1. การผลิต
ในช่วงไตรมาสที่1 ของปี 2548 ดัชนีอุตสาหกรรมรองเท้าและเครื่องหนังจำแนกได้ดังนี้
- การฟอกและการตกแต่งหนังฟอก ดัชนีผลผลิตไตรมาสที่ 1 ของปี 2548 เทียบกับไตรมาสที่ 4 ของปี 2547 มีปริมาณการผลิตลดลงร้อยละ —24.0 เมื่อเทียบกับไตรมาสเดียวกันของปีก่อนลดลงร้อยละ —27.4 ดัชนีการส่งสินค้าเทียบกับไตรมาสก่อนลดลงร้อยละ -13.2 เมือเทียบกับไตรยมาสเดียวกันของปีก่อนลดลงร้อยละ —22.1 สำหรับดัชนีสินค้าสำเร็จรูปคงคลังเทียบกับไตรมาสก่อนเพิ่มขึ้นร้อยละ 4.8 เมื่อเทียบกับไตรมาสเดียวกันของปีก่อนเพิ่มขึ้นร้อยละ 9.0
- กระเป๋า ดัชนีผลผลิตไตรมาสที่ 1 ของปี 2548 เทียบกับไตรมาสที่ 4 ของปี 2547 มีปริมาณการผลิตเพิ่มขึ้นร้อยละ 9.1 เมื่อเทียบกับไตรมาสเดียวกันของปีก่อนลดลงร้อยละ 10.2 ดัชนีการส่งสินค้าเทียบกับไตรมาสก่อนลดลงร้อยละ —2.9 เมื่อเทียบกับไตรมาสเดียวกันของปีก่อนเพิ่มขึ้นร้อยละ 0.5 สำหรับดัชนีสินค้าสำเร็จรูปคงคลังเทียบกับไตรมาสก่อนลดลงร้อยละ —21.8 เมื่อเทียบกับไตรมาสเดียวกันของปีก่อนลดลงร้อยละ -39.0
- รองเท้า ดัชนีผลผลิตไตรมาสที่ 1 ของปี 2548 เทียบกับไตรมาสที่ 4 ของปี 2547 มีปริมาณการผลิตลดลงร้อยละ —3.1 เมื่อเทียบกับไตรมาสเดียวกันของปีก่อนลดลงร้อยละ —2.5 ดัชนีการส่งสินค้าเทียบกับไตรมาสก่อนลดลงร้อยละ -3.4 เมื่อเทียบกับไตรมาสเดียวกันของปีก่อนเพิ่มขึ้นร้อยละ 0.7 สำหรับดัชนีสินค้าสำเร็จรูปคงคลังเทียบกับไตรมาสก่อนเพิ่มขึ้นร้อยละ —23.3 เมื่อเทียบกับไตรมาสเดียวกันของปีก่อนลดลงร้อยละ -9.6
2. การตลาด
การส่งออก
รองเท้าและชิ้นส่วน ไตรมาสที่ 1 ของปี 2548 เทียบกับไตรมาสที่ 4 ของปี 2547 มีมูลค่าการส่งออกเพิ่มขึ้นร้อยละ 13.0 เพิ่มขึ้นในทุกผลิตภัณฑ์ คือรองเท้าอื่นอื่น ๆ ส่วนประกอบ ของรองเท้า รองเท้าแตะ รองเท้าหนัง และรองเท้ากีฬา เพิ่มขึ้นร้อยละ 32.2 31.2 28.9 11.1 และ9.2ตามลำดับ
เมื่อเทียบกับไตรมาสเดียวกันของปีก่อน เพิ่มขึ้นร้อยละ 10.7 ผลิตภัณฑ์ที่เพิ่มขึ้น คือ ส่วนประกอบรองเท้า รองเท้ากีฬา รองเท้าอื่น ๆ และรองเท้าหนัง เพิ่มขึ้นร้อยละ 35.5 23.0 15.1 และ 9.2 ผลิตภัณฑ์ที่ลดลง คือ รองเท้าแตะ ลดลงร้อยละ -23.4
ตลาดสำคัญที่มีมูลค่าการส่งออกเพิ่มขึ้น ได้แก่ แคนาดา สหรัฐอเมริกา สหราชอาญาจักร เนเธอร์แลนด์ และญี่ปุ่น เพิ่มขึ้นร้อยละ 54.8 31.5 21.6 14.3 และ 12.4 ตามลำดับตลาดหลักที่สำคัญ คือ สหรัฐอเมริกา เบลเยี่ยม เดนมาร์ก สหราชอาณาจักร และญี่ปุ่น มีสัดส่วนร้อยละ 35.6 10.4 7.9 6.2 และ 5.9 ตามลำดับ
เครื่องใช้เดินทาง ไตรมาสที่ 1 ของปี 2548 เทียบกับไตรมาสที่ 4 ของปี 2547 มีมูลค่าการส่งออกลดลงร้อยละ —8.1 ผลิตภัณฑ์ที่ลดลง คือ กระเป๋าเดินทาง ลดลงร้อยละ —27.2 ผลิตภัณฑ์ที่เพิ่ม คือ กระเป๋าใส่เศษสตางค์ และเครื่องเดินทางอื่นๆ และกระเป๋าถือ เพิ่มขึ้นร้อยละ 20.5 8.8 และ 1.9 ตามลำดับ
เมื่อเทียบกับไตรมาสเดียวกันของปีก่อนลดลงร้อยละ —4.4 ผลิตภัณฑ์ที่ลดลง คือ กระเป๋าเดินทาง ลดลงร้อยละ —24.1 ผลิตภัณฑ์ที่เพิ่มขึ้น คือ กระเป๋าใส่เศษสตางค์ เครื่องเดินทางอื่น ๆ และกระเป๋าถือ เพิ่มขึ้นร้อยละ 43.2 11.1 และ 0.9 ตามลำดับ ตลาดสำคัญที่เพิ่มขึ้นได้แก่ สวิตเซอร์แลนด์ สหราชอาณาจักร และสเปน เพิ่มขึ้นร้อยละ 47.1 31.6 และ 16.7 ตลาดหลักที่สำคัญ คือ สหรัฐอเมริกา สวิตเซอร์แลนด์ ญี่ปุ่น เยอรมนี และสหราชอาณาจักร มีสัดส่วนร้อยละ 24.1 15.1 12.9 8.2 และ 5.0 ตามลำดับ
หนังและผลิตภัณฑ์หนังฟอกและหนังอัด ไตรมาสที่ 1 ของปี 2548 เทียบกับไตรมาสที่ 4 ของปี 2547 มีมูลค่าการส่งออกลดลงร้อยละ —1.4 ผลิตภัณฑ์ที่ลดลง คือ ของเล่นสำหรับเลี้ยง ลดลงร้อยละ —4.5 ผลิตภัณฑ์ที่เพิ่มขึ้น คือ ถุงมือหนัง เครื่องแต่งกายและเข็มขัด หนังโคกระบือฟอก และหนังและผลิตภัณฑ์หนังอื่นๆ เพิ่มขึ้นร้อยละ 27.1 22.2 19.0 และ 2.8 ตามลำดับ
เมื่อเทียบกับไตรมาสเดียวกันของปีก่อนเพิ่มขึ้นร้อยละ 13.0 เพิ่มขึ้นในทุกผลิตภัณฑ์ คือ เครื่องแต่งกายและเข็มขัด ของเล่นสำหรับสัตว์ หนังโคกระบือฟอกหนังและผลิตภัณฑ์หนังอื่น ๆ และถุงมือหนัง เพิ่มขึ้นร้อยละ 22.2 19.7 15.6 12.6 และ 7.4 ตามลำดับ ตลาดส่งออกสำคัญที่เพิ่มขึ้น ได้แก่ ฮ่องกง อินโดนีเซีย และเยอรมันนี เพิ่มขึ้นร้อยละ 112.4 110.5 และ 41.7 ตลาดหลักที่สำคัญได้แก่ ฮ่องกง เวียดนาม สหรัฐอเมริกา อินโดนีเซีย และญี่ปุ่น มีสัดส่วนตลาดร้อยละ 27.1 14.5 14.2 10.0 และ 5.8 ตามลำดับ
การนำเข้า
หนังดิบและหนังฟอก ช่วงไตรมาสที่ 1 ปี 2548 เทียบกับ ไตรมาสที่ 4 ปี 2547 มีมูลค่าการนำเข้าเพิ่มขึ้นร้อยละ 3.3 เมื่อเทียบกับไตรมาสเดียวกันของปีก่อนเพิ่มขึ้นร้อยละ 14.8 ตลาดสำคัญที่มีมูลค่านำเข้าเพิ่มขึ้น คือ บราซิล จีน อุรุกกวัย เพิ่มขึ้นร้อยละ 92.9 71.0 และ 52.7 ตามลำดับ
รองเท้า ช่วงไตรมาสที่ 1 ปี 2548 เทียบกับไตรมาสที่ 4 ปี 2548 มีมูลค่าการนำเข้าลดลงร้อยละ -15.8 เมื่อเทียบกับไตรมาสเดียวกันของปีก่อน ลดลงร้อยละ —15.9 ตลาดสำคัญที่เพิ่มขึ้น คือ อินโดนีเซีย ไต้หวัน และจีน ลดลงร้อยละ —56.3 -25.0 และ-15.9 ตามลำดับ
กระเป๋า ช่วงไตรมาสที่ 1 ปี 2548 เทียบกับไตรมาสที่ 1 ปี 2547 มีมูลค่านำเข้าเพิ่มขึ้นร้อยละ 35.2 ตลาดสำคัญที่เพิ่มขึ้น คือ เวียดนาม สหราชอาณาจักร สวิตเซอร์แลนด์ และญี่ปุ่นเพิ่มขึ้นร้อยละ 400 400 300 และ200 ตามลำดับ ตลาดหลัก คือ จีน อิตาลี ฝรั่งเศส เบลเยี่ยม และเวียดนาม มีสัดส่วนนำเข้า 33.1 21.3 20.1 4.1 และ 2.9 ตามลำดับ
3. สรุปและแนวโน้ม
อุตสาหกรรมรองเท้าและผลิตภัณฑ์หนังของไทยมีภาวะการผลิต หนังดิบและหนังฟอกลดลงจากไตรมาสก่อนอาจเป็นผลมาจากมีสินค้าสำเร็จรูปคงคลังเก็บค้างอยู่ และการส่งสินค้า (การจำหน่าย)ภายในประเทศลดลง การผลิตกระเป๋าเพิ่มขึ้นจากไตรมาสเนื่องการช่วงปลายปีการผลิตต่ำมากทำให้สินค้าคงคลังน้อยต้องเพิ่มกำลังการผลิตเพื่อรองรับการจำหน่าย
แนวโน้มอุตสาหกรรมรองเท้าและผลิตภัณฑ์หนังของไทยอาจอยู่ในภาวะทรงตัวเนื่องจากภาวะการส่งออกที่ซบเซาและสถานการณ์ทางเศรษฐกิจของประเทศคู่ค้าสำคัญยังไม่ฟื้นตัว เช่น สหรัฐอเมริกา ญี่ปุ่น และการนำเข้าของไทยมีอัตราการขยายตัวเพิ่มขึ้น โดยเฉพาะกระเป๋าที่เพิ่มขึ้นในทุกรายการในประเทศผู้นำในสินค้าแฟชั่น มี Brand name จาก อิตาลี ฝรั่งเศส และสินค้าที่มีราคาถูกจากจีน ซึ่งส่งผลกระทบต่อผู้ผลิตไทย และภาครัฐได้ร่วมกับภาคเอกชนหามาตรการนำเข้าเพื่อป้องกันสินค้าคุณภาพต่ำไหลทะลักเข้ามาในประเทศไทย
--สำนักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม กระทรวงอุตสาหกรรม--
-พห-
ในช่วงไตรมาสที่1 ของปี 2548 ดัชนีอุตสาหกรรมรองเท้าและเครื่องหนังจำแนกได้ดังนี้
- การฟอกและการตกแต่งหนังฟอก ดัชนีผลผลิตไตรมาสที่ 1 ของปี 2548 เทียบกับไตรมาสที่ 4 ของปี 2547 มีปริมาณการผลิตลดลงร้อยละ —24.0 เมื่อเทียบกับไตรมาสเดียวกันของปีก่อนลดลงร้อยละ —27.4 ดัชนีการส่งสินค้าเทียบกับไตรมาสก่อนลดลงร้อยละ -13.2 เมือเทียบกับไตรยมาสเดียวกันของปีก่อนลดลงร้อยละ —22.1 สำหรับดัชนีสินค้าสำเร็จรูปคงคลังเทียบกับไตรมาสก่อนเพิ่มขึ้นร้อยละ 4.8 เมื่อเทียบกับไตรมาสเดียวกันของปีก่อนเพิ่มขึ้นร้อยละ 9.0
- กระเป๋า ดัชนีผลผลิตไตรมาสที่ 1 ของปี 2548 เทียบกับไตรมาสที่ 4 ของปี 2547 มีปริมาณการผลิตเพิ่มขึ้นร้อยละ 9.1 เมื่อเทียบกับไตรมาสเดียวกันของปีก่อนลดลงร้อยละ 10.2 ดัชนีการส่งสินค้าเทียบกับไตรมาสก่อนลดลงร้อยละ —2.9 เมื่อเทียบกับไตรมาสเดียวกันของปีก่อนเพิ่มขึ้นร้อยละ 0.5 สำหรับดัชนีสินค้าสำเร็จรูปคงคลังเทียบกับไตรมาสก่อนลดลงร้อยละ —21.8 เมื่อเทียบกับไตรมาสเดียวกันของปีก่อนลดลงร้อยละ -39.0
- รองเท้า ดัชนีผลผลิตไตรมาสที่ 1 ของปี 2548 เทียบกับไตรมาสที่ 4 ของปี 2547 มีปริมาณการผลิตลดลงร้อยละ —3.1 เมื่อเทียบกับไตรมาสเดียวกันของปีก่อนลดลงร้อยละ —2.5 ดัชนีการส่งสินค้าเทียบกับไตรมาสก่อนลดลงร้อยละ -3.4 เมื่อเทียบกับไตรมาสเดียวกันของปีก่อนเพิ่มขึ้นร้อยละ 0.7 สำหรับดัชนีสินค้าสำเร็จรูปคงคลังเทียบกับไตรมาสก่อนเพิ่มขึ้นร้อยละ —23.3 เมื่อเทียบกับไตรมาสเดียวกันของปีก่อนลดลงร้อยละ -9.6
2. การตลาด
การส่งออก
รองเท้าและชิ้นส่วน ไตรมาสที่ 1 ของปี 2548 เทียบกับไตรมาสที่ 4 ของปี 2547 มีมูลค่าการส่งออกเพิ่มขึ้นร้อยละ 13.0 เพิ่มขึ้นในทุกผลิตภัณฑ์ คือรองเท้าอื่นอื่น ๆ ส่วนประกอบ ของรองเท้า รองเท้าแตะ รองเท้าหนัง และรองเท้ากีฬา เพิ่มขึ้นร้อยละ 32.2 31.2 28.9 11.1 และ9.2ตามลำดับ
เมื่อเทียบกับไตรมาสเดียวกันของปีก่อน เพิ่มขึ้นร้อยละ 10.7 ผลิตภัณฑ์ที่เพิ่มขึ้น คือ ส่วนประกอบรองเท้า รองเท้ากีฬา รองเท้าอื่น ๆ และรองเท้าหนัง เพิ่มขึ้นร้อยละ 35.5 23.0 15.1 และ 9.2 ผลิตภัณฑ์ที่ลดลง คือ รองเท้าแตะ ลดลงร้อยละ -23.4
ตลาดสำคัญที่มีมูลค่าการส่งออกเพิ่มขึ้น ได้แก่ แคนาดา สหรัฐอเมริกา สหราชอาญาจักร เนเธอร์แลนด์ และญี่ปุ่น เพิ่มขึ้นร้อยละ 54.8 31.5 21.6 14.3 และ 12.4 ตามลำดับตลาดหลักที่สำคัญ คือ สหรัฐอเมริกา เบลเยี่ยม เดนมาร์ก สหราชอาณาจักร และญี่ปุ่น มีสัดส่วนร้อยละ 35.6 10.4 7.9 6.2 และ 5.9 ตามลำดับ
เครื่องใช้เดินทาง ไตรมาสที่ 1 ของปี 2548 เทียบกับไตรมาสที่ 4 ของปี 2547 มีมูลค่าการส่งออกลดลงร้อยละ —8.1 ผลิตภัณฑ์ที่ลดลง คือ กระเป๋าเดินทาง ลดลงร้อยละ —27.2 ผลิตภัณฑ์ที่เพิ่ม คือ กระเป๋าใส่เศษสตางค์ และเครื่องเดินทางอื่นๆ และกระเป๋าถือ เพิ่มขึ้นร้อยละ 20.5 8.8 และ 1.9 ตามลำดับ
เมื่อเทียบกับไตรมาสเดียวกันของปีก่อนลดลงร้อยละ —4.4 ผลิตภัณฑ์ที่ลดลง คือ กระเป๋าเดินทาง ลดลงร้อยละ —24.1 ผลิตภัณฑ์ที่เพิ่มขึ้น คือ กระเป๋าใส่เศษสตางค์ เครื่องเดินทางอื่น ๆ และกระเป๋าถือ เพิ่มขึ้นร้อยละ 43.2 11.1 และ 0.9 ตามลำดับ ตลาดสำคัญที่เพิ่มขึ้นได้แก่ สวิตเซอร์แลนด์ สหราชอาณาจักร และสเปน เพิ่มขึ้นร้อยละ 47.1 31.6 และ 16.7 ตลาดหลักที่สำคัญ คือ สหรัฐอเมริกา สวิตเซอร์แลนด์ ญี่ปุ่น เยอรมนี และสหราชอาณาจักร มีสัดส่วนร้อยละ 24.1 15.1 12.9 8.2 และ 5.0 ตามลำดับ
หนังและผลิตภัณฑ์หนังฟอกและหนังอัด ไตรมาสที่ 1 ของปี 2548 เทียบกับไตรมาสที่ 4 ของปี 2547 มีมูลค่าการส่งออกลดลงร้อยละ —1.4 ผลิตภัณฑ์ที่ลดลง คือ ของเล่นสำหรับเลี้ยง ลดลงร้อยละ —4.5 ผลิตภัณฑ์ที่เพิ่มขึ้น คือ ถุงมือหนัง เครื่องแต่งกายและเข็มขัด หนังโคกระบือฟอก และหนังและผลิตภัณฑ์หนังอื่นๆ เพิ่มขึ้นร้อยละ 27.1 22.2 19.0 และ 2.8 ตามลำดับ
เมื่อเทียบกับไตรมาสเดียวกันของปีก่อนเพิ่มขึ้นร้อยละ 13.0 เพิ่มขึ้นในทุกผลิตภัณฑ์ คือ เครื่องแต่งกายและเข็มขัด ของเล่นสำหรับสัตว์ หนังโคกระบือฟอกหนังและผลิตภัณฑ์หนังอื่น ๆ และถุงมือหนัง เพิ่มขึ้นร้อยละ 22.2 19.7 15.6 12.6 และ 7.4 ตามลำดับ ตลาดส่งออกสำคัญที่เพิ่มขึ้น ได้แก่ ฮ่องกง อินโดนีเซีย และเยอรมันนี เพิ่มขึ้นร้อยละ 112.4 110.5 และ 41.7 ตลาดหลักที่สำคัญได้แก่ ฮ่องกง เวียดนาม สหรัฐอเมริกา อินโดนีเซีย และญี่ปุ่น มีสัดส่วนตลาดร้อยละ 27.1 14.5 14.2 10.0 และ 5.8 ตามลำดับ
การนำเข้า
หนังดิบและหนังฟอก ช่วงไตรมาสที่ 1 ปี 2548 เทียบกับ ไตรมาสที่ 4 ปี 2547 มีมูลค่าการนำเข้าเพิ่มขึ้นร้อยละ 3.3 เมื่อเทียบกับไตรมาสเดียวกันของปีก่อนเพิ่มขึ้นร้อยละ 14.8 ตลาดสำคัญที่มีมูลค่านำเข้าเพิ่มขึ้น คือ บราซิล จีน อุรุกกวัย เพิ่มขึ้นร้อยละ 92.9 71.0 และ 52.7 ตามลำดับ
รองเท้า ช่วงไตรมาสที่ 1 ปี 2548 เทียบกับไตรมาสที่ 4 ปี 2548 มีมูลค่าการนำเข้าลดลงร้อยละ -15.8 เมื่อเทียบกับไตรมาสเดียวกันของปีก่อน ลดลงร้อยละ —15.9 ตลาดสำคัญที่เพิ่มขึ้น คือ อินโดนีเซีย ไต้หวัน และจีน ลดลงร้อยละ —56.3 -25.0 และ-15.9 ตามลำดับ
กระเป๋า ช่วงไตรมาสที่ 1 ปี 2548 เทียบกับไตรมาสที่ 1 ปี 2547 มีมูลค่านำเข้าเพิ่มขึ้นร้อยละ 35.2 ตลาดสำคัญที่เพิ่มขึ้น คือ เวียดนาม สหราชอาณาจักร สวิตเซอร์แลนด์ และญี่ปุ่นเพิ่มขึ้นร้อยละ 400 400 300 และ200 ตามลำดับ ตลาดหลัก คือ จีน อิตาลี ฝรั่งเศส เบลเยี่ยม และเวียดนาม มีสัดส่วนนำเข้า 33.1 21.3 20.1 4.1 และ 2.9 ตามลำดับ
3. สรุปและแนวโน้ม
อุตสาหกรรมรองเท้าและผลิตภัณฑ์หนังของไทยมีภาวะการผลิต หนังดิบและหนังฟอกลดลงจากไตรมาสก่อนอาจเป็นผลมาจากมีสินค้าสำเร็จรูปคงคลังเก็บค้างอยู่ และการส่งสินค้า (การจำหน่าย)ภายในประเทศลดลง การผลิตกระเป๋าเพิ่มขึ้นจากไตรมาสเนื่องการช่วงปลายปีการผลิตต่ำมากทำให้สินค้าคงคลังน้อยต้องเพิ่มกำลังการผลิตเพื่อรองรับการจำหน่าย
แนวโน้มอุตสาหกรรมรองเท้าและผลิตภัณฑ์หนังของไทยอาจอยู่ในภาวะทรงตัวเนื่องจากภาวะการส่งออกที่ซบเซาและสถานการณ์ทางเศรษฐกิจของประเทศคู่ค้าสำคัญยังไม่ฟื้นตัว เช่น สหรัฐอเมริกา ญี่ปุ่น และการนำเข้าของไทยมีอัตราการขยายตัวเพิ่มขึ้น โดยเฉพาะกระเป๋าที่เพิ่มขึ้นในทุกรายการในประเทศผู้นำในสินค้าแฟชั่น มี Brand name จาก อิตาลี ฝรั่งเศส และสินค้าที่มีราคาถูกจากจีน ซึ่งส่งผลกระทบต่อผู้ผลิตไทย และภาครัฐได้ร่วมกับภาคเอกชนหามาตรการนำเข้าเพื่อป้องกันสินค้าคุณภาพต่ำไหลทะลักเข้ามาในประเทศไทย
--สำนักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม กระทรวงอุตสาหกรรม--
-พห-