สรุปสถานการณ์การผลิตภาคอุตสาหกรรมเดือนมีนาคม 2565 และไตรมาส 1/2565

ข่าวเศรษฐกิจ Tuesday May 10, 2022 14:53 —สำนักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม

ดัชนีผลผลิตอุตสาหกรรมรายสาขาสาคัญในเดือนมีนาคม 2565

? สาขาอุตสาหกรรมสาคัญที่หดตัว ได้แก่

การผลิตภาคอุตสาหกรรมเดือนมีนาคม 2565 ดัชนีผลผลิตอุตสาหกรรมหดตัวร้อยละ 0.1 เมื่อเทียบกับเดือนเดียวกันของปีก่อน เป็นผลมาจากการหดตัวของอุตสาหกรรมเครื่องปรับอากาศ อุตสาหกรรม Hard Disk Drive (HDD) และอุตสาหกรรมเครื่องดื่มที่ไม่มีแอลกอฮอล์ โดยอัตราการใช้กาลังการผลิตในเดือนมีนาคม 2565 อยู่ที่ร้อยละ 68.8

ในขณะที่ดัชนีผลผลิตอุตสาหกรรมไตรมาส 1/2565 ขยายตัวร้อยละ 1.4 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน

สรุปสถานการณ์การผลิตภาคอุตสาหกรรมเดือนมีนาคม 2565 และไตรมาส 1/2565

อุตสาหกรรมเครื่องปรับอากาศ ดัชนีผลผลิตหดตัวร้อยละ 12 2 เมื่อเทียบกับเดือนเดียวกัน ของปีก่อน เนื่องจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโควิด-19 และการปรับตัวสูงขึ้นของราคาสินค้าอุปโภคบริโภค ทาให้กาลังซื้อของผู้บริโภคลดลง จึงชะลอการซื้อเครื่องปรับอากาศเครื่องใหม่ ส่งผลทาให้ตลาดในประเทศหดตัว รวมถึงภาวะการส่งออกที่ลดลง เนื่องจากปัญหาขาดแคลนตู้คอนเทนเนอร์และเรือในการขนส่งที่ยังมีอยู่

อุตสาหกรรมเครื่องดื่มที่ไม่มีแอลกอฮอล์ ดัชนีผลผลิตหดตัวร้อยละ 12.0 เมื่อเทียบกับเดือนเดียวกันของปีก่อน จากเครื่องดื่มให้กาลังงาน น้าอัดลม และน้าดื่ม เป็นหลัก จากสถานการณ์โควิด-19 ที่ส่งผลกระทบต่อกาลังซื้อ และปัญหาการนาเข้าวัตถุดิบจากต่างประเทศเกิดความล่าช้า จากการขนส่ง ทาให้ไม่สามารถทาการผลิตได้เต็มที่

อุตสาหกรรม Hard Disk Drive Drive(HDDHDD) ดัชนีผลผลิตหดตัวร้อยละ 8 2 เมื่อเทียบกับเดือนเดียวกันของปีก่อน เนื่องจากสถานการณ์โควิด-19 จึงทาให้ไม่สามารถทาการผลิตและส่งมอบสินค้าได้ตามแผนที่วางไว้ รวมถึงปัญหาการขาดแคลนชิ้นส่วนสาหรับการผลิตสินค้า และการยกเลิกการผลิตสินค้าบางประเภทที่เป็นสินค้ารุ่นเก่าซึ่งมีความต้องการลดลง

? สาขาอุตสาหกรรมสาคัญที่ขยายตัว ได้แก่

อุตสาหกรรมนาตาล ดัชนีผลผลิตขยายตัวร้อยละ 61.3 เมื่อเทียบกับเดือนเดียวกันของปีก่อน

เนื่องจากปีนี้ผลผลิตอ้อยเพิ่มขึ้นมากกว่าปีก่อน รวมถึงปีก่อนปิดหีบเร็ว สาหรับภาวะการจาหน่าย

เพิ่มขึ้นในส่วนของน้าตาลทรายดิบและกากน้าตาลเป็นหลัก เนื่องจากเป็นไปตามสัญญาที่ได้ทาไว้

ล่วงหน้า

อุตสาหกรรมการกลั่นปิโตรเลียม ดัชนีผลผลิตขยายตัวร้อยละ 17.5 เมื่อเทียบกับเดือนเดียวกัน

ของปีก่อน เนื่องจากการผ่อนคลายมาตรการควบคุมการแพร่ระบาดและการกลับมาเปิดประเทศ

รับนักท่องเที่ยวต่างชาติแบบ test & go รวมถึงการท่องเที่ยวของคนภายในประเทศทาให้มีการเดินทาง

ขนส่งเพิ่มขึ้น เป็นผลให้มีการใช้น้ามันสาเร็จรูปในประเทศสูงขึ้น

อุตสาหกรรมยานยนต์ ดัชนีผลผลิตขยายตัวร้อยละ 1.9 เมื่อเทียบกับเดือนเดียวกันของ

ปีก่อน โดยมีปัจจัยหลักจากการฟื้นตัวดีขึ้นของเศรษฐกิจในประเทศ และผู้ผลิตได้ออกแคมเปญ

หลากหลายมากขึ้นเพื่อกระตุ้นยอดขาย เช่นเดียวกับการส่งออกซึ่งมีคาสั่งซื้อกลับเข้ามา

ตามภาวะเศรษฐกิจโลกที่เริ่มฟื้นตัวหลังจากการได้รับวัคซีนอย่างทั่วถึง

อัตราการใช้กาลังการผลิตเดือนมีนาคม 2565

อยู่ที่ระดับร้อยละ

อัตราการใช้กาลังการผลิตเดือนมีนาคม 2564 อยู่ที่ระดับร้อยละ 69.7

อัตราการใช้กาลังการผลิตเดือนมีนาคม 2563 อยู่ที่ระดับร้อยละ 66.8

ดัชนีผลผลิตอุตสาหกรรมรายสาขาสาคัญในไตรมาส 1/2565

? สาขาอุตสาหกรรมสาคัญที่ขยายตัว ได้แก่

? สาขาอุตสาหกรรมสาคัญที่หดตัว ได้แก่

อุตสาหกรรมการกลั่นปิโตรเลียม ขยายตัวร้อยละ 14.1 เมื่อเทียบกับไตรมาสเดียวกัน

ของปีก่อน เป็นผลจากนโยบายการเปิดประเทศรับนักท่องเที่ยวต่างชาติในปีนี้ รวมถึง

การผ่อนคลายนโยบายควบคุมการระบาดของโควิด-19 ทาให้มีกิจกรรมการเดินทาง

และการขนส่งมากขึ้นเมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน จึงมีการใช้น้ามันสาเร็จรูปใน

ประเทศสูงขึ้น

อุตสาหกรรมน้าตาล ขยายตัวร้อยละ 10.4 เมื่อเทียบกับไตรมาสเดียวกันของปีก่อน

เนื่องจากภาวะการผลิตและจาหน่ายเพิ่มขึ้น เนื่องจากปีนี้มีปริมาณอ้อยเข้าโรงงาน

มากกว่าปีก่อนในช่วงเดียวกัน ส่งผลให้มีการเลื่อนปิดหีบออกไป ซึ่งในปี 2564 มีการปิดหีบ

ในช่วงปลายเดือนมีนาคม

อุตสาหกรรม Hard Disk Drive (HDD) หดตัวร้อยละ 13.0 เมื่อเทียบกับไตรมาสเดียวกัน

ของปีก่อน เนื่องจากการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีในตัวผลิตภัณฑ์ (HDD) ที่มีความจุ

เพิ่มขึ้น ทาให้มีสัดส่วนของปริมาณการผลิตที่ลดลง รวมถึงความต้องการของตลาดที่

ปรับตัวลดลง

อุตสาหกรรมเหล็กและเหล็กกล้าขั้นมูลฐาน หดตัวร้อยละ 9.4 เมื่อเทียบกับไตรมาส

เดียวกันของปีก่อน ภาวะการผลิตลดลงจากเหล็กแผ่นรีดร้อน เหล็กแผ่นรีดเย็น เหล็ก

เคลือบสังกะสี และเหล็กทรงยาวชนิดต่างๆ เนื่องจากความต้องการใช้เหล็กที่มีมากขึ้น

จากการดาเนินกิจกรรมเศรษฐกิจที่กลับเข้าสู่ระดับปกติมากขึ้น หลังจากปีก่อนที่มี

การกักตุนและเก็งกาไรจากราคาเหล็กที่ปรับตัวสูงขึ้น

การผลิตภาคอุตสาหกรรมไตรมาส 1/2565 ดัชนีผลผลิตอุตสาหกรรมขยายตัวร้อยละ 1.4

เมื่อเทียบกับไตรมาสเดียวกันของปีก่อน เป็นผลมาจากการขยายตัวของอุตสาหกรรมสาคัญ ๆ อาทิ

อุตสาหกรรมการกลั่นปิโตรเลียม และอุตสาหกรรมนาตาล สาหรับอุตสาหกรรมที่หดตัว อาทิ อุตสาหกรรม

Hard Disk Drive (HDD) และอุตสาหกรรมเหล็กและเหล็กกล้าขั นมูลฐาน อัตราการใช้กาลังการผลิต

อยู่ที่ร้อยละ 66.4

อัตราการใช้กาลังการผลิตไตรมาส 1/2565

อยู่ที่ระดับร้อยละ

ข้อมูลเพิ่มเติม : นเรศ กิจจาพัฒนพันธ์ กองวิจัยเศรษฐกิจอุตสาหกรรม โทร. 0 2430 6806

ที่มา: สำนักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม กระทรวงอุตสาหกรรม


เว็บไซต์นี้มีการใช้งานคุกกี้ ศึกษารายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และ ข้อตกลงการใช้บริการ รับทราบ