อุตสาหกรรมรองเท้าและผลิตภัณฑ์หนัง
1. การผลิต
ในช่วงไตรมาสที่1 ของปี 2548 ดัชนีอุตสาหกรรมรองเท้าและเครื่องหนังจำแนกได้ดังนี้
- การฟอกและการตกแต่งหนังฟอก ดัชนีผลผลิตไตรมาสที่ 2 ของปี 2548 เทียบกับไตรมาสที่ 1 ของปี 2548 มีปริมาณการผลิตเพิ่ม
ขึ้นร้อยละ 47.8 เมื่อเทียบกับไตรมาสเดียวกันของปีก่อนเพิ่มขึ้นร้อยละ 1.8 ดัชนีการส่งสินค้าเทียบกับไตรมาสก่อนเพิ่มขึ้นร้อยละ 25.4 เมื่อเทียบกับ
ไตรมาสเดียวกันของปีก่อนลดลงร้อยละ —13.2 สำหรับดัชนีสินค้าสำเร็จรูปคงคลังเทียบกับไตรมาสก่อนเพิ่มขึ้นร้อยละ 6.2 เมื่อเทียบกับไตรมาสเดียว
กันของปีก่อนเพิ่มขึ้นร้อยละ 4.8
- กระเป๋า ดัชนีผลผลิตไตรมาสที่ 2 ของปี 2548 เทียบกับไตรมาสที่ 1 ของปี 2548 มีปริมาณการผลิตเพิ่มขึ้นร้อยละ 39.0 เมื่อเทียบกับไตรมาสเดียวกันของปีก่อนลดลงร้อยละ -5.4 ดัชนีการส่งสินค้าเทียบกับไตรมาสก่อนเพิ่มขึ้นร้อยละ 31.5 เมื่อเทียบกับไตรมาสเดียวกันของปีก่อนลดลงร้อยละ-10.1 สำหรับดัชนีสินค้าสำเร็จรูปคงคลังเทียบกับไตรมาสก่อนลดลงร้อยละ —21.8 เมื่อเทียบกับไตรมาสเดียวกันของปีก่อนลดลงร้อยละ -64.7
- รองเท้า ดัชนีผลผลิตไตรมาสที่ 2 ของปี 2548 เทียบกับไตรมาสที่ 1 ของปี 2548 มีปริมาณการผลิตลดลงร้อยละ —8.7 เมื่อเทียบกับไตรมาสเดียวกันของปีก่อนเพิ่มขึ้นร้อยละ 0.29 ดัชนีการส่งสินค้าเทียบกับไตรมาสก่อนลดลงร้อยละ -9.8 เมื่อเทียบกับไตรมาสเดียวกันของปีก่อนเพิ่มขึ้นร้อยละ 0.1 สำหรับดัชนีสินค้าสำเร็จรูปคงคลังเทียบกับไตรมาสก่อนลดลงร้อยละ —17.9 เมื่อเทียบกับไตรมาสเดียวกันของปีก่อนลดลงร้อยละ -33.5
2. การตลาด
การส่งออก
รองเท้าและชิ้นส่วน ไตรมาสที่ 2 ของปี 2548 เทียบกับไตรมาสที่ 1 ของปี 2548 มีมูลค่าการส่งออกลดลงร้อยละ -2.5 เพิ่มขึ้นในทุกผลิตภัณฑ์ ยกเว้นรองเท้ากีฬา
ผลิตภัณฑ์ที่ลดลง ได้แก่ ส่วนประกอบของรองเท้า รองเท้าแตะ รองเท้าอื่น ๆ รองเท้าหนัง และชิ้นส่วน ลดลงร้อยละ -28.6 -18.1 -12.5 และ -8.4 ตามลำดับ
เมื่อเทียบกับไตรมาสเดียวกันของปีก่อน เพิ่มขึ้นร้อยละ 11.6 ผลิตภัณฑ์ที่เพิ่มขึ้น คือ รองเท้าหนัง รองเท้ากีฬา ส่วนประกอบรองเท้า และรองเท้าแตะ เพิ่มขึ้นร้อยละ 16.5 15.3 11.1 และ 7.1 ตามลำดับ ผลิตภัณฑ์ที่ลดลง คือ รองเท้าอื่น ๆ ลดลงร้อยละ -21.8
ตลาดสำคัญที่มีมูลค่าการส่งออกเพิ่มขึ้น ได้แก่ แคนาดา สหราชอาญาจักร เนเธอร์แลนด์สหรัฐอเมริกา และญี่ปุ่น เพิ่มขึ้นร้อยละ 41.7 38.3 22.5 18.9 และ 14.9 ตามลำดับ ตลาดหลักที่สำคัญ คือ สหรัฐอเมริกา เบลเยี่ยม เดนมาร์ก สหราชอาณาจักร และญี่ปุ่น มีสัดส่วนร้อยละ 35.6 9.4 7.0 6.4 และ 5.8 ตามลำดับ
เครื่องใช้เดินทาง ไตรมาสที่ 2 ของปี 2548 เทียบกับไตรมาสที่ 1 ของปี 2548 มีมูลค่าการส่งออกเพิ่มขึ้นร้อยละ 15.5 ผลิตภัณฑ์ที่เพิ่มขึ้น คือ กระเป๋าเดินทาง และเครื่องเดินทางอื่นๆ เพิ่มขึ้นร้อยละ 15.5 และ 5.0 ผลิตภัณฑ์ที่ลดลง คือ กระเป๋าถือ ลดลงร้อยละ -4.8 ส่วนกระเป๋าใส่เศษสตางค์ คงที่
เมื่อเทียบกับไตรมาสเดียวกันของปีก่อนเพิ่มขึ้นร้อยละ 8.5 ผลิตภัณฑ์ที่เพิ่มขึ้น คือ เครื่องเดินทางอื่น ๆ กระเป๋าใส่เศษสตางค์ และกระเป๋าถือ เพิ่มขึ้นร้อยละ 23.5 23.3 และ 14.9 ตามลำดับ ผลิตภัณฑ์ที่ลดลง คือ กระเป๋าเดินทาง ลดลงร้อยละ —3.4 ตลาดสำคัญที่เพิ่มขึ้นได้แก่ สวิตเซอร์แลนด์ ซาอุดีอาระเบีย ญี่ปุ่น และเยอรมนี เพิ่มขึ้นร้อยละ 51.0 17.7 17.4 และ 17.19 ตลาดหลักที่สำคัญ คือ สหรัฐอเมริกา สวิตเซอร์แลนด์ ญี่ปุ่น เยอรมนี และสหราชอาณาจักร มีสัดส่วนร้อยละ 30.4 13.8 11.9 8.3 และ 4.0 ตามลำดับ
หนังและผลิตภัณฑ์หนังฟอกและหนังอัด ไตรมาสที่ 2 ของปี 2548 เทียบกับไตรมาสที่ 1 ของปี 2548 มีมูลค่าการส่งออกลดลงร้อยละ —5.4 ผลิตภัณฑ์ที่ลดลง คือ ถุงมือหนัง ของเล่นสำหรับเลี้ยง เครื่องแต่งกายและเข็มขัด ลดลงร้อยละ -20.7 -12.9 และ -9.1 ผลิตภัณฑ์ที่เพิ่มขึ้น คือ หนังโคกระบือฟอก และหนังและผลิตภัณฑ์หนังอื่นๆ เพิ่มขึ้นร้อยละ 90.0 และ 12.6
เมื่อเทียบกับไตรมาสเดียวกันของปีก่อนลดลงร้อยละ -10.0 ผลิตภัณฑ์ที่ลดลง คือ ของเล่นสำหรับสัตว์ เครื่องแต่งกายและเข็มขัด หนังและผลิตภัณฑ์หนังอื่น ๆ และถุงมือหนัง ลดลงร้อยละ -51.3 -37.5 -28.9 และ -8.0 ตามลำดับ ผลิตภัณฑ์ที่เพิ่มขึ้น คือ หนังโคกระบือฟอก เพิ่มขึ้นร้อยละ 104.3ตลาดส่งออกสำคัญที่เพิ่มขึ้น ได้แก่ ฮ่องกง อินโดนีเซีย และเยอรมนี เพิ่มขึ้นร้อยละ 72.4 57.0 และ51.2 ตลาดหลักที่สำคัญได้แก่ ฮ่องกง เวียดนาม สหรัฐอเมริกา อินโดนีเซีย และจีนมีสัดส่วนตลาดร้อยละ 28.2 14.8 12.8 8.6 และ 6.0 ตามลำดับ
การนำเข้า
หนังดิบและหนังฟอก ช่วงไตรมาสที่ 2 ปี 2548 เทียบกับ ไตรมาสที่ 1 ปี 2548 มีมูลค่าการนำเข้าเพิ่มขึ้นร้อยละ 3.3 เมื่อเทียบกับไตรมาสเดียวกันของปีก่อนเพิ่มขึ้นร้อยละ 14.8 ตลาดสำคัญที่มีมูลค่านำเข้าเพิ่มขึ้น คือ อุรุกกวัย บราซิล และนิวซีแลนด์ เพิ่มขึ้นร้อยละ 107.9 70.2 และ 65.9 ตามลำดับ แหล่งนำเข้าที่สำคัญ คือ สหรัฐอเมริกา อุรุกวัย ออสเตรเลีย อาร์เจนตินา และจีน มีสัดส่วนร้อยละ 14.8 10.9 10.3 8.2 และ 6.7 ตามลำดับ
รองเท้า ช่วงไตรมาสที่ 2 ปี 2548 เทียบกับไตรมาสที่ 1 ปี 2548 มีมูลค่าการนำเข้าลดลงร้อยละ -15.5 เมื่อเทียบกับไตรมาสเดียวกันของปีก่อน ลดลงร้อยละ —15.9 ตลาดสำคัญที่เพิ่มขึ้น คือ บราซิล เวียดนาม และญี่ปุ่น เพิ่มขึ้นร้อยละ 142.9 92.3 และ 75.0ตามลำดับ แหล่งนำเข้า คือ จีน อินโดนีเซีย มาเลเซีย อิตาลี และสหรัฐอเมริกา มีสัดส่วนนำเข้าร้อยละ 42.5 8.7 8.2 7.1 และ 7.1 ตามลำดับ
กระเป๋า ช่วงไตรมาสที่ 2 ปี 2548 เพิ่มขึ้นจากปีก่อน ร้อยละ 21.8เ ตลาดสำคัญที่เพิ่มขึ้น คือ สวิตเซอร์แลนด์ ญี่ปุ่น และอิตาลี แหล่งนำเข้า คือ จีน ฝรั่งเศส อิตาลี เบลเยี่ยม และเวียดนาม มีสัดส่วนนำเข้าร้อยละ 38.2 18.3 17.6 4.3 และ 2.9 ตามลำดับ
3. สรุปและแนวโน้ม
อุตสาหกรรมรองเท้าและผลิตภัณฑ์หนังของไทยมีภาวะการผลิตหนังฟอกเพิ่มขึ้นจากไตรมาสก่อนอาจเป็นผลมาจากการนำเข้าหนังดิบและหนังฟอกที่เพิ่มขึ้น การผลิตกระเป๋าเพิ่มขึ้นจากไตรมาสก่อนเนื่องการส่งออกเพิ่มขึ้น และสินค้าสำเร็จรูปคงคลังที่ลดลง การผลิตรองเท้าลดลงจากไตรมาสก่อน เนื่องจากการส่งออกลดลง
แนวโน้มอุตสาหกรรมรองเท้าและผลิตภัณฑ์หนังของไทยน่าจะกระเตื่องขึ้นบ้างเล็กน้อยเนื่องจากตลาดหลักที่นำเข้าอย่างสหรัฐอเมริกาและกลุ่มประเทศยุโรปเริ่มมีข้อกีดกันสินค้าจากจีนจึงน่าจะส่งผลให้ผู้นำเข้าหันมานำเข้าสินค้าจากไทย การนำเข้าของไทยในกลุ่มสินค้าสำเร็จรูปยังมีอัตราการขยายตัวเพิ่มขึ้น (รองเท้าและกระเป๋า) แหล่งนำเข้าที่สำคัญและขยายตัวอย่างต่อเนื่อง คือจีน จึงควรที่จะต้องมีมาตรการเพื่อมารองรับการนำเข้าสินค้าคุณภาพต่ำที่จะมีผลกระทบต่อผู้บริโภค
--สำนักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม กระทรวงอุตสาหกรรม--
-พห-
1. การผลิต
ในช่วงไตรมาสที่1 ของปี 2548 ดัชนีอุตสาหกรรมรองเท้าและเครื่องหนังจำแนกได้ดังนี้
- การฟอกและการตกแต่งหนังฟอก ดัชนีผลผลิตไตรมาสที่ 2 ของปี 2548 เทียบกับไตรมาสที่ 1 ของปี 2548 มีปริมาณการผลิตเพิ่ม
ขึ้นร้อยละ 47.8 เมื่อเทียบกับไตรมาสเดียวกันของปีก่อนเพิ่มขึ้นร้อยละ 1.8 ดัชนีการส่งสินค้าเทียบกับไตรมาสก่อนเพิ่มขึ้นร้อยละ 25.4 เมื่อเทียบกับ
ไตรมาสเดียวกันของปีก่อนลดลงร้อยละ —13.2 สำหรับดัชนีสินค้าสำเร็จรูปคงคลังเทียบกับไตรมาสก่อนเพิ่มขึ้นร้อยละ 6.2 เมื่อเทียบกับไตรมาสเดียว
กันของปีก่อนเพิ่มขึ้นร้อยละ 4.8
- กระเป๋า ดัชนีผลผลิตไตรมาสที่ 2 ของปี 2548 เทียบกับไตรมาสที่ 1 ของปี 2548 มีปริมาณการผลิตเพิ่มขึ้นร้อยละ 39.0 เมื่อเทียบกับไตรมาสเดียวกันของปีก่อนลดลงร้อยละ -5.4 ดัชนีการส่งสินค้าเทียบกับไตรมาสก่อนเพิ่มขึ้นร้อยละ 31.5 เมื่อเทียบกับไตรมาสเดียวกันของปีก่อนลดลงร้อยละ-10.1 สำหรับดัชนีสินค้าสำเร็จรูปคงคลังเทียบกับไตรมาสก่อนลดลงร้อยละ —21.8 เมื่อเทียบกับไตรมาสเดียวกันของปีก่อนลดลงร้อยละ -64.7
- รองเท้า ดัชนีผลผลิตไตรมาสที่ 2 ของปี 2548 เทียบกับไตรมาสที่ 1 ของปี 2548 มีปริมาณการผลิตลดลงร้อยละ —8.7 เมื่อเทียบกับไตรมาสเดียวกันของปีก่อนเพิ่มขึ้นร้อยละ 0.29 ดัชนีการส่งสินค้าเทียบกับไตรมาสก่อนลดลงร้อยละ -9.8 เมื่อเทียบกับไตรมาสเดียวกันของปีก่อนเพิ่มขึ้นร้อยละ 0.1 สำหรับดัชนีสินค้าสำเร็จรูปคงคลังเทียบกับไตรมาสก่อนลดลงร้อยละ —17.9 เมื่อเทียบกับไตรมาสเดียวกันของปีก่อนลดลงร้อยละ -33.5
2. การตลาด
การส่งออก
รองเท้าและชิ้นส่วน ไตรมาสที่ 2 ของปี 2548 เทียบกับไตรมาสที่ 1 ของปี 2548 มีมูลค่าการส่งออกลดลงร้อยละ -2.5 เพิ่มขึ้นในทุกผลิตภัณฑ์ ยกเว้นรองเท้ากีฬา
ผลิตภัณฑ์ที่ลดลง ได้แก่ ส่วนประกอบของรองเท้า รองเท้าแตะ รองเท้าอื่น ๆ รองเท้าหนัง และชิ้นส่วน ลดลงร้อยละ -28.6 -18.1 -12.5 และ -8.4 ตามลำดับ
เมื่อเทียบกับไตรมาสเดียวกันของปีก่อน เพิ่มขึ้นร้อยละ 11.6 ผลิตภัณฑ์ที่เพิ่มขึ้น คือ รองเท้าหนัง รองเท้ากีฬา ส่วนประกอบรองเท้า และรองเท้าแตะ เพิ่มขึ้นร้อยละ 16.5 15.3 11.1 และ 7.1 ตามลำดับ ผลิตภัณฑ์ที่ลดลง คือ รองเท้าอื่น ๆ ลดลงร้อยละ -21.8
ตลาดสำคัญที่มีมูลค่าการส่งออกเพิ่มขึ้น ได้แก่ แคนาดา สหราชอาญาจักร เนเธอร์แลนด์สหรัฐอเมริกา และญี่ปุ่น เพิ่มขึ้นร้อยละ 41.7 38.3 22.5 18.9 และ 14.9 ตามลำดับ ตลาดหลักที่สำคัญ คือ สหรัฐอเมริกา เบลเยี่ยม เดนมาร์ก สหราชอาณาจักร และญี่ปุ่น มีสัดส่วนร้อยละ 35.6 9.4 7.0 6.4 และ 5.8 ตามลำดับ
เครื่องใช้เดินทาง ไตรมาสที่ 2 ของปี 2548 เทียบกับไตรมาสที่ 1 ของปี 2548 มีมูลค่าการส่งออกเพิ่มขึ้นร้อยละ 15.5 ผลิตภัณฑ์ที่เพิ่มขึ้น คือ กระเป๋าเดินทาง และเครื่องเดินทางอื่นๆ เพิ่มขึ้นร้อยละ 15.5 และ 5.0 ผลิตภัณฑ์ที่ลดลง คือ กระเป๋าถือ ลดลงร้อยละ -4.8 ส่วนกระเป๋าใส่เศษสตางค์ คงที่
เมื่อเทียบกับไตรมาสเดียวกันของปีก่อนเพิ่มขึ้นร้อยละ 8.5 ผลิตภัณฑ์ที่เพิ่มขึ้น คือ เครื่องเดินทางอื่น ๆ กระเป๋าใส่เศษสตางค์ และกระเป๋าถือ เพิ่มขึ้นร้อยละ 23.5 23.3 และ 14.9 ตามลำดับ ผลิตภัณฑ์ที่ลดลง คือ กระเป๋าเดินทาง ลดลงร้อยละ —3.4 ตลาดสำคัญที่เพิ่มขึ้นได้แก่ สวิตเซอร์แลนด์ ซาอุดีอาระเบีย ญี่ปุ่น และเยอรมนี เพิ่มขึ้นร้อยละ 51.0 17.7 17.4 และ 17.19 ตลาดหลักที่สำคัญ คือ สหรัฐอเมริกา สวิตเซอร์แลนด์ ญี่ปุ่น เยอรมนี และสหราชอาณาจักร มีสัดส่วนร้อยละ 30.4 13.8 11.9 8.3 และ 4.0 ตามลำดับ
หนังและผลิตภัณฑ์หนังฟอกและหนังอัด ไตรมาสที่ 2 ของปี 2548 เทียบกับไตรมาสที่ 1 ของปี 2548 มีมูลค่าการส่งออกลดลงร้อยละ —5.4 ผลิตภัณฑ์ที่ลดลง คือ ถุงมือหนัง ของเล่นสำหรับเลี้ยง เครื่องแต่งกายและเข็มขัด ลดลงร้อยละ -20.7 -12.9 และ -9.1 ผลิตภัณฑ์ที่เพิ่มขึ้น คือ หนังโคกระบือฟอก และหนังและผลิตภัณฑ์หนังอื่นๆ เพิ่มขึ้นร้อยละ 90.0 และ 12.6
เมื่อเทียบกับไตรมาสเดียวกันของปีก่อนลดลงร้อยละ -10.0 ผลิตภัณฑ์ที่ลดลง คือ ของเล่นสำหรับสัตว์ เครื่องแต่งกายและเข็มขัด หนังและผลิตภัณฑ์หนังอื่น ๆ และถุงมือหนัง ลดลงร้อยละ -51.3 -37.5 -28.9 และ -8.0 ตามลำดับ ผลิตภัณฑ์ที่เพิ่มขึ้น คือ หนังโคกระบือฟอก เพิ่มขึ้นร้อยละ 104.3ตลาดส่งออกสำคัญที่เพิ่มขึ้น ได้แก่ ฮ่องกง อินโดนีเซีย และเยอรมนี เพิ่มขึ้นร้อยละ 72.4 57.0 และ51.2 ตลาดหลักที่สำคัญได้แก่ ฮ่องกง เวียดนาม สหรัฐอเมริกา อินโดนีเซีย และจีนมีสัดส่วนตลาดร้อยละ 28.2 14.8 12.8 8.6 และ 6.0 ตามลำดับ
การนำเข้า
หนังดิบและหนังฟอก ช่วงไตรมาสที่ 2 ปี 2548 เทียบกับ ไตรมาสที่ 1 ปี 2548 มีมูลค่าการนำเข้าเพิ่มขึ้นร้อยละ 3.3 เมื่อเทียบกับไตรมาสเดียวกันของปีก่อนเพิ่มขึ้นร้อยละ 14.8 ตลาดสำคัญที่มีมูลค่านำเข้าเพิ่มขึ้น คือ อุรุกกวัย บราซิล และนิวซีแลนด์ เพิ่มขึ้นร้อยละ 107.9 70.2 และ 65.9 ตามลำดับ แหล่งนำเข้าที่สำคัญ คือ สหรัฐอเมริกา อุรุกวัย ออสเตรเลีย อาร์เจนตินา และจีน มีสัดส่วนร้อยละ 14.8 10.9 10.3 8.2 และ 6.7 ตามลำดับ
รองเท้า ช่วงไตรมาสที่ 2 ปี 2548 เทียบกับไตรมาสที่ 1 ปี 2548 มีมูลค่าการนำเข้าลดลงร้อยละ -15.5 เมื่อเทียบกับไตรมาสเดียวกันของปีก่อน ลดลงร้อยละ —15.9 ตลาดสำคัญที่เพิ่มขึ้น คือ บราซิล เวียดนาม และญี่ปุ่น เพิ่มขึ้นร้อยละ 142.9 92.3 และ 75.0ตามลำดับ แหล่งนำเข้า คือ จีน อินโดนีเซีย มาเลเซีย อิตาลี และสหรัฐอเมริกา มีสัดส่วนนำเข้าร้อยละ 42.5 8.7 8.2 7.1 และ 7.1 ตามลำดับ
กระเป๋า ช่วงไตรมาสที่ 2 ปี 2548 เพิ่มขึ้นจากปีก่อน ร้อยละ 21.8เ ตลาดสำคัญที่เพิ่มขึ้น คือ สวิตเซอร์แลนด์ ญี่ปุ่น และอิตาลี แหล่งนำเข้า คือ จีน ฝรั่งเศส อิตาลี เบลเยี่ยม และเวียดนาม มีสัดส่วนนำเข้าร้อยละ 38.2 18.3 17.6 4.3 และ 2.9 ตามลำดับ
3. สรุปและแนวโน้ม
อุตสาหกรรมรองเท้าและผลิตภัณฑ์หนังของไทยมีภาวะการผลิตหนังฟอกเพิ่มขึ้นจากไตรมาสก่อนอาจเป็นผลมาจากการนำเข้าหนังดิบและหนังฟอกที่เพิ่มขึ้น การผลิตกระเป๋าเพิ่มขึ้นจากไตรมาสก่อนเนื่องการส่งออกเพิ่มขึ้น และสินค้าสำเร็จรูปคงคลังที่ลดลง การผลิตรองเท้าลดลงจากไตรมาสก่อน เนื่องจากการส่งออกลดลง
แนวโน้มอุตสาหกรรมรองเท้าและผลิตภัณฑ์หนังของไทยน่าจะกระเตื่องขึ้นบ้างเล็กน้อยเนื่องจากตลาดหลักที่นำเข้าอย่างสหรัฐอเมริกาและกลุ่มประเทศยุโรปเริ่มมีข้อกีดกันสินค้าจากจีนจึงน่าจะส่งผลให้ผู้นำเข้าหันมานำเข้าสินค้าจากไทย การนำเข้าของไทยในกลุ่มสินค้าสำเร็จรูปยังมีอัตราการขยายตัวเพิ่มขึ้น (รองเท้าและกระเป๋า) แหล่งนำเข้าที่สำคัญและขยายตัวอย่างต่อเนื่อง คือจีน จึงควรที่จะต้องมีมาตรการเพื่อมารองรับการนำเข้าสินค้าคุณภาพต่ำที่จะมีผลกระทบต่อผู้บริโภค
--สำนักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม กระทรวงอุตสาหกรรม--
-พห-