รายงานภาวะเศรษฐกิจรายสัปดาห์ (Weekly) ณ 6 พ.ค. 65

ข่าวเศรษฐกิจ Tuesday May 10, 2022 15:15 —กระทรวงการคลัง

เศรษฐกิจไทย

Executive Summary

1 1

? อัตราเงินเฟ้อทั่วไปในเดือน เม.ย. 65 ขยายตัวที่ร้อยละ 4.65 ต่อปี เช่นเดียวกับ

อัตราเงินเฟ้อพื้นฐานขยายตัวที่ร้อยละ 2.00 ต่อปี

? ดัชนีราคาวัสดุก่อสร้างในเดือน เม.ย. 65 ขยายตัวร้อยละ 8.8 เมื่อเทียบกับช่วง

เดียวกันของปีก่อน

? ปริมาณรถจักรยานยนต์จดทะเบียนใหม่ในเดือน เม.ย. 65 หดตัวที่ร้อยละ

-7.6 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน

? หนี้สาธารณะคงค้าง ณ สิ้นเดือน มี.ค. 65 อยู่ที่ร้อยละ 60.64 ของ GDP

เศรษฐกิจไทย

เศรษฐกิจต่างประเทศ

? GDP ฮ่องกง ไตรมาส 1 ปี 65 หดตัวที่ร้อยละ -4.0 จากช่วงเดียวกันปีก่อน

ภาคการเงิน

? ดุลบัญชีเดินสะพัดเดือน มี.ค. 65 เกินดุลที่ 1,244.9 ล้านดอลลาร์สหรัฐ

? สินเชื่อในสถาบันการเงินเดือน มี.ค. 65 ขยายตัวร้อยละ 4.1 จากช่วงเดียวกันปี

ก่อน เช่นเดียวกับเงินฝากในสถาบันการเงินขยายตัวร้อยละ 6.1 จากช่วงเดียวกันปี

ก่อน

เครื่องชี้เศรษฐกิจไทย

3

ที่มา : กระทรวงพาณิชย์

ดัชนีราคาวัสดุก่อสร้างในเดือน เม.ย. 65 ขยายตัวร้อยละ 8.8 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน

ดัชนีราคาวัสดุก่อสร้างในเดือน เม .ย. 65 ขยายตัวติดต่อกันเป็นเดือนที่ 19 ตามราคาต้นทุนวัตถุดิบและ

พลังงานที่ยังคงอยู่ในระดับสูง เช่น น้ามัน ถ่านหิน และเหล็ก จากสถานการณ์ความขัดแย้งรวมถึงการลดก้าลัง

การผลิตของประเทศผู้ผลิต โดยดัชนีฯ หมวดสินค้าส้าคัญ อาทิ หมวดเหล็กและผลิตภัณฑ์เหล็ก ผลิตภัณฑ์

คอนกรีต และซีเมนต์ ยังคงขยายตัวต่อเนื่องในเดือน เม.ย. 65 ที่ร้อยละ 19.3, 6.7 และ 6.9 ต่อปี ตามล้าดับ

(ทั้ง 3 หมวดคิดเป็นสัดส่วนกว่าร้อยละ 53)

Construction Materials Price Index : CMI

8.8

-5

0

5

10

15

90

100

110

120

130

Jan-20

Apr-20

Jul-20

Oct-20

Jan-21

Apr-21

Jul-21

Oct-21

Jan-22

Apr-22

Index Index %YoY %YoY

Indicators

(%yoy)

2021 2022

Q4 ทั้งปี Q1 Mar Apr YTD

ดัชนีราคาวัสดุ

ก่อสร้าง

9.7 8.0 7.2 8.6 8.8 7.6

อัตราเงินเฟ้อทั่วไปในเดือน เม.ย. 65 ขยายตัวที่ร้อยละ 4.65 ต่อปี

อัตราเงินเฟ้อเดือน เม.ย. 65 สูงขึ้นร้อยละ 4.65 เป็นการเพิ่มขึ้นในอัตราที่ชะลอตัวลงจากเดือนก่อนหน้า

เนื่องจากฐานที่สูงขึ้นของค่ากระแสไฟฟ้าสิ้นสุดมาตรการลดภาระค่าครองชีพของประชาชนในปี 64 ประกอบกับ

ราคาน้ามันเชื้อเพลิงเริ่มชะลอตัวลง สินค้าส้าคัญที่ราคาลดลง ได้แก่ ข้าวสารเจ้า ข้าวสารเหนียว ผลไม้สด

เครื่องนุ่งห่ม และรองเท้า เป็นต้น สินค้าที่ราคาสูงขึ้น อาทิ ก๊าซหุงต้มที่ราคาปรับตัวสูงขึ้นจากการสิ้นสุด

ระยะเวลาตรึงราคา โดยมีการทยอยปรับขึ้นราคาแบบขั้นบันได และสินค้าในกลุ่มอาหาร โดยเฉพาะเนื้อสุกร

ไก่สด ไข่ไก่ น้ามันพืช อาหารบริโภคในบ้านนอกบ้านขณะที่ราคาสินค้าและบริการในหมวดอื่นส่วนใหญ่ยังทรง

ตัว ทั้งนี้ เมื่อหักอาหารสดและพลังงานออกอัตราเงินเฟ้อพื้นฐานขยายตัวที่ร้อยละ 2.00 ขณะที่เฉลี่ย 4 เดือน

แรกของปี 65 (ม.ค.-เม.ย.) อัตราเงินเฟ้อทั่วไปสูงขึ้นร้อยละ 4.71 และอัตราเงินเฟ้อพื้นฐานสูงขึ้นร้อยละ 1.58

เครื่องชี้เศรษฐกิจไทย

4

ที่มา : กรมการขนส่งทางบก

ปริมาณรถจักรยานยนต์จดทะเบียนใหม่ในเดือน เม.ย. 65 หดตัวที่ร้อยละ -7.6 เมื่อเทียบกับช่วง

เดียวกันของปีก่อน แต่เมื่อเทียบกับเดือนก่อนหน้าหลังขจัดผลทางฤดูกาล ขยายตัวที่ร้อยละ 6.4

หดตัวต่อเนื่องเป็นเดือนที่ 2 โดยเป็นผลจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโควิดสายพันธุ์โอมิครอนที่

ยังคงแพร่ระบาดเป็นวงกว้างและรุนแรง ประกอบกับการปรับตัวเพิ่มขึ้นของราคาสินค้า และราคาพลังงาน

ส่งผลกระทบต่อต้นทุนการผลิตและค่าครองชีพให้ปรับตัวสูงขึ้นเช่นกัน นอกจากนี้ มาตรการกระตุ้นการใช้จ่าย

ที่ใกล้สิ้นสุดลง ส่งผลให้ก้าลังซื้อเริ่มส่งสัญญาณชะลอตัวลงตามความต้องการซื้อที่ปรับตัวลดลง

Motorcycle registration

Indicators

(%yoy)

2021 2022

Q4 ทั้งปี Q1 Mar Apr YTD

ปริมาณ

รถจักรยานยนต์

9.1 4.8 3.2 -8.6 -7.6 0.7

%mom,%qoq 28.4 - -1.2 -9.9 6.4 -

134,512

-7.6

-40.0

-20.0

0.0

20.0

40.0

60.0

80.0

70,000

90,000

110,000

130,000

150,000

170,000

190,000

210,000

Jan-21

Feb-21

Mar-21

Apr-21

May-21

Jun-21

Jul-21

Aug-21

Sep-21

Oct-21

Nov-21

Dec-21

Jan-22

Feb-22

Mar-22

Apr-22

(คัน) Motorcycle Registration (units) % YoY (%)

หนี้สาธารณะคงค้าง ณ สิ้นเดือน มี.ค. 65 มีจ้านวนทั้งสิ้น 9,951,962 ล้านบาท หรือคิดเป็น

ร้อยละ 60.64 ของ GDP และเมื่อเปรียบเทียบกับเดือนก่อนหน้า พบว่า หนี้สาธารณะคงค้างเพิ่มขึ้น

สุทธิ 123,695 ล้านบาท

ทั้งนี้ สถานะหนี้สาธารณะของไทยถือว่ามีความมั่นคง สะท้อนได้จากสัดส่วนหนี้สาธารณะต่อ GDP ยังอยู่ใน

ระดับต้ากว่ากรอบวินัยในการบริหารหนี้สาธารณะที่ตั้งไว้ไม่เกินร้อยละ 70 ของ GDP และหนี้สาธารณะ

ส่วนใหญ่เป็นหนี้ระยะยาว โดยแบ่งตามอายุคงเหลือคิดเป็นร้อยละ 85.38 ของยอดหนี้สาธารณะและเป็น

หนี้ในประเทศคิดเป็นร้อยละ 98.21 ของยอดหนี้สาธารณะ

เครื่องชี้ภาคการเงิน

ดุลบัญชีเดินสะพัดเดือน มี.ค. 65 เกินดุลที่ 1,244.9 ล้านดอลลาร์สหรัฐ หลังจากขาดดุลใน

เดือนก่อนหน้าที่ -651.9 ล้านดอลลาร์สหรัฐ

โดยดุลการค้า (ตามระบบ BOP) เกินดุลเพิ่มขึ้นจากเดือนก่อนหน้าอย่างมีนัยส้าคัญมาอยู่ที่ 5,165.7

ล้านดอลลาร์สหรัฐ ขณะที่ดุลบริการ รายได้ และเงินโอน ขาดดุลลดลงจากเดือนก่อนหน้ามาอยู่ที่ -3,920.8

ล้านดอลลาร์สหรัฐ

5

ที่มา : ธนาคารแห่งประเทศไทย

สิน เ ชื่อ ใ น ส ถ บัน ก ร เ งิน เ ดือ น มี. ค . 6 5

มียอดคงค้าง 20. 0 ล้า นล้าน บาท คิดเป็น

การขยายตัวร้อยละ 4.1 จากช่วงเดียวกันปีก่อน

เ งิน ฝา ก ใน ส ถ บัน ก ร เ งิน เ ดือ น มี. ค . 6 5

มีย อ ดคง ค้า ง 24 . 0 ล้า น ล้า น บ ท คิดเ ป็น

การขยายตัวร้อยละ 6.1 จากช่วงเดียวกันปีก่อน

หรือขยายตัวเร่งขึ้นที่ร้อยละ 0.3 จากเดือนก่อนหน้า

(หลังขจัดผลทางฤดูกาล) เมื่อแยกประเภทการขอ

สินเชื่อพบว่า สินเชื่อเพื่อธุรกิจขยายตัวชะลอลง

ที่ร้อยละ 5.7 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน ขณะที่

สินเชื่อเพื่อการอุปโภคบริโภคขยายตัวคงที่ที่ร้อยละ

3.2 จากช่วงเดียวกันปีก่อน

หรือหากขจัดผลทางฤดูกาลแล้วขยายตัวเร่งขึ้น

ที่ร้อยละ 0.6 จากเดือนก่อนหน้า โดยเงินฝากจาก

ธนาคารพาณิชย์ขยายตัวเร่งขึ้นที่ร้อยละ 6.5 จาก

ช่วงเดียวกันของปีก่อน ขณะที่ เงินฝากจากสถาบัน

การเงินเฉพาะกิจขยายตัวชะลอลงที่ร้อยละ 5.4 จาก

ช่วงเดียวกันปีก่อน

เครื่องชี้เศรษฐกิจต่างประเทศ

สหรัฐฯ

มูลค่าการส่งออก เดือน มี.ค. 65 ขยายตัวร้อยละ 18.9 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน ชะลอตัวลง

จากเดือนก่อนหน้าที่ร้อยละ 22.0 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน

มูลค่าการน้าเข้า เดือน มี.ค. 65 ขยายตัวร้อยละ 25.3 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน เร่งขึ้นจาก

เดือนก่อนหน้าที่ร้อยละ 21.3 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน และเป็นระดับที่สูงที่สุดในรอบ 9 เดือน

ดุลการค้า เดือน มี.ค. 65 ขาดดุลที่ -1.2 แสนล้านดอลลาร์ เพิ่มขึ้นจากเดือนก่อนหน้าที่ขาดดุล

อยู่ที่ -8.5 หมื่นล้านดอลลาร์

ดัชนีฯ PMI ภาคอุตสาหกรรม (ISM) เดือน เม.ย. 65 อยู่ที่ระดับ 55.4 จุด ลดลงจากเดือน

ก่อนหน้าที่อยู่ที่ระดับ 57.1 จุด และเป็นระดับที่ต้าที่สุดนับตั้งแต่เดือน ส .ค. 63 ท่ามกลาง

ข้อจ้ากัดด้านห่วงโซ่อุปทาน และความคืบหน้าในการแก้ปัญหาแรงงานขาดแคลนที่ชะลอลง

ดัชนีฯ PMI นอกภาคอุตสาหกรรม (ISM) เดือน เม.ย. 65 อยู่ที่ระดับ 57.1 จุด ลดลงจากเดือน

ก่อนหน้าที่อยู่ที่ระดับ 58.3 จุด ท่ามกลางความกังวลเกี่ยวกับเงินเฟ้อ ขณะที่ ข้อจ้ากัดด้าน

การผลิตและการขนส่งยังคงมีอยู่ และความขัดแย้งรัสเซียยูเครนส่งผลให้ราคาต้นทุนการผลิตเพิ่ม

สูงขึ้น โดยเฉพาะราคาเชื้อเพลิงและเคมีภัณฑ์

ธนาคารกลางสหรัฐฯ มีมติให้ปรับขึ้นอัตราดอกเบี้ยนโยบายในเดือน พ .ค. 65 อยู่ที่ร้อยละ

0.75-1.00 ต่อปีเพิ่มขึ้นจากเดิมที่อยู่ที่ร้อยละ 0.25-0.50 ต่อปี เพื่อดูแลสถานการณ์เงินเฟ้อ

ในประเทศ

จ้านวนผู้ขอรับสวัสดิการว่างงานครั้งแรกรายสัปดาห์ (24-30 เม.ย. 65) อยู่ที่ระดับ 2.00

แสนราย ปรับตัวเพิ่มขึ้นจากสัปดาห์ก่อนหน้าที่ระดับ 1.81 แสนราย เป็นระดับที่สูงที่สุดนับตั้งแต่

เดือน ก.พ. 65 อย่างไรก็ดี ยังต้ากว่าค่าเฉลี่ยต่อสัปดาห์ในช่วงก่อนเกิดการแพร่ระบาดที่ 2.15

แสนราย ขณะที่จ้านวนผู้ยื่นขอรับสวัสดิการว่างงานระยะเฉลี่ย 4 สัปดาห์ (4 week moving

average) ซึ่งขจัดความผันผวนรายสัปดาห์แล้ว ปรับตัวลดลงจากสัปดาห์ก่อนมาอยู่ที่ 1.42

แสนราย

ดัชนีฯ PMI ภาคบริการ (Caixin) เดือน เม.ย. 65 อยู่ที่ระดับ 36.2 จุด ลดลงจากเดือนก่อน

หน้าที่อยู่ที่ระดับ 42.0 จุด และเป็นการลดลงต่อเนื่องติดต่อกันเป็นเดือนที่ 4 ท่ามกลาง

การด้าเนินมาตรการควบคุม COVID-19 ที่เข้มงวด

จีน

ที่มา: ฐานข้อมูล CEIC และ Tradingeconomics รวมรวบโดย สศค.

ยูโรโซน

อัตราการว่างงาน เดือน มี.ค. 65 อยู่ที่ร้อยละ 6.8 ของก้าลังแรงงานรวม ลดลงจากเดือน

ก.พ. 65 ที่อยู่ร้อยละ 6.9 ของก้าลังแรงงานรวม อย่างไรก็ตาม อัตราการว่างงานเดือน มี.ค. 65

สูงกว่าที่ตลาดคาดการณ์ไว้ว่าจะอยู่ที่ร้อยละ 6.7 ของก้าลังแรงงานรวม

ยอดค้าปลีก เดือน มี.ค. 65 ขยายตัวร้อยละ 0.8 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันปีก่อน ชะลอตัวลง

จากเดือน ก.พ. 65 ที่ขยายตัวร้อยละ 5.2 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันปีก่อน เนื่องจากราคาสินค้า

ที่เพิ่มขึ้นเป็นปัจจัยกดดันก้าลังซื้อของผู้บริโภค

เครื่องชี้เศรษฐกิจต่างประเทศ

ที่มา: ฐานข้อมูล CEIC และ Tradingeconomics รวมรวบโดย สศค.

ดัชนีฯ PMI ภาคอุตสาหกรรม เดือน เม.ย. 65 อยู่ที่ระดับ 51.7 จุด คงที่จากเดือนก่อนหน้า

อินเดีย เวียดนาม

ธนาคารกลางอินเดียประกาศขึ้นอัตราดอกเบี้ยนโยบายที่ร้อยละ 4.4 ต่อปี เป็นการปรับขึ้นครั้ง

แรกนับตั้งแต่ปี 2561 เนื่องจากแรงกดดันด้านเงินเฟ้ออย่างต่อเนื่องเริ่มรุนแรงขึ้นและมีความเสี่ยง

ที่อัตราเงินเฟ้อยังคงสูงขึ้นนานเกินไป

ดัชนีฯ PMI ภาคอุตสาหกรรม เดือน เม.ย. 65 อยู่ที่ระดับ 54.7 จุด เพิ่มขึ้นจากเดือนก่อน

หน้าที่อยู่ที่ระดับ 54.0 จุด เนื่องจากค้าสั่งซื้อใหม่และการส่งออกที่เพิ่มขึ้น ท่ามกลางข้อจ้ากัด

ของโควิด-19 ที่ผ่อนคลายลง

ดัชนีฯ PMI ภาคบริการ เดือน เม.ย. 65 อยู่ที่ระดับ 57.9 จุด เพิ่มขึ้นจากเดือนก่อนหน้าที่อยู่

ที่ระดับ 53.6 จุด ซึ่งเป็นระดับสูงสุดนับตั้งแต่เดือน ธ .ค. 65 โดยได้แรงหนุนจากอุปสงค์

ภายในประเทศที่แข็งแกร่

เครื่องชี้เศรษฐกิจต่างประเทศ

ที่มา: ฐานข้อมูล CEIC และ Tradingeconomics รวมรวบโดย สศค.

ธนาคารกลางอังกฤษมีมติขึ้นอัตราดอกเบี้ยนโยบายเป็นร้อยละ 1.0 ต่อปี จากร้อยละ 0.75

ต่อปี จากการประชุมในเดือน พ.ค. 65 เพื่อรับมือกับอัตราเงินเฟ้อที่เพิ่มสูงขึ้น นอกจากนี้

การปรับเพิ่มอัตราดอกเบี้ยนโยบายของธนาคารกลางอังกฤษนั้นตรงกับที่ตลาดคาดการณ์ไว้

สหราชอาณาจักร มาเลเซีย

ดัชนีฯ PMI ภาคอุตสาหกรรม เดือน เม.ย. 65 อยู่ที่ระดับ 51.9 จุด เพิ่มขึ้นจากเดือนก่อน

หน้าที่อยู่ที่ระดับ 49.6 จุด

สิงคโปร์

ดัชนีฯ PMI ภาคอุตสาหกรรม เดือน เม.ย. 65 อยู่ที่ระดับ 56.7 จุด เพิ่มขึ้นจากเดือนก่อน

หน้าที่อยู่ที่ระดับ 52.9 จุด

อินโดนีเซีย

ดัชนีฯ PMI ภาคอุตสาหกรรม เดือน เม.ย. 65 อยู่ที่ระดับ 51.9 จุด เพิ่มขึ้นจากเดือนก่อน

หน้าที่อยู่ที่ระดับ 51.3 จุด

ฟิลิปปินส์

มูลค่าการส่งออก เดือน มี.ค. 65 ขยายตัวที่ร้อยละ 5.9 จากช่วงเดียวกันปีก่อน ลดลงจาก

เดือนก่อนหน้าที่ขยายตัวที่ร้อยละ 15.8 จากช่วงเดียวกันปีก่อน

มูลค่าการน้าเข้า เดือน มี.ค. 65 ขยายตัวที่ร้อยละ 27.7 จากช่วงเดียวกันปีก่อน ลดลงจาก

เดือนก่อนหน้าที่ร้อยละ 28.6 จากช่วงเดียวกันปีก่อน

ดุลการค้า เดือน มี.ค. 65 ขาดดุลที่ 5.0 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ ขาดดุลเพิ่มขึ้นจากเดือนก่อน

หน้าที่ขาดดุล 4.1 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ

ดัชนีฯ PMI ภาคอุตสาหกรรม เดือน เม.ย. 65 อยู่ที่ระดับ 54.3 จุด เพิ่มขึ้นจากเดือนก่อน

หน้าที่อยู่ที่ระดับ 53.2 จุด

อัตราเงินเฟ้อ เดือน เม.ย. 65 อยู่ที่ร้อยละ 4.9 จากช่วงเดียวกันปีก่อน เร่งขึ้นจากเดือนก่อน

หน้าที่อยู่ที่ร้อยละ 4.0 จากช่วงเดียวกันปีก่อน เนื่องจากราคาเครื่องดื่มแอลกอฮอล์เป็นส้าคัญ

อัตราว่างงาน เดือน มี.ค. 65 อยู่ที่ร้อยละ 5.8 ของก้าลังแรงงานรวม ลดลงจากเดือนก่อนหน้าที่

อยู่ที่ร้อยละ 6.4 ของก้าลังแรงงานรวม

เครื่องชี้ตลาดเงิน ตลาดอัตราแลกเปลี่ยน

Foreign

E xchange 5

May 22 1w %

chg 1m %

chg YTD %

chg Avg

2021 % chg

USD/THB

34.10

0.98

-

1.92 -

2.37 -

6.55

USD/JPY

130.11

0.38

-

5.87 -

12.42 -

18.43

EUR/USD

1.06

0.79

-

3.66 -

6.30 -

10.65

USD/MYR

4.34

0.57

-

2.82 -

3.71 -

4.61

USD/KRW

1,265.70

-

0.21 -

4.03 -

6.29 -

10.60

USD/SGD

1.37

0.80

-

1.24 -

1.38 -

2.20

USD/CNY

6.57

-

0.07 -

3.41 -

2.94 -

1.79

NEER

109.84

0.67

1.07

2.06

-

0.39

ค่าเงินสกุลต่างๆ เครื่องหมาย + คือแข็งค่าขึ้น และเครื่องหมาย -คืออ่อนค่าลง เมื่อเทียบกับค่าเงินดอลลาร์สหรัฐดัชนีค่าเงินบาท (NEER) แข็งค่าขึ้น (+) หรืออ่อนค่าลง (-) ในช่วงระยะเวลาดังกล่าวโดยคิดเป็นอัตราร้อยละ

ดัชนี SETSETปรับตัวลดลงจากสัปดาห์ก่อนสวนทางกับตลาดหลักทรัพย์อื่น ๆ ในภูมิภาคที่ปรับตัวเพิ่มขึ้นจากสัปดาห์ก่อน เช่น Nikkei 225

ญี่ปุ่น) HSI ฮ่องกง) และ CSI 300 เซี่ยงไฮ้) เป็นต้น เมื่อวันที่ 55พ.ค. 655ดัชนีปิดที่ระดับ 1,643.3 จุด ด้วยมูลค่าซื้อขายเฉลี่ย ระหว่างวันที่ 22-55พ.ค. 655อยู่ที่ 72,263.56 ล้านบาทต่อวัน โดย นักลงทุนต่างชาติ เป็นผู้ขายสุทธิ ขณะที่ นักลงทุนทั่วไปในประเทศ นักลงทุนสถาบันในประเทศ และนักลงทุนบัญชีบริษัทหลักทรัพย์ เป็นผู้ซื้อสุทธิ ทั้งนี้ ระหว่างวันที่ 2 55พ.ค. 655นักลงทุนต่างชาติ ซื้อหลักทรัพย์สุทธิ 3,006.89 ล้านบาท

อัตราผลตอบแทนพันธบัตรรัฐบาลอายุโดยรวมปรับตัวเพิ่มขึ้นในช่วง 11ถึง 28 bpsbpsโดยในสัปดาห์นี้นักลงทุนมีการประมูลพันธบัตรรัฐบาลอายุ 3131ปี ซึ่งมีนักลงทุนสนใจ 0.740.74เท่าของวงเงินประมูล ทั้งนี้ ระหว่างวันที่ 2 55พ.ค. 655กระแสเงินทุนของนักลงทุนต่างชาติ ไหลออกจากตลาดพันธบัตรสุทธิ -3,519.04 ล้านบาทและหากนับจากต้นปีจนถึงวันที่ 55พ.ค.6565กระแสเงินทุนของนักลงทุนต่างชาติ ไหลเข้าในตลาดพันธบัตรสุทธิ 16,409.02ล้านบาท

เงินบาทแข็งค่าขึ้นจากสัปดาห์ก่อน โดย ณ วันที่ 55พ.ค. 655เงินบาทปิดที่ 34.104.10บาทต่อดอลลาร์สหรัฐ แข็งค่าขึ้นร้อยละ 0.980.98จากสัปดาห์ก่อนหน้า สอดคล้องกับเงินสกุลอื่น ๆ ในภูมิภาค อาทิ เงินสกุลเยน ยูโร ริงกิตและดอลลาร์สิงคโปร์ ที่ปรับตัวแข็งค่าขึ้นจากสัปดาห์ก่อนหน้า เมื่อเทียบกับดอลลาร์สหรัฐ ขณะที่เงินสกุลวอน และหยวน ปรับตัวอ่อนค่าลงจากสัปดาห์ก่อนหน้า เมื่อเทียบกับดอลลาร์สหรัฐ ทั้งนี้ เงินบาทแข็งค่ามากกว่าเงินสกุลอื่น ๆ ในภูมิภาค ส่งผลให้ดัชนีค่าเงินบาท (NEERNEER) แข็งค่าขึ้นร้อยละ 0.67 จากสัปดาห์ก่อน

ที่มา: สำนักงานเศรษฐกิจการคลัง กระทรวงการคลัง


เว็บไซต์นี้มีการใช้งานคุกกี้ ศึกษารายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และ ข้อตกลงการใช้บริการ รับทราบ