รายงานภาวะเศรษฐกิจรายสัปดาห์ (Weekly) ณ 7 ก.ค. 66

ข่าวเศรษฐกิจ Monday July 10, 2023 13:11 —กระทรวงการคลัง

เศรษฐกิจไทย

อัตราเงินเฟ้อทั่วไปในเดือน มิ.ย. 66 สูงขึ้นที่ร้อยละ 0.2 ต่อปี และเงินเฟ้อพื้นฐานสูงขึ้น

ร้อยละ 1.3 ต่อปี

? ดัชนีราคาวัสดุก่อสร้างในเดือน มิ.ย. 66 หดตัวที่ร้อยละ -0.9 ต่อปี

? ปริมาณรถจักรยานยนต์จดทะเบียนใหม่ในเดือน มิ.ย. 66 ขยายตัวที่ร้อยละ 3.2 ต่อปี

? หนี้สาธารณะคงค้าง ณ สิ้นเดือน พ.ค. 66 คิดเป็นร้อยละ 61.63 ของ GDP

เครื่องชี้เศรษฐกิจไทย

อัตราเงินเฟ้อทั่วไปในเดือน มิ.ย. 66สูงขึ้นที่ร้อยละ 0.2ต่อปี

อัตราเงินเฟ้อทั่วไปเดือน มิ.ย. 66 อยู่ที่ร้อยละ 0.2 (YoY)YoY)(ต่ากว่าที่ สศค. คาดไว้ที่ร้อยละ 1.11ณ เดือน เม.ย. 66) ชะลอตัวอย่างต่อเนื่องเป็นเดือนที่ 66จากการลดลงของราคาน่ามันเชื้อเพลิงที่ชะลอตัวอย่างต่อเนื่อง และปัจจัยฐานสูงเมื่อเทียบกับ มิ.ย. 65 ที่ร้อยละ 7.7 ท่าให้เงินเฟ้อชะลอตัวตัวค่อนข้างมาก อย่างไรก็ดี เงินเฟ้อทั่วไปยังคงเพิ่มขึ้นที่ร้อยละ 0.6 (MoM)

จากการสูงขึ้นของหมวดอื่น ๆ ที่ไม่ใช่อาหาร อาทิค่าเช่าบ้าน สินค้าหมวดสิ่งทอ และค่าไฟฟ้า เนื่องจากมีการสิ้นสุดมาตรการให้ส่วนลดค่าไฟฟ้า 150150บาทต่อครัวเรือน ส่าหรับผู้ใช้ไฟฟ้าไม่เกิน 500500หน่วย รวมถึงระดับก๊าซหุงต้มที่ยังคงทรงตัวในระดับสูง เป็นต้น โดยเมื่อดูองค์ประกอบของการเปลี่ยนแปลง (Contribution YoYYoY) พบว่าหมวดสินค้าที่ส่งกระทบต่อเงินเฟ้อ 3 อันดับแรก ได้แก่ 1) หมวดพาหนะ การขนส่ง และการสื่อสาร ที่ท่าให้เงินเฟ้อลดลงถึงร้อยละ -1.5 2) หมวดอาหารสด และ 3 หมวดอาหารส่าเร็จรูป ที่ยังเป็นปัจจัยบวกท่าให้เงินเฟ้อสูงขึ้นอยู่ร้อยละ 0.8 และ 0.5 ตามล่าดับ ทั้งนี้เมื่อหักกลุ่มอาหารสดและพลังงานออกเงินเฟ้อพื้นฐานอยู่ที่ร้อยละ 1.3 (YoY) ทรงตัวที่ร้อยละ 0.02 ( และลดลงร้อยละ -0.3 QoQ สะท้อนให้เห็นว่าการเปลี่ยนแปลงระดับราคาสินค้าและบริการค่อนข้างทรงตัวและอยู่ในช่วงที่ชะลอตัวลงแล้ว

ดัชนีราคาวัสดุก่อสร้างในเดือน มิ.ย. 66 หดตัวที่ร้อยละ 0.90.9เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน

ดัชนีราคาวัสดุก่อสร้างในเดือน มิ.ย. 66 หดตัวเมื่อเทียบปีที่ผ่านมาซึ่งเป็นการหดตัวลงเป็นเดือนที่ 33โดยเป็นผลมาจากดัชนีราคาหมวดเหล็กและผลิตภัณฑ์เหล็กที่ปรับตัวลดลงร้อยละ 6.56.5เนื่องจากราคาวัตถุดิบและพลังงานที่ปรับตัวลดลง ขณะที่ดัชนีหมวดอื่น ๆ สูงขึ้นได้แก่ หมวดไม้และผลิตภัณฑ์ไม้ หมวดวัสดุฉาบ และหมวดสุขภัณฑ์ที่ขยายตัวร้อยละ 6.4 ร้อยละ 4.66และร้อยละ 1.66ตามล่าดับซึ่งเป็นผลจากความต้องการใช้ในโครงการก่อสร้าง

เครื่องชี้เศรษฐกิจไทย

ปริมาณรถจักรยานยนต์จดทะเบียนใหม่ในเดือน มิ.ย. 66 ขยายตัวที่ร้อยละ 3.2 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน และเมื่อเทียบกับเดือนก่อนหน้าหลังขจัดผลทางฤดูกาล หดตัวที่ร้อยละ-6.9

Indicators

(%yoy)

2022

2023

Q

1 Q

2 May

Jun

YTD

ปริมาณรถจักรยานยนต์

12.0

13.5

6.6

13.5

3.2

10.0

%

MoM_sa

QoQ_sa

-

4.8

-

0.8 10.2

-

6.9 -

เศรษฐกิจไทยยังอยู่ในแนวโน้มของการฟื้นตัว โดยจ่านวนนักท่องเที่ยวต่างชาติยังคงเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง ส่งผลให้เป็นปัจจัยบวกต่อการใช้จ่ายภาคเอกชนปรับเพิ่มขึ้นทั้งการบริโภคและการลงทุน ประกอบกับอัตราเงินเฟ้อโดยทั่วไปปรับตัวลดลงจากหมวดพลังงานเป็นส่าคัญ ตามค่าไฟฟ้าและราคาน่ามันขายปลีกในประเทศที่ปรับตัวลดลง อย่างไรก็ดี ราคาพืชผลทางการเกษตรบางรายการปรับตัวลดลง ซึ่งอาจสร้างแรงกดดันแก่รายได้เกษตรกรและส่งผลต่อเนื่องต่อก่าลังซื้อของผู้บริโภคได้

หนี้สาธารณะคงค้าง ณ สิ้นเดือน พ.ค. 66 มีจ่านวนทั้งสิ้น10,958,928.78ล้านบาท หรือคิดเป็นร้อยละ 61.63 ของ GDPGDPและเมื่อเปรียบเทียบกับเดือนก่อนหน้า พบว่า หนี้สาธารณะคงค้างเพิ่มขึ้นสุทธิ 63,655 64ล้านบาท

ทั้งนี้ สถานะหนี้สาธารณะของไทยถือว่ามีความมั่นคง สะท้อนได้จากสัดส่วนหนี้สาธารณะต่อ GDPGDPยังอยู่ในระดับต่ากว่ากรอบวินัยในการบริหารหนี้สาธารณะที่ตั้งไว้ไม่เกินร้อยละ 770 ของ GDPGDPและหนี้สาธารณะส่วนใหญ่เป็นหนี้ระยะยาว โดยแบ่งตามอายุคงเหลือคิดเป็นร้อยละ 88.86ของยอดหนี้สาธารณะและเป็นหนี้ในประเทศคิดเป็นร้อยละ 98.42ของยอดหนี้สาธารณะ

เครื่องชี้เศรษฐกิจต่างประเทศ

ที่มา: ฐานข้อมูล CEIC และ TradingeconomicsTradingeconomicsรวมรวบโดย สศค.

ดัชนีฯ PMIPMIภาคอุตสาหกรรม (ISM) เดือน มิ.ย. 66 อยู่ที่ระดับ 46.0 จุด ลดลงจากเดือนก่อนหน้าที่ระดับ 46.9 จุด ต่ากว่าที่ตลาดคาดการณ์ไว้ที่ระดับ 47.0จุด และเป็นระดับที่ต่าที่สุดในรอบ 3 ปี โดยดัชนีฯ อยู่ระดับต่ากว่า 50.0 จุด ซึ่งบ่งชี้ถึงการหดตัวต่อเนื่องติดต่อกันเป็นเดือนที่ 8เป็นผลจากอุปสงค์ในตลาดที่ยังอ่อนแอ รวมถึงการผลิต การจ้างงาน สินค้าคงคลัง และแรงกดดันด้านราคาที่ลดลง

ดัชนีฯ PMIPMIนอกภาคอุตสาหกรรม (ISM) เดือน มิ.ย. 66 อยู่ที่ระดับ 53.9 จุด เพิ่มขึ้นจากเดือนก่อนหน้าที่ 50.3 จุด สูงกว่าคาดการณ์ตลาดที่ 51.0 จุด และเป็นระดับที่สูงที่สุดในรอบ 4 เดือน เป็นผลจากการผลิต ค่าสั่งซื้อใหม่ และการจ้างงานที่ปรับตัวเพิ่มขึ้น เป็นต้น อย่างไรก็ดี แม้ผู้ตอบแบบสอบถามจะประเมินว่าสภาพธุรกิจสหรัฐฯ ยังมีเสถียรภาพ แต่ยังต้องติดตามประเด็นอัตราเงินเฟ้อและแนวโน้มเศรษฐกิจในอนาคต

มูลค่าการส่งออกสินค้า เดือน พ.ค. 66หดตัวที่ร้อยละ -6.4จากช่วงเดียวกันของปีก่อน หดตัวเร่งขึ้นจากเดือนก่อนหน้าที่ร้อยละ -5.6 โดยเป็นการหดตัวต่อเนื่องเป็นเดือนที่ 2 ติดต่อกัน สะท้อนถึงอุปสงค์ทั่วโลกที่ลดลง โดยมีสาเหตุหลักมาจากยอดขายถั่วเหลืองที่ วัตถุดิบอุตสาหกรรม เช่น น่ามันดิบ ผลิตภัณฑ์ปิโตรเลียมอื่น ๆ และก๊าซธรรมชาติเหลวที่ปรับตัวลดลง

มูลค่าการน่าเข้าสินค้า เดือน พ.ค. 66 หดตัวที่ร้อยละ -7.6 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน หดตัวชะลอลงจากเดือนก่อนหน้าที่ร้อยละ -8.2 โดยเป็นการหดตัวต่อเนื่องเป็นเดือนที่ 7 ติดต่อกัน บ่งชี้ว่าอัตราเงินเฟ้อที่สูงอย่างต่อเนื่องและอัตราดอกเบี้ยที่สูงขึ้นอาจส่งผลกระทบต่ออุปสงค์ในประเทศ ส่งผลให้ยอดซื้อสินค้าอุปโภคบริโภค และวัสดุอุตสาหกรรมลดลง เป็นส่าคัญ

ดุลการค้า เดือน พ.ค. 66 ขาดดุลที่ -96.8 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ ขาดดุลเพิ่มขึ้นจากเดือนก่อนหน้าที่ -87.2พันล้านดอลลาร์สหรัฐ และเป็นการขาดดุลที่มากที่สุดในรอบ 7เดือน

จ่านวนผู้ขอรับสวัสดิการว่างงานครั้งแรกรายสัปดาห์ (25 มิ.ย. 1ก.ค. 66) อยู่ที่ 2.48แสนราย เพิ่มขึ้นจากสัปดาห์ก่อนหน้าที่ระดับ 2.36แสนราย และสูงกว่าที่ตลาดคาดการณ์ไว้เล็กน้อยที่ 2.45แสนราย ขณะที่ จ่านวนผู้ขอรับสวัสดิการว่างงานเฉลี่ย 4สัปดาห์ (four week moving average) ซึ่งขจัดความผันผวนรายสัปดาห์แล้ว ลดลงจากสัปดาห์ก่อนหน้ามาอยู่ที่ 2.53แสนราย

สหรัฐอเมริกา

ยอดค้าปลีกของยูโรโซน เดือน พ.ค. 66 หดตัวที่ร้อยละ -2.9 จากช่วงเดียวกันปีก่อน หดตัวต่อเนื่องเป็นเดือนที่ 8 ติดต่อกัน และหดตัวมากกว่าที่ตลาดคาดการณ์ที่ร้อยละ -2.7 จากช่วงเดียวกันปีก่อน โดยการบริโภคของยูโรโซนยังคงซบเซาเนื่องจากรายได้ที่แท้จริงลดลง นอกจากนี้ อัตราดอกเบี้ยที่ยังคงอยู่ในระดับสูงได้จูงใจให้ภาคครัวเรือนมีการออมเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่องและชะลอการบริโภคลง

เครื่องชี้เศรษฐกิจต่างประเทศ

ดัชนีฯ PMI ภาคอุตสาหกรรม (Caixin) เดือน มิ.ย. 66 อยู่ที่ระดับ 50.5 จุด ลดลงจากเดือนก่อนหน้าที่ระดับ 50.9 จุด แต่สูงกว่าคาดการณ์ตลาดที่ระดับ 50.2 จุด การลดลงของดัชนีฯ สะท้อนให้เห็นว่าภาคอุตสาหกรรมของจีนได้รับผลกระทบจากภาวะเศรษฐกิจที่อ่อนแอลงอย่างมาก โดยดัชนีฯ ปรับตัวลดลงจากการจ้างงาน ราคาต้นทุนวัตถุดิบ ราคาขาย และความเชื่อมั่น เป็นส่าคัญ อย่างไรก็ดี ดัชนีที่อยู่เหนือระดับ 50.0จุด บ่งชี้ว่าภาคการผลิตของจีนยังคงมีการขยายตัว

ดัชนีฯ PMIPMIภาคบริการ (Caixin) เดือน มิ.ย. 66 อยู่ที่ระดับ 53.9 จุด ลดลงจากเดือนก่อนหน้าที่ระดับ 57.1 จุด ต่ากว่าที่ตลาดคาดการณ์ไว้ที่ระดับ 52.2จุด และเป็นระดับที่ต่าที่สุดในรอบ 5เดือน เป็นผลจากกิจกรรมทางธุรกิจและยอดค่าสั่งซื้อใหม่ที่ชะลอตัวลง อย่างไรก็ดี ดัชนีฯ ยังอยู่เหนือระดับ 50จุด บ่งชี้ว่าภาคบริการของจีนยังมีการขยายตัว

จีน

ที่มา: ฐานข้อมูล CEIC และ TradingeconomicsTradingeconomicsรวมรวบโดย สศค.

ดัชนีผู้จัดการฝ่ายจัดซื้อ (Jibun Bank PMI) ภาคการผลิต เดือน มิ.ย. 66 อยู่ที่ 49.8 ลดลงจากเดือนก่อนหน้าที่อยู่ที่ 50.6 เนื่องจากกิจกรรมโรงงานหดตัวลงเป็นครั้งที่ 5 ในรอบปีนี้ เนื่องจากทั้งผลผลิตและค่าสั่งซื้อใหม่หดตัว โดยค่าสั่งซื้อส่งออกใหม่ลดลงในอัตราที่มากสุดนับตั้งแต่เดือน ก.พ. 66ท่ามกลางอุปสงค์ที่อ่อนแอโดยเฉพาะจากจีน

ดัชนีผู้จัดการฝ่ายจัดซื้อ (Jibun Bank PMI) ภาคบริการ เดือน มิ.ย. 66 อยู่ที่ 54.0 ลดลงจากเดือนก่อนหน้าที่อยู่ที่ 55.9 ส่งสัญญาณการฟื้นตัวที่เบางสุดในรอบสี่เดือน แต่กิจกรรมโดยรวมยังคงแข็งแกร่ง ค่าสั่งซื้อใหม่เติบโตอย่างต่อเนื่อง โดยค่าสั่งซื้อใหม่เพื่อการส่งออกเพิ่มขึ้นติดต่อกันเป็นเดือนที่ 10

ดัชนีผู้จัดการฝ่ายจัดซื้อภาคการผลิตและบริการ ( Jibun Bank Composite PMI) เดือน มิ.ย. 66 อยู่ที่ระดับ 52.1 ลดลงจากระดับ 54.3 ในเดือนก่อนหน้า ซึ่งเป็นเดือนที่ 6 ติดต่อกันของการเติบโตของกิจกรรมภาคเอกชน แต่เป็นการเติบโตที่ชะลอลงมากที่สุดนับตั้งแต่ ก.พ. 66 ท่ามกลางความไม่แน่นอนของเศรษฐกิจโลก โดยเศรษฐกิจภาคบริการเติบโตในอัตราที่ชะลอลง ในขณะที่ภาคการผลิตลดลงเป็นครั้งที่ 11ในช่วง 12เดือนที่ผ่านมา

ญี่ปุ่น

ดัชนีผู้จัดการฝ่ายจัดซื้อ (S&P Global PMI) ภาคการผลิต เดือน มิ.ย. 66 อยู่ที่ระดับ 47.8 ซึ่งต่ากว่าระดับ 50 สะท้อนการถดถอยของภาคการผลิต ต่อเนื่องเป็นเดือนที่ 12ซึ่งเป็นการหดตัวอย่างต่อเนื่องของทั้งผลผลิตและค่าสั่งซื้อใหม่ ท่ามกลางสภาวะเศรษฐกิจที่ซบเซาทั้งในประเทศและต่างประเทศ

อัตราเงินเฟ้อ เดือน มิ.ย. 66 อยู่ที่ร้อยละ 2.7 ชะลอลงต่อเนื่องเป็นเดือนที่ 5และเป็นอัตราที่ต่าสุดนับจาก ก.ย. 64

เครื่องชี้เศรษฐกิจต่างประเทศ

ที่มา: ฐานข้อมูล CEIC และ TradingeconomicsTradingeconomicsรวมรวบโดย สศค.

ยอดจดทะเบียนรถยนต์นั่งส่วนบุคคลใหม่ เดือน มิ.ย. 66 ขยายตัวร้อยละ 25.80 จากปีก่อนหน้า และเป็นการขยายตัวต่อเนื่องเป็นเดือนที่ 11เนื่องจากปัญหาการขาดแคลนห่วงโซ่อุปทานคลี่คลายลง

ดัชนีผู้จัดการฝ่ายจัดซื้อภาคการผลิตและบริการ (S&P Global/CIPS Composite PMI)

เดือน มิ.ย. 66 อยู่ที่ระดับ 52.8 ชะลอลงจากระดับ 54.0ในเดือนก่อนหน้า สะท้อนการขยายตัวของผลผลิตภาคเอกชนที่ช้าที่สุดนับตั้งแต่เดือน มี.ค. 66เนื่องจากกิจกรรมภาคบริการเพิ่มขึ้นอย่างแข็งแกร่ง สวนทางกับการผลิตในภาคอุตสาหกรรมที่ลดลงอีกครั้ง

เครื่องชี้เศรษฐกิจต่างประเทศ

ที่มา: ฐานข้อมูล CEIC และ TradingeconomicsTradingeconomicsรวมรวบโดย สศค.

อัตราเงินเฟ้อ เดือน มิ.ย. 66 อยู่ที่ร้อยละ 3.5 จากช่วงเดียวกันปีก่อน ชะลอลงจากเดือนก่อนหน้าที่อยู่ที่ร้อยละ 4.0จากช่วงเดียวกันปีก่อน

ดัชนีฯ PMIPMIภาคอุตสาหกรรม เดือน มิ.ย. 66 อยู่ที่ระดับ 52.5 จุด เพิ่มขึ้นจากเดือนก่อนหน้าที่อยู่ที่ระดับ 50.3จุด และอยู่ที่ระดับสูงกว่า 50.0จุด เป็นเดือนที่ 22ติดต่อกัน บ่งชี้การขยายตัวต่อเนื่องของภาคอุตสาหกรรม

อินโดนีเซีย

ดัชนีผู้จัดการฝ่ายจัดซื้อ (S&P Global PMI) ภาคการผลิต เดือน มิ.ย.66 อยู่ที่ระดับ 57.8 ชะลอลงจากเดือนก่อนหน้าที่อยู่ที่ระดับ 58.7ทั้งนี้ ยังคงสะท้อนการขยายตัวของกิจกรรมโรงงานต่อเนื่องเป็นเดือนที่ 24เนื่องจากค่าสั่งซื้อส่งออกใหม่เพิ่มขึ้นอย่างแข็งแกร่ง

ดัชนีผู้จัดการฝ่ายจัดซื้อ (S&P Global PMI) ภาคบริการ เดือน มิ.ย.66 อยู่ที่ระดับ 57.8 ชะลอลงจากเดือนก่อนหน้าที่อยู่ที่ระดับ 58.7 สะท้อนการขยายตัวของภาคบริการที่ช้าสุดในรอบ 3 เดือน แต่ยังคงเป็นการขยายตัวต่อเนื่องเป็นเดือนที่ 23เนื่องจาก โดยได้รับการสนับสนุนจากธุรกิจใหม่ที่เพิ่มขึ้นอย่างแข็งแกร่งและการสร้างงานที่มากขึ้น

ดัชนีผู้จัดการฝ่ายจัดซื้อภาคการผลิตและบริการ (S&P Composite PMI) เดือน มิ.ย. 66 อยู่ที่ระดับ 58.5 ลดลงจากระดับ 61.2ในเดือนก่อนหน้า (ซึ่งเป็นระดับที่สูงที่สุดในรอบ 13ปี) ท่ามกลางการชะลอตัวของกิจกรรมโรงงานและภาคบริการ

อินเดีย

ธนาคารกลางออสเตรเลียมีมติคงอัตราดอกเบี้ยนโยบายไว้ที่ร้อยละ 4.14.1ต่อปี

ดัชนีฯ PMIPMIภาคอุตสาหกรรม (Judo BankBank) เดือน มิ.ย. 6666อยู่ที่ระดับ 48.248.2จุด ลดลงจากเดือนก่อนหน้าที่อยู่ที่ระดับ48.448.4จุด

ดัชนีฯ PMIPMIภาคบริการ (Judo BankBank) เดือน มิ.ย. 6666อยู่ที่ระดับ 50.350.3จุด ลดลงจากเดือนก่อนหน้าที่อยู่ที่ระดับ52.152.1จุด

ยอดค้าปลีก เดือน พ.ค. 6666ขยายตัวที่ร้อยละ 4.24.2จากช่วงเดียวกันของปีก่อน ชะลอลงจากเดือนก่อนหน้าที่ขยายตัวที่ร้อยละ4.3 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน

มูลค่าการส่งออก เดือน พ.ค. 6666หดตัวที่ร้อยละ 6.96.9จากช่วงเดียวกันของปีก่อน หดตัวเร่งขึ้นจากเดือนก่อนหน้าที่หดตัวที่ร้อยละ 5.55.5จากช่วงเดียวกันของปีก่อน

มูลค่าการน่าเข้า เดือน พ.ค. 6666ขยายตัวที่ร้อยละ 4.04.0จากช่วงเดียวกันของปีก่อน เร่งขึ้นจากเดือนก่อนหน้าที่ขยายตัวที่ร้อยละ 2.12.1จากช่วงเดียวกันของปีก่อน

ดุลการค้า เดือน พ.ค. 6666เกินดุลที่ระดับ 10.7910.79พันล้านดอลลาร์ออสเตรเลีย เกินดุลลดลงจากเดือนก่อนหน้าที่ระดับ 11.9111.91พันล้านดอลลาร์ออสเตรเลีย

เครื่องชี้เศรษฐกิจต่างประเทศ

ที่มา: ฐานข้อมูล CEIC และ TradingeconomicsTradingeconomicsรวมรวบโดย สศค.

ดัชนีผู้จัดการฝ่ายจัดซื้อภาคอุตสาหกรรม (PMI) เดือน มิ.ย. 66 อยู่ที่ระดับ 44.8 จุด เพิ่มขึ้นจากเดือนก่อนหน้าที่ระดับ 44.3จุด ดัชนีอยู่ในระดับต่ากว่า 50บ่งชี้การหดตัวของภาคอุตสาหกรรม โดยดัชนีหดตัวต่อเนื่องเป็นเดือนที่ 14

อัตราเงินเฟ้อ เดือน มิ.ย. 66 อยู่ที่ร้อยละ 1.75 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน ลดลงจากเดือนก่อนหน้าที่ร้อยละ 2.02 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน สูงกว่าคาดการณ์ตลาดที่ร้อยละ 1.90 ต่ากว่ากรอบเป้าหมายเงินเฟ้อของธนาคารที่ตั้งไว้ที่ร้อยละ 2.00 เล็กน้อย

การส่งออก เดือน มิ.ย. 66 หดตัวร้อยละ -23.4 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน หดตัวเร่งขึ้นจากเดือน พ.ค. 66 ที่หดตัวร้อยละ -14.1 จากช่วงเดียวกันของปีก่อนและหดตัวต่อเนื่องเป็นเดือนที่ 10ตัวเลขดังกล่าวต่ากว่าที่ตลาดคาดการณ์ที่ร้อยละ -13.35และต่าที่สุดนับตั้งแต่ ส.ค. 52

การน่าเข้า เดือน มิ.ย. 66 หดตัวร้อยละ -29.9 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน หดตัวเร่งขึ้นจากเดือน พ.ค. 66 ที่หดตัวร้อยละ -21.7 จากช่วงเดียวกันของปีก่อนและหดตัวต่อเนื่องเป็นเดือนที่ 8ตัวเลขดังกล่าวต่ากว่าคาดการณ์ตลาดที่ร้อยละ -16.7และต่าที่สุดนับตั้งแต่เดือน ก.ย. 58

ดุลการค้า เดือน มิ.ย. 66 เกินดุลที่ 5.96 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ เกินดุลเพิ่มขึ้นจาก พ.ค. 66 ที่ 4.89พันล้านดอลลาร์สหรัฐ และสูงกว่าตลาดคาดการณ์ที่ 5พันล้านดอลลาร์สหรัฐ

เครื่องชี้ตลาดเงิน ตลาดอัตราแลกเปลี่ยน

ดัชนี SETSETปรับตัวเพิ่มขึ้นจากสัปดาห์ก่อน สอดคล้องกับตลาดหลักทรัพย์อื่นๆ ในภูมิภาคที่ปรับตัวเพิ่มขึ้นจากสัปดาห์ก่อน เช่นIDX อินโดนีเซีย Hang SengSeng(ฮ่องกง) และ Nikkei 225225(ญี่ปุ่น) เป็นต้น เมื่อวันที่ 66ก.ค. 666ดัชนีปิดที่ระดับ 1,490.461,490.46จุด ด้วยมูลค่าซื้อขายเฉลี่ยระหว่างวันที่ 3 66ก.ค. 6666อยู่ที่ 40,334.0340,334.03ล้านบาทต่อวันโดยนักลงทุนทั่วไปในประเทศ นักลงทุนสถาบันในประเทศ และนักลงทุนบัญชีบริษัทหลักทรัพย์เป็นผู้ซื้อสุทธิ ขณะที่นักลงทุนต่างชาติเป็นผู้ขายสุทธิ ทั้งนี้ระหว่างวันที่ 33-66ก.ค. 66นักลงทุนต่างชาติ ขายหลักทรัพย์สุทธิ 6,506.92 ล้านบาท

อัตราผลตอบแทนพันธบัตรรัฐบาลอายุ 33ถึง 2020ปี ส่วนใหญ่ปรับตัวลดลงในช่วง -11ถึง -5 bpsbpsโดยในสัปดาห์นี้นักลงทุนมีการประมูลพันธบัตรรัฐบาลอายุ 2121ปี ซึ่งมีนักลงทุนสนใจ 1.61.6เท่าของวงเงินประมูล ทั้งนี้ ระหว่างวันที่3 66ก.ค. 6666กระแสเงินทุนของนักลงทุนต่างชาติ ไหลเข้าในตลาดพันธบัตรสุทธิ 10,470.8310,470.83ล้านบาท และหากนับจากต้นปีจนถึงวันที่66ก.ค.6666กระแสเงินทุนของนักลงทุนต่างชาติ ไหลออกจากตลาดพันธบัตรสุทธิ 70,932.5670,932.56ล้านบาท

เงินบาทแข็งค่าขึ้นจากสัปดาห์ก่อน โดย ณ วันที่66ก.ค. 666เงินบาทปิดที่ 35.1135.11บาทต่อดอลลาร์สหรัฐ แข็งค่าขึ้นร้อยละ 1.511.51จากสัปดาห์ก่อนหน้า สอดคล้องกับเงินสกุลอื่น ๆ ในภูมิภาค อาทิ เงินสกุลเยน ริงกิตเปโซ วอน และหยวน ที่ปรับตัวแข็งค่าขึ้นจากสัปดาห์ก่อนหน้า เมื่อเทียบกับดอลลาร์สหรัฐขณะที่เงินสกุลยูโร ดอลลาร์ไต้หวันใหม่ และดอลลาร์สิงคโปร์ ที่ปรับตัวอ่อนค่าลงจากสัปดาห์ก่อนหน้า เมื่อเทียบกับดอลลาร์สหรัฐ ทั้งนี้ เงินบาทแข็งค่ามากกว่าเงินสกุลอื่น ๆ ในภูมิภาค ส่งผลให้ดัชนีค่าเงินบาท (NEERNEER) อยู่ที่ร้อยละ 1.44

เครื่องชี้ตลาดเงิน

ที่มา: สำนักงานเศรษฐกิจการคลัง กระทรวงการคลัง


เว็บไซต์นี้มีการใช้งานคุกกี้ ศึกษารายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และ ข้อตกลงการใช้บริการ รับทราบ