สถานการณ์การส่งออกสินค้าอุตสาหกรรมเดือนกันยายนและ 9 เดือนแรกของปี 2564

ข่าวเศรษฐกิจ Thursday November 18, 2021 13:29 —สำนักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม

สถานการณ์การส่งออกสินค้าอุตสาหกรรมเดือนกันยายนและ 9 เดือนแรกของปี 2564

World +17.96 %

USA + 21.38%

Asean (5)

+20.57 %

EU(27)

+9.50%

Japan + 16.12%

CLMV + 2.13%

China + 21.41%

หมายเหตุ : อาเซียน (5) ได้แก่ ประเทศอินโดนีเซีย มาเลเซีย ฟิลิปปินส์ สิงคโปร์ และบรูไน

CLMV ได้แก่ ประเทศกัมพูชา ลาว เมียนมา และเวียดนาม

การขยายตัวของตลาดส่งออกสินค้าอุตสาหกรรมที่สาคัญของไทย (ไม่รวมทองคา) เดือนกันยายน

สำนักงำนเศรษฐกิจอุตสำหกรรม Office of Industrial Economics

ที่มา : กระทรวงพาณิชย์ ประมวลผลโดยสานักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม

เดือนกันยายน 2564 การส่งออกรวมมีมูลค่า 23,035.99 ล้านเหรียญสหรัฐฯ

ขยายตัวร้อยละ 17.11 เมื่อเทียบกับเดือนเดียวกันของปีก่อน โดยหมวดสินค้าสาคัญ

อาทิ สินค้าเกษตรกรรมมีมูลค่าส่งออก 1,963.63 ล้านเหรียญสหรัฐฯ ขยายตัวร้อยละ

12.86 สินค้าอุตสาหกรรมการเกษตร มีมูลค่าส่งออก 1,713.99 ล้านเหรียญสหรัฐฯ

ขยายตัวร้อยละ 11.26 ด้านสินค้าอุตสาหกรรมมีมูลค่าส่งออก 18,424.92 ล้าน

เหรียญสหรัฐฯ ขยายตัวร้อยละ 15.75 สินค้าอุตสาหกรรม (ไม่รวมทองคา) มีมูลค่า

ส่งออก 18,188.38 ล้านเหรียญสหรัฐฯ ขยายตัวร้อยละ 17.96 ซึ่งขยายตัวทั้งเครื่อง

อิเล็กทรอนิกส์ คอมพิวเตอร์ อุปกรณ์ และส่วนประกอบ เคมีภัณฑ์ เม็ดพลาสติก

รถยนต์ อุปกรณ์ และส่วนประกอบ สาหรับการส่งออกสินค้าอุตสาหกรรม (ไม่รวม

ทองคา อาวุธ รถถัง ยานรบหุ้มเกราะ และอากาศยาน) ขยายตัวร้อยละ 17.90

เดือนกันยายน 2564 การนาเข้ามีมูลค่ารวม 22,426.15 ล้านเหรียญ

สหรัฐฯ ขยายตัวร้อยละ 30.31 เมื่อเทียบกับเดือนเดียวกันของปีก่อน โดยหมวด

สินค้าสาคัญ ได้แก่ สินค้าเชื้อเพลิงมีมูลค่า 3,422.20 ล้านเหรียญสหรัฐฯ ขยายตัว

ร้อยละ 43.89 สินค้าทุนมีมูลค่า 5,551.28 ล้านเหรียญสหรัฐฯ ขยายตัวร้อยละ

16.06 โดยสินค้าทุนที่ขยายตัว เช่น เครื่องจักรที่ใช้ในอุตสาหกรรม อุปกรณ์ไฟฟ้า

ตัดต่อหรือป้องกันวงจรไฟฟ้า ด้านสินค้าวัตถุดิบและกึ่งสาเร็จรูป (ไม่รวมทองคา)

มีมูลค่า 9,033.17 ล้านเหรียญสหรัฐฯ ขยายตัวร้อยละ 43.56 จากการนาเข้า

เคมีภัณฑ์ เหล็ก เหล็กกล้าและผลิตภัณฑ์ อุปกรณ์ ส่วนประกอบเครื่องใช้ไฟฟ้า

และอิเล็กทรอนิกส์ที่เพิ่มขึ้น

การส่งออกสินค้าอุตสาหกรรม (ไม่รวมทองคา) เดือนกันยายนขยายตัวร้อยละ 17.96 เมื่อเทียบกับเดือนเดียวกัน

ของปีก่อน โดยการส่งออกสินค้าอุตสาหกรรม (ไม่รวมทองคา อาวุธ รถถัง ยานรบหุ้มเกราะ และอากาศยาน) ขยายตัว

ร้อยละ 17.90 สินค้าที่มีการส่งออกขยายตัวทั้งเครื่องอิเล็กทรอนิกส์ คอมพิวเตอร์ อุปกรณ์ และส่วนประกอบ เคมีภัณฑ์

เม็ดพลาสติก รถยนต์ อุปกรณ์ และส่วนประกอบ ด้านตลาดส่งออกขยายตัวได้ดีในตลาดหลักทั้งสหรัฐอเมริกา สหภาพ

ยุโรป (27) จีน ญี่ปุ่น อาเซียน (5) และ CLMV

ภาพรวม 9 เดือนแรกการส่งออกสินค้าอุตสาหกรรม (ไม่รวมทองคา) มีมูลค่า 199,997.70 ล้านเหรียญสหรัฐฯ

ขยายตัวร้อยละ 15.46 โดยขยายตัวในตลาดหลักเช่นเดียวกัน

ดัชนีผลผลิตอุตสาหกรรม (MPI) เดือนกันยายน 2564 หดตัว

ร้อยละ 1.28 เมื่อเทียบกับเดือนเดียวกันของปีก่อน ปัจจัยหลักเป็นผล

จากการแพร่ระบาดของโควิด-19 ภายในประเทศ ส่งผลให้การผลิตไม่

สามารถเติบโตได้เท่าที่ควร ด้านการส่งออกและนาเข้ายังคงมีทิศทาง

ขยายตัวต่อเนื่อง อย่างไรก็ตาม สถานการณ์การแพร่ระบาดเริ่มคลี่คลาย

ไปในทิศทางที่ดีขึ้น สะท้อนได้ว่าการผลิตไทยยังคงมีแนวโน้มขยายตัว

ได้ในระยะข้างหน้า ตามภาวะเศรษฐกิจโลกที่ฟื้นตัวดีขึ้นตามลาดับ

การส่งออกสินค้าอุตสาหกรรมที่สาคัญ

ในเดือน ก.ย. 2564 มีมูลค่าการส่งออก 3,957.9 ล้านเหรียญ

สหรัฐฯ ขยายตัวร้อยละ 16.5 เมื่อเทียบกับเดือนเดียวกันของปีก่อน

สินค้าที่ขยายตัว เช่น เครื่องคอมพิวเตอร์อุปกรณ์และส่วนประกอบ

ขยายตัวร้อยละ 22.6 จากการส่งออกไปประเทศมาเลเซีย เกาหลีใต้

ฮ่องกง จีน แผงวงจรไฟฟ้าขยายตัวร้อยละ 16.3 ไปสหรัฐอเมริกา

ภาพรวมการส่งออกเครื่องอิเล็กทรอนิกส์ 9 เดือนแรก

ขยายตัวร้อยละ 18.6 จากการส่งออกไปยังประเทศสหรัฐอเมริกา

ในเดือน ก.ย. 2564 มีมูลค่าการส่งออก 2,968.9 ล้านเหรียญ

สหรัฐฯ ขยายตัวร้อยละ 10.3 เมื่อเทียบกับเดือนเดียวกันของปีก่อน

ตามการส่งออกรถยนต์อุปกรณ์และส่วนประกอบ ขยายตัวร้อยละ

4.9 จากการส่งออกไปประเทศฟิลิปปินส์ อินโดนีเซีย แอฟริกาใต้

ภาพรวมการส่งออกยานยนต์อุปกรณ์และส่วนประกอบ

9 เดือนแรก ขยายตัวร้อยละ 31.1 จากการส่งออกไปยังประเทศ

ออสเตรเลีย ญี่ปุ่น เวียดนาม

ในเดือน ก.ย. 2564 มีมูลค่าการส่งออก 2,434.0 ล้านเหรียญ

สหรัฐฯ ขยายตัวร้อยละ 11.2 เมื่อเทียบกับเดือนเดียวกันของปีก่อน

สินค้าที่ขยายตัว เช่น เครื่องปรับอากาศและส่วนประกอบ ขยายตัว

ร้อยละ 18.9 จากการส่งออกไปประเทศออสเตรเลีย สหรัฐอเมริกา

เครื่องรับวิทยุ โทรทัศน์และส่วนประกอบ ขยายตัวร้อยละ 19.1 จาก

การส่งออกไปประเทศสหรัฐอเมริกา ญี่ปุ่น

ภาพรวมการส่งออกเครื่องใช้ไฟฟ้า 9 เดือนแรก ขยายตัวร้อยละ

23.6 จากการส่งออกไปประเทศสหรัฐอเมริกา มาเลเซีย

ในเดือน ก.ย. 2564 มีมูลค่าการส่งออก 554.7 ล้านเหรียญ

สหรัฐฯ ขยายตัวร้อยละ 19.2 เมื่อเทียบกับเดือนเดียวกันของปีก่อน

เป็นการขยายตัวตลอดห่วงโซ่อุปทานโดยสินค้าต้นน้าอย่างด้ายและ

เส้นใยประดิษฐ์ขยายตัวร้อยละ 36.1 จากการส่งออกไปจีน ญี่ปุ่น

บังคลาเทศ สินค้ากลางน้าอย่างผ้าผืนขยายตัวร้อยละ 16.8 จากการ

ส่งออกไปบังคลาเทศ และสินค้าปลายน้าเสื้อผ้าสาเร็จรูปขยายตัว

ร้อยละ 26.2 จากการส่งออกไปสหรัฐอเมริกา ญี่ปุ่น สหภาพยุโรป

ภาพรวมการส่งออกสิ่งทอและเครื่องนุ่งห่ม 9 เดือนแรก

ขยายตัวร้อยละ 12.2 จากการส่งออกไปอินโดนีเซีย อินเดีย

ในเดือน ก.ย. 2564 มีมูลค่าการส่งออก 1,005.7 ล้าน

เหรียญสหรัฐฯ ขยายตัวร้อยละ 40.3 เมื่อเทียบกับเดือนเดียวกัน

ของปีก่อน จากการส่งออกไปประเทศจีน อินเดีย อินโดนีเซีย ญี่ปุ่น

และออสเตรเลีย ทั้งนี้การส่งออกเม็ดพลาสติกในเดือน ก.ย. 2564

เป็นการปรับเพิ่มขึ้นด้านราคาโดยดัชนีราคาส่งออกเม็ดพลาสติก

ขยายตัวร้อยละ 8.7 ส่วนปริมาณการส่งออกเม็ดพลาสติกมีปริมาณ

626.5 ล้านกิโลกรัม ขยายตัวร้อยละ 3.3

ภาพรวมการส่งออกเม็ดพลาสติก 9 เดือนแรก ขยายตัวร้อยละ

44.2 และการส่งออกในรูปปริมาณมีปริมาณ 5,313.2 ล้านกิโลกรัม

ขยายตัวร้อยละ 5.7 จากการส่งออกไปยังจีน อินโดนีเซีย

ในเดือน ก.ย. 2564 มีมูลค่าการส่งออก 534.4 ล้านเหรียญ

สหรัฐฯ ขยายตัวร้อยละ 25.6 เมื่อเทียบกับเดือนเดียวกันของปีก่อน

จากการส่งออกเครื่องประดับแท้ทาด้วยทองไปประเทศสหรัฐอเมริกา

สหราชอาณาจักร การส่งออกอัญมณีและเครื่องประดับมีมูลค่าการ

ส่งออก 770.9 ล้านเหรียญสหรัฐฯ หดตัวร้อยละ 16.6 จากทองคาที่ยัง

ไม่ได้ขึ้นรูปมูลค่า 236.5 ล้านเหรียญสหรัฐฯ หดตัวร้อยละ 52.6 ไป

ประเทศสิงคโปร์ สวิตเซอร์แลนด์ และฮ่องกง

ภาพรวมการส่งออกอัญมณีและเครื่องประดับ (ไม่รวมทองคา

แท่ง) 9 เดือนแรก ขยายตัวร้อยละ 27.4 จากการส่งออกไปยัง

สหรัฐอเมริกา อินเดีย

เครื่องอิเล็กทรอนิกส์

เครื่องใช้ไฟฟ้า สิ่งทอและเครื่องนุ่งห่ม

ยานยนต์อุปกรณ์และส่วนประกอบ

เม็ดพลาสติก อัญมณีและเครื่องประดับ (ไม่รวมทองคาแท่ง)

ข้อมูลเพิ่มเติม : อัมพร สุวรรณรัตน์ และ ชุติมา ชุติเนตร กองวิจัยเศรษฐกิจอุตสาหกรรม โทร. 0-2430-6806

อุตสาหกรรม

สำนักงำนเศรษฐกิจอุตสำหกรรม Office of Industrial Economics

ที่มา: สำนักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม กระทรวงอุตสาหกรรม


เว็บไซต์นี้มีการใช้งานคุกกี้ ศึกษารายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และ ข้อตกลงการใช้บริการ รับทราบ