 2023 13:47 —สำนักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม

สถานการณ์การผลิตภาคอุตสาหกรรม ตุลาคม 2566

(%YOY) 2566 ประมาณการ Q1 Q2 Q3 2566 2567

GDP

2.6

1.8

1.5

2.5

2.7 - 3.7 GDP การผลิต อุตสาหกรรม -3.0 -3.0 -4.0 -3.0 2.0 - 3.0

MPI

-3.70

-5.51

-6.27

-4.8

2.0 - 3.0

สถานการณ์การผลิตภาคอุตสาหกรรม

อุตสาหกรรมที่ส่งผลต่อ

MPI เดือน ตุลาคม 256 6

อุตสาหกรรมที่ส่งผลบวก

(

การกลั่นน้ำมัน

+22.48

จากน้ำมันดีเซล แก๊สโซฮอล์

และน้ำมันเครื่องบินจาก

การท่องเที่ยวที่ขยายตัว ต่อเนื่อง และการ หยุด ซ่อม

บำรุงโรงกลั่นของผู้ผลิตบางรายในปีก่ อน

เม็ดพลาสติก

12.49

จากการหยุดซ่อมบำรุงในปีก่อน ขณะที่ปีนี้

การผลิตเริ่มกลับมาเป็นปกติ

สายไฟ +

43.78

ตามการขยายตัวของตลาดในประเทศ จากคำสั่งซื้อ

ต่อเนื่องในเครือการไฟฟ้า MEA, PEA และ EGAT

อุตสาหกรรมที่ส่งผลลบ

(

ยานยนต์

7. 43

หดตัวจากตลาดในประเทศเป็นหลัก จากความเข้มงวดใน

การอนุมัติสินเชื่อของสถาบันการเงิน

รวมทั้ง การชะลอ

การตัดสินใจซื้อ เพื่อรอโปรโมชั่นในงาน

Motor Expo 2023

ชิ้นส่วนอิเล็กทรอนิกส์

17. 48

สงครามการค้าระหว่างสหรัฐฯ

จีน ทำให้ผู้ผลิตใน

อุตสาหกรรมต่อเนื่องชะลอคำสั่งซื้อหรือปรับแผนลงทุน

คอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ต่อพ่วง

32.89

จาก

HDD และ Printer โดย HDD เป็นผลจากอุปสงค์

ในตลาดโลกชะลอตัว ขณะที่ Printer ลดลงจากปี

ก่อนที่มีคำสั่งซื้อจำนวนมากทดแทนสาขาในเวียดนาม

การผลิต ต.ค. 2566 ม.ค.-ต.ค. 2566 ดัชนีผลผลิตอุตสาหกรรม (MPI, %YOY) -4.29 -5.04

อัตราการใช้กำลังการผลิต

(CAP-U, ร้อยละ)

56.83

59.53

ประมาณการภาวะเศรษฐกิจอุตสาหกรรม

จัดทำโดย

: กองวิจัยเศรษฐกิจอุตสาหกรรม สำนักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม สศอ.) www.oie.go.th

สอบถามข้อมูล

: นางสาวอัมพร สุวรรณรัตน์ โทร. 0 2430 6806 ต่อ 68061 4 ดาวน์โหลดข้อมูล

ที่มา

: GDP โดย สศช. ., MPI โดย สศอ. ข้อมูล ณ เดือน พฤศจิกายน 256 6

ประมาณการ

2566 2567 : GDP โดย สศช. GDP อุตสาหกรรม , MPI โดย สศอ

ปี 2566 ประมาณการ MPI หดตัวร้อยละ 4.8 และ GDP การผลิตอุตสาหกรรม หดตัวร้อยละ 3.0 (YOY)

ปี 2567 ประมาณการ MPI และ GDP การผลิตอุตสาหกรรม ขยายตัวร้อยละ 2.0 - 3.0 (YOY)

ตุลาคม 2566

?

เศรษฐกิจในประเทศยังฟื้นตัวช้า

ผลพวงจากอัตราดอกเบี้ย เงินกู้ที่

เพิ่มสูงขึ้

น ส่งผลให้ ต้นทุนทางการเงินของผู้ประกอบการ และภาระ

หนี้สินผู้บริโภคปรับตัวสูงขึ้น บั่นทอนกำลังซื้อในประเทศ

?

จำนวนนักท่องเที่ยวต่างชาติไม่เป็นไปตามเป้าหมายที่ตั้งไว้ โดยเฉพาะ

นักท่องเที่ยวจีน เนื่องจาก จีนมีนโยบายส่งเสริมการท่องเที่ยวในประเทศ

?

ขณะที่ภาคการส่งออกเริ่มส่งสัญญาณฟื้นตัวอย่างค่อยเป็นค่อยไป

อาจหนุนให้การผลิต

รองรับการบริโภค ในระยะถัดไปปรับตัวเพิ่มขึ้นได้

ดัชนีผลผลิตอุตสาหกรรม (

MPI) เดือน ตุลาคม 256 6 หดตัวร้อยละ 4.29 (

ปัญหาภูมิรัฐศาสตร์

ยืดเยื้อ

ต้นทุนการผลิต

ค่าครองชีพ

หนี้สินภาค

ธุรกิจและ

ครัวเรือนอยู่ในระดับสูง

สภาพภูมิอากาศแปรปรวน

จากภัยแล้ง

ปัจจัย

กดดัน

การส่งออกเริ่มทยอย

ฟื้นตัว

การบริโภคในประเทศ

มีแนวโน้มขยายตัวดี

การลงทุนภาคเอกชนมีทิศทางเติบโตต่อเนื่อง

ปัจจัยสนับสนุน

ที่มา: สำนักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม กระทรวงอุตสาหกรรม


เว็บไซต์นี้มีการใช้งานคุกกี้ ศึกษารายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และ ข้อตกลงการใช้บริการ รับทราบ